เอกสารประกอบการเรียน
รายวิชา ภาษาไทย ๖ ท๒๓๑๐๒
ภาคเรียนที ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๓
หนว่ ยการเรียนรู้ที ๔ บทพากย์เอราวัณ
รวบรวมโดย
ครูชนะชนม์ สวัสดิ์นุชาติ กลุ่มสาระฯภาษาไทย
เรียนรู้โดย
Pride and Prejudiceชนั มชัธือยม-ศสึกกษลุ า..ป..ท..ี .๓...ห..้อ..ง..................เ..ล..ข..ท..ี ..............
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๔
เรือ่ ง บทพากย์เอราวณั
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกบั เร่ืองท่อี า่ น
ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรปุ เน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่นิ ในระดับทยี่ ากย่ิงขึ้น
ท ๕.๑ ม.๓/๒ วเิ คราะหว์ ถิ ไี ทยและคณุ คา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น
ท ๕.๑ ม.๓/๓ สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพือ่ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จริง
ท ๕.๑ ม.๓/๔ ทอ่ งจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามทีก่ าหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใชอ้ ้างองิ
ประวัติและทีม่ า
บทพากย์เอราวัณ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ใช้สาหรับเล่นโขน จัดพิมพ์
รวมอยู่ในรามเกียรติ์คาพากย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ ณ โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมือง
กรุงเทพฯ โดยคณะอนุกรรมการจัดทาเอกสารและบทความสดุดีบุคคลสาคญั ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ได้นามา
จัดพมิ พ์ขน้ึ ใหม่เพอื่ เปน็ การอนุรกั ษว์ รรณกรรมเกา่ และหายาก สืบอายุวรรณกรรม โดยนามาพิมพเ์ ป็นหนงั สือใหม่ชอ่ื
กาพยคดี ประกอบดว้ ยเรอ่ื ง ๑. พชิ ยั สงครามคาฉันท์ ๒. ตาราช้างคาฉนั ท์ ๓. บุณโณวาทคาฉันท์ ๔. รามเกียรต์ิคาพากย์
๕. ลาดบั กษตั รยิ ์คาฉันท์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี
แห่งรัชสมัยของพระองค์ได้ทรงทานุบารุงด้านศิลปะ วรรณคดีและสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะวรรณคดีมีความเจริญรุ่งเรือง
สูงสุด นอกจากนี้พระองค์ยังทรงปรับปรุงการละครไทยจนถึงขั้นมาตรฐานสูงทั้งกระบวนท่า เนื้อร้อง ทานองเพลงและ
การร่ายรา โดยบทพระราชนิพนธ์ในพระองค์ที่สาคัญ เช่น เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน บทละครเรื่องอิเหนา บทละครเรื่อง
รามเกียรต์ิ บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาวี ไกรทอง มณีพิชัย กาพย์เห่เรือ บทเห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพากย์โขน
ตอนพรหมาสตร์ นาคบาศ นางลอยและเอราวัณ
ในสมัยอยุธยาจะนาเน้ือเรื่องรามเกยี รตบิ์ างตอนมาแตง่ สาหรับการแสดงหนงั ใหญ่และโขน บทประพันธ์น้ันเรียกว่า
“.......................................................” รูปแบบคาประพันธ์มักจะเป็นกาพย์ยานี ๑๑ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์บางตอนขึ้น เพื่อใช้สาหรับการแสดงโขน
คอื .....................................................................................................................................................
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๒
ลกั ษณะคาประพันธ์
บทพากยเ์ อราวัณ ใชค้ าประพันธป์ ระเภท.................................... ซ่งึ มลี ักษณะดงั นี้
ใน ๑ บท มี ๑๖ คา แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคแรกมจี านวน ๖ คา วรรคท่ี ๒ มี ๔ คา วรรคสุดท้ายมี ๖ คา
สัมผัสบังคบั ได้แก่ คาสุดทา้ ยของวรรคแรก สัมผัสกบั คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สมั ผัสระหว่างบท คือคาสดุ ท้ายของ
บทแรกสัมผสั กับคาสุดทา้ ยของวรรคแรกในบทตอ่ ไป
ตวั ละครในเรือ่ ง
อินทรชิต
เดิมมีชอ่ื วา่ ....................... เป็นบตุ รทศกัณฐ์กบั นางมณโฑ มีมเหสชี ่ือนางสุวรรณกันยุมา
มีบุตรชื่อยามลิวันและกันยุเวก มีสีกายสีเขียว มีฤทธิ์เก่งกล้ามาก เมื่อโตขึ้นจึงทูลลาพระบิดาและ
พระมารดาเพื่อไปศึกษาวิชากบั พระฤๅษีโคบุตรจนสาเร็จวิชามนตม์ หากาลอัคคี จึงกราบลาอาจารย์
เพื่อไปบาเพ็ญตบะ เมื่อบาเพ็ญจนเก่งกล้าแล้วจงึ ทาพิธีขออาวุธวิเศษตอ่ มหาเทพทั้ง ๓ มหาเทพจึง
ประทานอาวุธวิเศษให้ คือ พระอิศวรประทาน..............................และพรสามารถแปลงร่างเป็น
พระอินทรไ์ ด้ พระพรหมประทานศร..................และพรไม่ให้ตายบนพื้นดินหากตายก็ให้ตายบนอากาศหากเศียร
ขาดตกลงพื้นก็ให้เกิดไฟไหม้ทั่วทั้งจักรวาลต้องนาพานแว่นฟ้าของพระพรหมเท่านั้นมารองรับเศียรจงึ จะระงับเหตุ
ได้ สว่ นพระนารายณ์ประทานศร....................... เม่ือไดร้ ับพรและอาวุธวเิ ศษแล้วจงึ เกิดความฮกึ เหิมบกุ สวรรค์และ
ท้าพระอินทร์รบและชนะพระอินทร์ ทศกัณฐ์เมื่อทราบข่าวบุตรของตนมีชัยชนะก็ดีใจมากจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น
อนิ ทรชติ หมายถึง ".............................." แตด่ ้วยไมต่ งั้ ตนอยู่ในธรรมและการประพฤติชว่ั ของตน ภายหลังถูกศรของ
พระลักษณ์สิ้นใจ ในศึกอินทรชิตนี้แม้ว่าจะแผลงศรสังหารพระลักษณ์ได้ แต่หนุมานสามารถหายาแก้พิษศรได้
พระลักษณ์จึงฟืน้ ขึน้ มา ในที่สุดฝ่ายพระรามกท็ าลายศรวิเศษท้ังสามได้ อินทรชิตออกรบอีกครั้ง เมื่อเสียรถศึกและ
อาวุธ ก็กลัวตายจึงหนีขึ้นไปซ่อนในกลีบเมฆ พระลักษณ์จึงแผลงศรสังหารอินทรชิต แต่พิเภกทูลว่าถ้าเศียรของ
อินทรชิตตกถึงพื้นจะเกิดไฟบรรลัยกัลป์ จึงให้องคตไปทูลขอพานแว่นฟ้าจากพระพรหม แล้วพระลักษณ์ก็แผลงศร
ตดั เศยี รอินทรชติ โดยมีองคตถือพานรบั ไว้ แต่เศยี รยังคงสาแดงฤทธิ์ พระรามจงึ แผลงศรไปทาลายจนแหลกละเอียด
ในที่สุด
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๓
พระราม
พระรามเป็นปางท่ี ๗ ของพระ.................................. อวตารลงมาเป็นโอรส
ของทา้ วทศรถกับพระนางเกาสรุ ิยา ทรงมีพระวรกายสีเขียว ทรงธนเู ปน็ อาวุธ มีศรวเิ ศษ
๓ เลม่ คอื ศร............................ ศร................................. ศร .................................
มีพระมเหสี คือ นางสีดา (ซึ่งคือพระลักษมี พระชายาของพระนารายณ์อวตารลงมาเป็น
คู่ครอง)
พระลักษณ์
เป็นโอรสของท้าวทศรถกบั นางสมทุ รชา มพี ระวรกายสเี หลืองดงั ทอง
(คอื พญา........................................อวตารลงมาพร้อมพระราม) เมอ่ื พระรามต้องเสด็จออกเดินดง
ตามพระประสงค์ของนางไกยเกษี พระลักษณ์ก็ได้ทูลขอตามเสด็จไปด้วยความจงรักภักดี ทรงร่วม
ผจญกับเหล่าหมมู่ ารและรว่ มรบเคยี งบ่าเคยี งไหลก่ ับพระรามเสมอ
หนุมาน
เป็นลิงเผือก (กายสีขาว) มีลักษณะพิเศษ คือ มีเขี้ยวแก้วอยู่กลางเพดานปาก
มีกุณฑล ขนเป็นเพชร สามารถแผลงฤทธิ์ให้มีสี่หน้าแปดมือ และหาวเป็นดาวเป็นเดือนได้
ใช้........................ (สามง่าม) เป็นอาวุธประจาตัว ทั้งยังอยู่ยงคงกระพัน แม้ถูกอาวุธของ
ศตั รจู นตาย เมอ่ื มลี มพดั มากจ็ ะฟ้ืนขนึ้ ไดอ้ ีก
ช้างเอราวัณ
ช้างเอราวณั เป็นชอ่ื ช้างทรงของ............................ เนอื่ งจากเปน็ สัตว์ในจินตนาการกวี
จึงมีลักษณะพิเศษต่างกับช้างโดยทั่วไป ตามเรื่องในไตรภูมิพระร่วง เอราวัณเป็นเทพบุตร
ช่ือ ....................... เม่ือพระอินทร์จะเสดจ็ ทีใ่ ด ไอยราวัณกจ็ ะเนรมิตตนเป็นชา้ งเผือกใหญ่
เพื่อเป็นพาหนะของพระอินทร์ ในเรื่องรามเกียรต์ิ ช้างเอราวัณหรือไอยราพตปรากฎในตอน
ศกึ อินทรชติ ซง่ึ บรรยายเหตุการณ์ตอนท่ีอินทรชติ โอรสของทศกัณฐ์ยกทัพไปรบกับพระราม
อินทรชิตแปลงกายเป็นพระอินทร์ แล้วให้เสนายักษ์ที่ชื่อ..............................แปลงกาย
เป็นช้างเอราวัณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชผู้พระราชนิพนธ์
ได้พรรณนาถึงลักษณะของช้างเอราวัณว่ามีความยิ่งใหญ่และความงดงามของช้างทรง และกระบวนทัพทาให้พระลักษณ์
เข้าใจว่าพระอินทร์เสด็จลงมา ครั้นอินทรชิตสั่งให้บริวารอสูรที่แปลงกายเป็นเทวดาและนางฟ้าร่ายราถวาย พระลักษณ์ก็
เคล้มิ พระวรกายจนเสียทีอนิ ทรชติ
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๔
ศึกอนิ ทรชิต
ในเรื่องรามเกยี รต์ิซึ่งเป็นสงครามแย่งชิงนางสีดา ทศกัณฐ์ทรงให้พระญาติวงศ์พงศาออกรบแต่กลับพ่ายแพ้หมด จึง
โปรดใหอ้ ินทรชิตออกรบถงึ ๔ ครัง้ ดงั น้ี
ครั้งแรก อินทรชิตถูกศรพลายวาตของพระลักษมณ์ต้องหนีกลับเข้าเมือง จึงให้มังกรกัณฐ์ออกรบแทน
และถูกพระรามแผลงศรพรหมาสตรใ์ ส่มังกรกัณฐ์
ครัง้ ทส่ี อง อินทรชิตรบกับพระลักษมณ์ แผลงศรนาคบาศถูกพระลักษณ์และพลวานร พระรามจึงเรียก
ครฑุ มาจกิ นาค
ครัง้ ท่สี าม อนิ ทรชติ แปลงเปน็ พระอินทร์ขช่ี ้างเอราวัณออกมารบกับพระลกั ษมณ์
ครง้ั ทส่ี ี่ อินทรชติ ร่าลาลูกเมีย แล้วออกไปรบ ก็ถกู พระรามแผลงศรตัดคอ
โครงเรอื่ ง
เริ่มเรื่องดว้ ยที่อนิ ทรชิตแปลงกายเป็นพระอินทร์เพื่อออกสู้รบกับพระรามพระลักษณ์ จากนั้นจงึ พรรณนาถึงความ
งดงามของช้างเอราวัณ พรรณนากองทัพของอินทรชิต กล่าวถึงพระรามที่ตื่นบรรทม โดยพรรณนาธรรมชาติบริเวณท่ี
ประทับและความยงิ่ ใหญ่ของกองทัพพระราม
จบลงด้วยฉากที่พระลักษณ์ทอดพระเนตรเห็นกองทัพพระอินทร์แปลง ทรงเคลิบเคลิ้ม อินทรชิตจึงแผลงศร
พรหมาสตร์ตอ้ งพระลักษณ์
ฉากในเรอื่ ง
ฉากที่ปรากฏในตอนนี้ คือ ฉากกองทัพของฝ่ายอินทรชิต และฝ่ายพระราม กวีได้พรรณนาให้เห็นถึงภาพความ
ยง่ิ ใหญข่ องกองทพั ท้งั สองฝา่ ย และยงั ปรากฏฉากธรรมชาติบริเวณทป่ี ระทบั ของพระรามในขณะท่พี ระรามตนื่ บรรทมด้วย
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๕
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔.๑
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นสรุปความรู้จากท่ีศกึ ษาประวัตแิ ละทม่ี าเรื่องบทพากยเ์ อราวณั ตามหัวข้อทก่ี ำหนดให้
(ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถน่ิ ในระดับทีย่ ากยิง่ ขน้ึ )
ประวัติผแู้ ต่ง ลักษณะคาประพันธ์ของเรือ่ ง
เนอื้ ความในการประพันธ์ ประวัติและท่ีมา
เร่ืองบทพากย์เอราวณั
ความเก่ยี วข้องกับวรรณคดเี ร่ือง
รามเกียรต์ิ
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๖
การศกึ ษาคาประพันธ์
๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมรนิ ทร์
ทรงคชเอราวัณ
๏ ช้างนิมิตฤทธิแรงแขง็ ขนั เผือกผอ่ งผิวพรรณ
สีสังขส์ ะอาดโอฬาร์ เศียรหนึ่งเจ็ดงา
๏ สามสิบสามเศียรโสภา
ด่ังเพชรรัตน์รูจี สระหน่ึงย่อมมี
๏ งาหน่ึงเจ็ดโบกขรณี
เจ็ดกออุบลบนั ดาล
๏ กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหน่ึงแบง่ บาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผา เจ็ดองค์ โสภา
อีกเจ็ดเยาวมาลย์
๏ กลีบหน่ึงมีเทพธิดา ชาเลืองหางตา
แน่งน้อยลาเพานงพาล
๏ นางหน่ึงย่อมมีบรวิ าร
ล้วนรูปนิรมิตมายา
๏ จับระบารารา่ ยส่ายหา
ทาทีดังเทพอัปสร
๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทกุ เกศกญุ ชร
ดังเวไชยันต์อมรนิ ทร์
๑. สาระสาคญั ของบทประพันธ์ขา้ งต้นกลา่ วถึงส่ิงใด...................................................................................................
๒. ลักษณะของชา้ งเอราวัณทีป่ รากฏตามบทประพนั ธ์
๒.๑ ชา้ งเอราวณั มี................. เศียร
๒.๒ ในชา้ งเอราวัณ ๑ เศยี ร มี งา...................งา สรปุ แลว้ มีงา ท้ังหมด ........................................งา
๒.๓ ในชา้ งเอราวัณ ๑ งา มีสระบวั …............สระ สรุปแลว้ มีสระบัว ทั้งหมด ….......................สระ
๒.๔ ในช้างเอราวัณ ๑ สระบวั มี .............. กอบัว สรุปแล้วมีกอบัว ทั้งหมด ….............................กอ
๒.๕ ในชา้ งเอราวณั ๑ กอบัว มดี อกบัว.........ดอก สรปุ แลว้ มีดอกบัว ท้ังหมด …...................….ดอก
๒.๖ ในชา้ งเอราวัณ ดอกบัว ๑ ดอก ม.ี ......... กลีบ สรุปแลว้ มีกลีบบัว ท้ังหมด ….......................กลบี
๒.๗ ในชา้ งเอราวณั ดอกบัว ๑ กลีบ มเี ทพธิดา ๗ องค์ สรุปแลว้ มเี ทพธิดาท้ังหมด.................................. องค์
๒.๘ ในช้างเอราวณั เทพธดิ า ๑ องค์มนี างบริวาร ๗ คน สรปุ แล้วมนี างบริวาร ท้ังหมด ……………..........… คน
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๗
๓. อธบิ ายความหมายของคาตอ่ ไปน้ี
๓.๑ อมรนิ ทร์ หมายถึง....................................................................................................................
๓.๒ โบกขรณี หมายถึง....................................................................................................................
๓.๓ เทพอัปสร หมายถึง..................................................................................................................
๓.๔ ดวงมาลย์ หมายถึง...................................................................................................................
๓.๕ เวไชยันต์ หมายถงึ ................. ..................................................................................................
๏ เคร่ืองประดับเก้าแกว้ โกมิน ซองหางกระวิน
สร้อยสายชนักถักทอง ผ้าทิพย์ปกตระพอง
เป็ นเทพบตุ รควาญ
๏ ตาขา่ ยเพชรรตั น์รอ้ ยกรอง
ห้อยพ่ทู กุ หูคชสาร
๏ โลทันสารถีขุนมาร
ขบั ท้ายท่ีน่ังช้างทรง
๔. สาระสาคญั ของคาประพันธ์ในบทที่ ๑ และ ๒ กล่าวถึง.............................................................................
๕. “เครอ่ื งประดบั เกา้ แก้วโกมิน” หมายถึง.................................................ไดแ้ ก่ ......................................................
...................................................................................................................................................................................
๖. จากบทประพันธ์ “โลทนั ” ทาหนา้ ที.่ ..........................................................................................................
๏ บรรดาโยธาจัตรุ งค์ เปล่ียนแปลงกายคง ๗. อินทรชิตใช้วธิ ีใดในการจัดต้ังกองทัพในคร้ังนี้
เป็ นเทพไทเทวัญ ………………………………………………………………………
๏ ทัพหน้าอารกั ขไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุบรรณ ………………………………………………………………………
กินนรนาคนาคา ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
๏ ปี กซ้ายฤาษิตวิทยา คนธรรพ์ ปี กขวา ๘. อธิบายความหมายของศัพท์ตอ่ ไปนี้
ตั้งตามตารับทัพชัย
๘.๑ สบุ รรณ หมายถึง.........................................
๏ ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร โตมรศรชัย ๘.๒ คนธรรพ์ หมายถึง.......................................
พระขรรค์คทาถ้วนตน รีบเรง่ ร้ีพล ............................................................................
๘.๓ โตมร หมายถึง............................................
๏ ลอยฟ้ ามาในเวหน
มาถึงสมรภมู ิชัย
ฯ เจรจา ฯ
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๘
๏ เมื่อน้ันจึงพระจักรี พอพระสุริย์ศรี ๙. จากบทประพนั ธ์ กล่าวถึงเวลา
อรุณเรอื งเมฆา เฟ่ื องฟ้ งุ วนา ......................................................................
ร่อนราถาลง ..............................................................
๏ ลมหวนอวลกล่ินมาลา ไก่ขนั ปี กตี ๑๐. จากบทประพันธ์ขา้ งต้นกลา่ วถึงสัตว์
นิวาสแถวแนวดง หาค่เู คียงประสาน ...............ชนิด ได้แก่ ……………………………….
สรา่ งแสงอโณทัย ……………………………………………………………
๏ ผ้งึ ภ่หู ม่คู ณาเหมหงส์ ……………………………………………………………
แทรกไซ้ ในสรอ้ ยสุมาลี ๑๑. อธิบายความหมายของคาศพั ท์ต่อไปน้ี
๏ ดุเหว่าเรา้ เรง่ พระสุริยศ์ รี ๑๑.๑ นิวาส หมายถงึ ...............................
ก่กู ้องในท้องดงดาน ๑๑.๒ เหมหงส์ หมายถึง...........................
๑๑.๓ อโณทัย หมายถึง.............................
๏ ปั กษาต่ืนตาขนั ขาน ๑๑.๔ บรรเทือง หมายถึง..........................
สาเนียงเสนาะในไพร
ธิบดินทรเ์ ธอบรรเทือง
๏ เดือนดาวดับเศรา้ แสงใส
ก็ผ่านพยับรองเรอื ง
๏ จับฟ้ าอากาศแลเหลือง
บรรทมฟื้ นจากไสยา
๑๒. บทประพันธ์ขา้ งต้น กล่าวถึงสง่ิ ใด ๏ เสด็จทรงรถแก้วโกสีย์ ไพโรจน์รูจี
.....................................................................
..................................................................... จะแขง่ ซึ่งแสงสุริย์ ใส
๑๓. “เทยี มสินธพอาชาไนย” หมายความว่า
.................................................................... ๏ เทียมสินธพอาชาไนย เรงิ ร้องถวายชัย
๑๔. “ชันหรู ะเหิดหฤหรรษ์” คาวา่ ชันหู
หมายความว่า............................................... ชันหูระเหิดหฤหรรษ์
…………………………………………………………….
๑๕. ผทู้ ี่ทาหน้าท่ีเป็นสารถีของฝ่ายพระราม ๏ มาตลีสารถีเทวัญ กรกมุ พระขรรค์
คอื ................................................................
ขบั รถมากลางจัตรุ งค์
๏ เพลารอยพลอยประดับดุมวง กึกก้องกากง
กระทบกระทั่งธรณี
๏ มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
กบร่ี ะบายโบกลม
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๙
๏ อึงอินทเภรตี ีระงม แตรสังขเ์ สียงประสม ๑๖. สาระสาคญั ของบทประพันธน์ ้ีคือ
ประสานเสนาะในไพร .....................................................................
.....................................................................
๏ เสียงพลโห่รอ้ งเอาชัย เล่ือนลั่นสนั่นใน .....................................................................
พิภพเพียงทาลาย ๑๗. “องึ อินทเภรตี รี ะงม” คาวา่ อินทเภรี
หมายถึง .......................................................
๏ สัตภัณฑ์บรรพตท้ังหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย .....................................................................
ประนอมประนมชมชัย ๑๘. “ลูกครฑุ พลัดตกฉิมพลี หัสดนิ อินทรี
๏ พสุธาอากาศหวาดไหว เน้ือนกตกใจ
ซุกซ่อนประหวั่นขวัญหนี
๏ ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี
คาบช้างก็วางไอยรา หักถอนพฤกษา คาบชา้ งก็วางไอยรา” จากบทประพนั ธ์น้ี
๏ วานรสาแดงเดชา คาวา่ “ฉมิ พลี” หมายถงึ
ถือต่างอาวุธยุทธยง แหลกลู่ล้มลง .....................................................................
๏ ไม้ ไหล้ยูงยางกลางดง คาวา่ “หัสดนิ อนิ ทรี” หมายถึง
ละเอียดด้วยฤทธิโยธี .....................................................................
.....................................................................
๑๙. จากบทประพันธต์ ่อไปนี้ เกดิ เหตกุ ารณ์ ๏ อากาศบ. ดบังสุริย์ศรี เทวัญจันทรี
อะไร
ทกุ ชั้นอานวยอวยชัย
………….......................................................... ๏ บา้ งเปิ ดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย
...................................……………………........... ซ้องสาธุการบชู า พ่มุ บษุ ปมาลา
………………………………………………………..…… เรง่ รดั หัสดิน
………………………........................................... ๏ ชักรถร่เี ร่อื ยเฉ่ือยมา
...........................................………………………
๒๐. อธิบายความหมายของคาศัพท์ตอ่ ไปนี้ กงรถไม่จดธรณินทร์
๏ เรง่ พลโยธาพานรนิ ทร์
๒๐.๑ บุษปมาลา หมายถึง
วานรให้เร่งรีบมา
ฯ เจรจา หยุดทพั ฯ
.....................................................................
๒๐.๒ พานรนิ ทร์ หมายถงึ
.....................................................................
.....................................................................
๓๐.๓ ธรณินทร์ หมายถงึ
.....................................................................
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๐
๏ เมื่อน้ันพระศรอี นชุ า เอ้ือนอรรถวัจนา ๒๑. จากบทประพันธ์ คาว่า “พระศรอี นุชา”
หมายถึง........................................................
ตรัสถามสุครีพขุนพล .....................................................................
๒๒. คาวา่ “สหัสนยั น์” หมายถงึ
๏ เหตไุ ฉนสหัสนัยน์เสด็จดล สมรภมู ิไพรสณฑ์ ...........................................................................
เธอมาด้วยกลอันใด ...........................................................................
๒๓. คาวา่ “พระผเู้ รืองฤทธิแ์ ข็งขนั ” หมายถึง
๏ สุครพี ทลู ทัดเฉลยไข ทกุ ทีสหัสนัยน์
เสด็จด้วยหม่เู ทวา
๏ อวยชัยถวายทิพมาลา บัดนี้เธอมา
เห็นวิปริตดฉู งน
๏ ทรงเคร่อื งศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็ นกล ...........................................................................
ไปเขา้ ด้วยราพณ์อาธรรม์ ...........................................................................
๏ พระผ้เู รอื งฤทธ์ิแขง็ ขนั คอยดสู าคัญ ๒๔. “ทรงเครอื่ งศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเปน็ กล
อย่าไว้พระทัยไพรี ตรสั ส่ังเสนี ไปเข้าดว้ ยราพณ์อาธรรม์” คาที่ขีดเสน้ ใต้
เคลิบเคลิ้มวรกาย หมายถึง..............................................................
๏ เมื่อนั้นอินทรชิตยักษี ..........................................................................
ให้จับระบาราถวาย
๏ ให้องค์อนชุ านารายณ์
จะแผลงซึ่งศัสตราศรพล
ฯ เจรจา ฯ
๏ อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา
เห็นองค์พระลักษณ์ฤทธิรงค์
๏ เคลิบเคลิ้มหฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง
พรหมาสตร์อันเรืองเดชา หมายองค์พระอนชุ า
๏ ทนู เหนือเศียรเกล้ายักษา
ก็แผลงสาแดงฤทธริ ณ
๏ อากาศก้องโกลาหล โลกลั่นอึงอล
อานาจสะท้านธรณี
๏ ศรเต็มไปท่ัวราศี ต้ององค์อินทรีย์
พระลักษณ์ก็กล้ิงกลางพล
ฯ เจรจา อินทรชิตกลับทพั ฯ
๒๕. เหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ จากบทประพนั ธ์คือ
เหตกุ ารณ…์ ..........................................................................................................................................................................….
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๑
แบบฝึกกจิ กรรมที่ ๔.๒
คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรุปความรจู้ ากท่ีศึกษาเรอื่ งบทพากย์เอราวณั ตามหัวข้อที่กำหนดให้
(ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรปุ เน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดบั ทีย่ ากยิ่งขึน้ )
ขอ้ ๑ “อินทรชติ บิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมรินทร์
ทรงคชเอราวณั ” อธบิ ายลักษณะและพฤติกรรมของ ตัวละครจากบทประพันธด์ งั กล่าว
___________________________________________________________________________________
ขอ้ ๒ “เครื่องประดบั เกา้ แกว้ โกมนิ ทร์ ซองหางกระวิน
หอ้ ยพทู่ ุกหคู ชสาร” อธิบายลักษณะเคร่ืองประดบั ช้างเอราวณั จากบทประพันธด์ งั กล่าว
___________________________________________________________________________________
ขอ้ ๓ “ปกี ซา้ ยฤๅษติ วทิ ยา คนธรรพ์ปกี ขวา
ต้ังตามตำรับทัพชยั ” อธบิ ายลักษณะการจัดตั้งกองทัพของฝ่ายอนิ ทรชติ จากบทประพนั ธด์ งั กล่าว
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๔ “ล้วนถืออาวธุ เกรยี งไกร โตมรศรชัย
พระขรรค์คทาถ้วนตน” อธิบายลักษณะอาวธุ จากบทประพันธด์ งั กล่าววา่ มอี ะไรบา้ ง
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๕ “เมอ่ื นน้ั จงึ พระจักรี พอพระสรุ ิย์ศรี
อรณุ เรืองเมฆา” อธบิ ายลักษณะตัวละครและเวลา จากบทประพนั ธด์ ังกลา่ ว
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๖ “บรรดาโยธาจตั ุรงค์ เปลย่ี นแปลงกายคง
เป็นเทพไทเทวัญ” จากบทประพันธ์ดงั กล่าว โยธาจตั ุรงคห์ มายถงึ อะไร แลว้ เหตุใดต้องเปลีย่ นแปลงกาย
___________________________________________________________________________________
ขอ้ ๗ “ผงึ้ ภู่หมูค่ ณาเหมหงส์ รอ่ นราถาลง
แทรกไซรใ้ นสร้อยสมุ าลี
ดุเหว่าเรา้ เร่งพระสุริย์ศรี ไก่ขนั ปีกตี
กกู่ ้องในท้องดงดาน” จากบทประพันธด์ ังกล่าว ปรากฏสัตว์ก่ีชนิด อะไรบ้าง
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๘ “เหตไุ ฉนสหสั นยั นเ์ สด็จดล สมรภูมไิ พรสณฑ์
เธอมาดว้ ยกลอันใด” จากบทประพนั ธ์ เหตุใดพระลกั ษมณจ์ งึ สงสัยแล้วถามสุครีพเชน่ นัน้ จงอธบิ ายอย่างละเอียด
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๙ “ใหอ้ งคอ์ นชุ านารายณ์ เคลิบเคลม้ิ วรกาย
จะแผลงซ่งึ ศสั ตรศรพล” องค์อนุชานารายณ์ หมายถงึ ใคร__________________________________
ข้อ ๑๐ “อากาศกอ้ งโกลาหล โลกล่นั อึงอล
อำนาจสะท้อนธรณี” จากบทประพนั ธ์ เกดิ เหตุการณ์ใดข้ึน อธิบายอยา่ งละเอยี ด
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๒
คุณคา่ จากบทพากยเ์ อราวณั
แก่นเรื่อง
การพิจารณาสงิ่ ต่าง ๆ จะต้องมีสติ อย่าหลงเชอื่ อะไรงา่ ย ๆ เพราะความงดงามชวนหลงใหลน้นั มักจะ
แฝงมากับพิษภัย เช่นเดียวกับการทีอ่ ินทรชิตปลอมแปลงกายเปน็ พระอินทรจ์ นทาใหพ้ ระลักษณเ์ คลิบเคลิม้
หลงใหลจนต้องศรพรหมาสตร์
คณุ ค่าด้านเนื้อหา
วรรณคดีเร่อื งนี้แมไ้ มเ่ ด่นดา้ นเน้ือเรอื่ ง แต่กท็ รงคณุ คา่ ในประวตั คิ วามเป็นมา ทาใหเ้ หน็ ได้ว่ามีการสานต่อ
วรรณคดีเรอ่ื งนี้ในฐานะทเ่ี ปน็ ราชูปโภคของกษัตริย์กษตั ริยไ์ ทยทรงใช้วรรณคดีในการสร้างเอกลักษณ์ความเป็นชาติ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
– กลวธิ ีด้านการประพันธ์
• การใชส้ ัมผสั สระ เช่น
ผง้ึ ภู่หมคู่ ณาเหมหงส์ ร่อนราถาลง
แทรกไซใ้ นสร้อยสุมาลี
• การใช้สัมผัสอกั ษร เชน่
เดือนดาวดบั เศร้าแสงใส สร่างแสงอโณทัย
ก็ผ่านพยบั รองเรือง
– การใช้โวหารภาพพจน์
• ........................... เช่น
มีวมิ านแก้วงามบวร ทกุ เกศกญุ ชร
ดังเวไชยนั ตอ์ ัมรนิ ทร์
• .......................... เช่น
เสียงพลโหร่ อ้ งเอาชัย เลื่อนลน่ั สนัน่ ใน
พภิ พเพียงทาลาย
• .......................... เช่น
สตั ภัณฑบ์ รรพตท้ังหลาย ออ่ นเอยี งเพยี งปลาย
ประนอมประนมชมชัย
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๓
คณุ ค่าด้านสังคม
๑) ความเช่ือในเร่ือง.......................................
เพราะเนื้อหาและเรอื่ งราวลว้ นมีความเก่ียวข้องกบั พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระอินทร์
๒) ความเชอื่ ในเร่อื ง........................................
ได้สะท้อนให้เห็นความเชือ่ บางประการท่ีมีความเก่ยี วโยงกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เช่น เม่อื กองทพั ของ
พระลักษณ์พร้อมทจี่ ะสูร้ บกับกองทัพของอินทรชติ ได้มีการเป่าและสงั ข์ พร้อมกับท่ีทหารหาญโห่ร้องเอาชยั
๓) อาวุธในการทาศกึ สงคราม
สว่ นใหญ่เป็นอาวุธของฝ่ายทัพอินทรชติ ดงั คาประพันธท์ ี่วา่
ล้วนถืออาวธุ เกรียงไกร โตมรศรชยั
พระขรรค์คทาถ้วนตน
๔) สตั ว์ปา่ ในหิมพานต์
เมื่อกลา่ วถึงการเคลอ่ื นทัพของพระราม กวีได้พรรณนาความถึงแสนยานภุ าพท่ียงิ่ ใหญ่ แม้แตส่ ัตวต์ า่ ง ๆ
ในปา่ หมิ พานต์กต็ น่ื ตกใจในอานาจของกองทัพสตั ว์ท่ีกลา่ วถึง เช่น ลูกครฑุ ที่อาศัยอยใู่ นรงั ไมง้ ้วิ และนกหสั ดีลิงค์
๕) ความเช่ือเก่ียวกับชา้ งเอราวณั
ข้อคดิ จากบทพากยเ์ อราวณั
๑) การตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น
๒) การให้อานาจแกบ่ คุ คลใดควรไตรต่ รองใหด้ ี
๓) การมอี านาจควรใช้ไปในทางทีถ่ กู ต้อง
๔) การใช้ชีวิตอยา่ งมสี ติ
๕) สงครามคือความสูญเสยี
...การอา่ นวรรณคดีเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของทุกสงิ่ ในชีวติ …
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๔
เรือ่ ง บทพากย์เอราวณั
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องและเหมาะสมกบั เร่ืองท่อี า่ น
ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรปุ เน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่นิ ในระดับทยี่ ากย่ิงขึ้น
ท ๕.๑ ม.๓/๒ วเิ คราะหว์ ถิ ไี ทยและคณุ คา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น
ท ๕.๑ ม.๓/๓ สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพือ่ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จริง
ท ๕.๑ ม.๓/๔ ทอ่ งจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามทีก่ าหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใชอ้ ้างองิ
ประวตั ิและทมี่ า
บทพากย์เอราวัณ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ใช้สาหรับเล่นโขน จัดพิมพ์
รวมอยู่ในรามเกียรติ์คาพากย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ ณ โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมือง
กรุงเทพฯ โดยคณะอนุกรรมการจัดทาเอกสารและบทความสดุดีบุคคลสาคญั ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ได้นามา
จัดพมิ พ์ขน้ึ ใหม่เพอื่ เปน็ การอนุรกั ษว์ รรณกรรมเกา่ และหายาก สืบอายุวรรณกรรม โดยนามาพิมพเ์ ป็นหนงั สือใหม่ชอ่ื
กาพยคดี ประกอบดว้ ยเรอ่ื ง ๑. พชิ ยั สงครามคาฉันท์ ๒. ตาราช้างคาฉนั ท์ ๓. บุณโณวาทคาฉันท์ ๔. รามเกียรต์ิคาพากย์
๕. ลาดบั กษตั รยิ ์คาฉันท์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี
แห่งรัชสมัยของพระองค์ได้ทรงทานุบารุงด้านศิลปะ วรรณคดีและสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะวรรณคดีมีความเจริญรุ่งเรือง
สูงสุด นอกจากนี้พระองค์ยังทรงปรับปรุงการละครไทยจนถึงขั้นมาตรฐานสูงทั้งกระบวนท่า เนื้อร้อง ทานองเพลงและ
การร่ายรา โดยบทพระราชนิพนธ์ในพระองค์ที่สาคัญ เช่น เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน บทละครเรื่องอิเหนา บทละครเรื่อง
รามเกียรต์ิ บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาวี ไกรทอง มณีพิชัย กาพย์เห่เรือ บทเห่ชมเครื่องคาวหวาน บทพากย์โขน
ตอนพรหมาสตร์ นาคบาศ นางลอยและเอราวัณ
ในสมัยอยุธยาจะนาเน้ือเรื่องรามเกยี รตบิ์ างตอนมาแตง่ สาหรับการแสดงหนงั ใหญ่และโขน บทประพันธ์น้ันเรียกว่า
“.......................................................” รูปแบบคาประพันธ์มักจะเป็นกาพย์ยานี ๑๑ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์บางตอนขึ้น เพื่อใช้สาหรับการแสดงโขน
คอื .....................................................................................................................................................
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๒
ลกั ษณะคาประพันธ์
บทพากยเ์ อราวัณ ใชค้ าประพันธป์ ระเภท.................................... ซ่งึ มลี ักษณะดงั นี้
ใน ๑ บท มี ๑๖ คา แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคแรกมจี านวน ๖ คา วรรคท่ี ๒ มี ๔ คา วรรคสุดท้ายมี ๖ คา
สัมผัสบังคบั ได้แก่ คาสุดทา้ ยของวรรคแรก สัมผัสกบั คาสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สมั ผัสระหว่างบท คือคาสดุ ท้ายของ
บทแรกสัมผสั กับคาสุดทา้ ยของวรรคแรกในบทตอ่ ไป
ตวั ละครในเรือ่ ง
อินทรชิต
เดิมมีชอ่ื วา่ ....................... เป็นบตุ รทศกัณฐ์กบั นางมณโฑ มีมเหสชี ่ือนางสุวรรณกันยุมา
มีบุตรชื่อยามลิวันและกันยุเวก มีสีกายสีเขียว มีฤทธิ์เก่งกล้ามาก เมื่อโตขึ้นจึงทูลลาพระบิดาและ
พระมารดาเพื่อไปศึกษาวิชากบั พระฤๅษีโคบุตรจนสาเร็จวิชามนตม์ หากาลอัคคี จึงกราบลาอาจารย์
เพื่อไปบาเพ็ญตบะ เมื่อบาเพ็ญจนเก่งกล้าแล้วจงึ ทาพิธีขออาวุธวิเศษตอ่ มหาเทพทั้ง ๓ มหาเทพจึง
ประทานอาวุธวิเศษให้ คือ พระอิศวรประทาน..............................และพรสามารถแปลงร่างเป็น
พระอินทรไ์ ด้ พระพรหมประทานศร..................และพรไม่ให้ตายบนพื้นดินหากตายก็ให้ตายบนอากาศหากเศียร
ขาดตกลงพื้นก็ให้เกิดไฟไหม้ทั่วทั้งจักรวาลต้องนาพานแว่นฟ้าของพระพรหมเท่านั้นมารองรับเศียรจงึ จะระงับเหตุ
ได้ สว่ นพระนารายณ์ประทานศร....................... เม่ือไดร้ ับพรและอาวุธวเิ ศษแล้วจงึ เกิดความฮกึ เหิมบกุ สวรรค์และ
ท้าพระอินทร์รบและชนะพระอินทร์ ทศกัณฐ์เมื่อทราบข่าวบุตรของตนมีชัยชนะก็ดีใจมากจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น
อนิ ทรชติ หมายถึง ".............................." แตด่ ้วยไมต่ งั้ ตนอยู่ในธรรมและการประพฤติชว่ั ของตน ภายหลังถูกศรของ
พระลักษณ์สิ้นใจ ในศึกอินทรชิตนี้แม้ว่าจะแผลงศรสังหารพระลักษณ์ได้ แต่หนุมานสามารถหายาแก้พิษศรได้
พระลักษณ์จึงฟืน้ ขึน้ มา ในที่สุดฝ่ายพระรามกท็ าลายศรวิเศษท้ังสามได้ อินทรชิตออกรบอีกครั้ง เมื่อเสียรถศึกและ
อาวุธ ก็กลัวตายจึงหนีขึ้นไปซ่อนในกลีบเมฆ พระลักษณ์จึงแผลงศรสังหารอินทรชิต แต่พิเภกทูลว่าถ้าเศียรของ
อินทรชิตตกถึงพื้นจะเกิดไฟบรรลัยกัลป์ จึงให้องคตไปทูลขอพานแว่นฟ้าจากพระพรหม แล้วพระลักษณ์ก็แผลงศร
ตดั เศยี รอินทรชติ โดยมีองคตถือพานรบั ไว้ แต่เศยี รยังคงสาแดงฤทธิ์ พระรามจงึ แผลงศรไปทาลายจนแหลกละเอียด
ในที่สุด
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๓
พระราม
พระรามเป็นปางท่ี ๗ ของพระ.................................. อวตารลงมาเป็นโอรส
ของทา้ วทศรถกับพระนางเกาสรุ ิยา ทรงมีพระวรกายสีเขียว ทรงธนเู ปน็ อาวุธ มีศรวเิ ศษ
๓ เลม่ คอื ศร............................ ศร................................. ศร .................................
มีพระมเหสี คือ นางสีดา (ซึ่งคือพระลักษมี พระชายาของพระนารายณ์อวตารลงมาเป็น
คู่ครอง)
พระลักษณ์
เป็นโอรสของท้าวทศรถกบั นางสมทุ รชา มพี ระวรกายสเี หลืองดงั ทอง
(คอื พญา........................................อวตารลงมาพร้อมพระราม) เมอ่ื พระรามต้องเสด็จออกเดินดง
ตามพระประสงค์ของนางไกยเกษี พระลักษณ์ก็ได้ทูลขอตามเสด็จไปด้วยความจงรักภักดี ทรงร่วม
ผจญกับเหล่าหมมู่ ารและรว่ มรบเคยี งบ่าเคยี งไหลก่ ับพระรามเสมอ
หนุมาน
เป็นลิงเผือก (กายสีขาว) มีลักษณะพิเศษ คือ มีเขี้ยวแก้วอยู่กลางเพดานปาก
มีกุณฑล ขนเป็นเพชร สามารถแผลงฤทธิ์ให้มีสี่หน้าแปดมือ และหาวเป็นดาวเป็นเดือนได้
ใช้........................ (สามง่าม) เป็นอาวุธประจาตัว ทั้งยังอยู่ยงคงกระพัน แม้ถูกอาวุธของ
ศตั รจู นตาย เมอ่ื มลี มพดั มากจ็ ะฟ้ืนขนึ้ ไดอ้ ีก
ช้างเอราวัณ
ช้างเอราวณั เป็นชอ่ื ช้างทรงของ............................ เนอื่ งจากเปน็ สัตว์ในจินตนาการกวี
จึงมีลักษณะพิเศษต่างกับช้างโดยทั่วไป ตามเรื่องในไตรภูมิพระร่วง เอราวัณเป็นเทพบุตร
ช่ือ ....................... เม่ือพระอินทร์จะเสดจ็ ทีใ่ ด ไอยราวัณกจ็ ะเนรมิตตนเป็นชา้ งเผือกใหญ่
เพื่อเป็นพาหนะของพระอินทร์ ในเรื่องรามเกียรต์ิ ช้างเอราวัณหรือไอยราพตปรากฎในตอน
ศกึ อินทรชติ ซง่ึ บรรยายเหตุการณ์ตอนท่ีอินทรชติ โอรสของทศกัณฐ์ยกทัพไปรบกับพระราม
อินทรชิตแปลงกายเป็นพระอินทร์ แล้วให้เสนายักษ์ที่ชื่อ..............................แปลงกาย
เป็นช้างเอราวัณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชผู้พระราชนิพนธ์
ได้พรรณนาถึงลักษณะของช้างเอราวัณว่ามีความยิ่งใหญ่และความงดงามของช้างทรง และกระบวนทัพทาให้พระลักษณ์
เข้าใจว่าพระอินทร์เสด็จลงมา ครั้นอินทรชิตสั่งให้บริวารอสูรที่แปลงกายเป็นเทวดาและนางฟ้าร่ายราถวาย พระลักษณ์ก็
เคล้มิ พระวรกายจนเสียทีอนิ ทรชติ
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๔
ศึกอนิ ทรชิต
ในเรื่องรามเกยี รต์ิซึ่งเป็นสงครามแย่งชิงนางสีดา ทศกัณฐ์ทรงให้พระญาติวงศ์พงศาออกรบแต่กลับพ่ายแพ้หมด จึง
โปรดใหอ้ ินทรชิตออกรบถงึ ๔ ครัง้ ดงั น้ี
ครั้งแรก อินทรชิตถูกศรพลายวาตของพระลักษมณ์ต้องหนีกลับเข้าเมือง จึงให้มังกรกัณฐ์ออกรบแทน
และถูกพระรามแผลงศรพรหมาสตรใ์ ส่มังกรกัณฐ์
ครัง้ ทส่ี อง อินทรชิตรบกับพระลักษมณ์ แผลงศรนาคบาศถูกพระลักษณ์และพลวานร พระรามจึงเรียก
ครฑุ มาจกิ นาค
ครัง้ ท่สี าม อนิ ทรชติ แปลงเปน็ พระอินทร์ขช่ี ้างเอราวัณออกมารบกับพระลกั ษมณ์
ครง้ั ทส่ี ี่ อินทรชติ ร่าลาลูกเมีย แล้วออกไปรบ ก็ถกู พระรามแผลงศรตัดคอ
โครงเรอื่ ง
เริ่มเรื่องดว้ ยที่อนิ ทรชิตแปลงกายเป็นพระอินทร์เพื่อออกสู้รบกับพระรามพระลักษณ์ จากนั้นจงึ พรรณนาถึงความ
งดงามของช้างเอราวัณ พรรณนากองทัพของอินทรชิต กล่าวถึงพระรามที่ตื่นบรรทม โดยพรรณนาธรรมชาติบริเวณท่ี
ประทับและความยงิ่ ใหญ่ของกองทัพพระราม
จบลงด้วยฉากที่พระลักษณ์ทอดพระเนตรเห็นกองทัพพระอินทร์แปลง ทรงเคลิบเคลิ้ม อินทรชิตจึงแผลงศร
พรหมาสตร์ตอ้ งพระลักษณ์
ฉากในเรอื่ ง
ฉากที่ปรากฏในตอนนี้ คือ ฉากกองทัพของฝ่ายอินทรชิต และฝ่ายพระราม กวีได้พรรณนาให้เห็นถึงภาพความ
ยง่ิ ใหญข่ องกองทพั ท้งั สองฝา่ ย และยงั ปรากฏฉากธรรมชาติบริเวณทป่ี ระทบั ของพระรามในขณะท่พี ระรามตนื่ บรรทมด้วย
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๕
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔.๑
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นสรุปความรู้จากท่ีศกึ ษาประวัตแิ ละทม่ี าเรื่องบทพากยเ์ อราวณั ตามหัวข้อทก่ี ำหนดให้
(ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถน่ิ ในระดับทีย่ ากยิง่ ขน้ึ )
ประวัติผแู้ ต่ง ลักษณะคาประพันธ์ของเรือ่ ง
เนอื้ ความในการประพันธ์ ประวัติและท่ีมา
เร่ืองบทพากย์เอราวณั
ความเก่ยี วข้องกับวรรณคดเี ร่ือง
รามเกียรต์ิ
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๖
การศกึ ษาคาประพันธ์
๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมรนิ ทร์
ทรงคชเอราวัณ
๏ ช้างนิมิตฤทธิแรงแขง็ ขนั เผือกผอ่ งผิวพรรณ
สีสังขส์ ะอาดโอฬาร์ เศียรหนึ่งเจ็ดงา
๏ สามสิบสามเศียรโสภา
ด่ังเพชรรัตน์รูจี สระหน่ึงย่อมมี
๏ งาหน่ึงเจ็ดโบกขรณี
เจ็ดกออุบลบนั ดาล
๏ กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหน่ึงแบง่ บาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผา เจ็ดองค์ โสภา
อีกเจ็ดเยาวมาลย์
๏ กลีบหน่ึงมีเทพธิดา ชาเลืองหางตา
แน่งน้อยลาเพานงพาล
๏ นางหน่ึงย่อมมีบรวิ าร
ล้วนรูปนิรมิตมายา
๏ จับระบารารา่ ยส่ายหา
ทาทีดังเทพอัปสร
๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทกุ เกศกญุ ชร
ดังเวไชยันต์อมรนิ ทร์
๑. สาระสาคญั ของบทประพันธ์ขา้ งต้นกลา่ วถึงส่ิงใด...................................................................................................
๒. ลักษณะของชา้ งเอราวัณทีป่ รากฏตามบทประพนั ธ์
๒.๑ ชา้ งเอราวณั มี................. เศียร
๒.๒ ในชา้ งเอราวัณ ๑ เศยี ร มี งา...................งา สรปุ แลว้ มีงา ท้ังหมด ........................................งา
๒.๓ ในชา้ งเอราวัณ ๑ งา มีสระบวั …............สระ สรุปแลว้ มีสระบัว ทั้งหมด ….......................สระ
๒.๔ ในช้างเอราวัณ ๑ สระบวั มี .............. กอบัว สรุปแล้วมีกอบัว ทั้งหมด ….............................กอ
๒.๕ ในชา้ งเอราวณั ๑ กอบัว มดี อกบัว.........ดอก สรปุ แลว้ มีดอกบัว ท้ังหมด …...................….ดอก
๒.๖ ในชา้ งเอราวัณ ดอกบัว ๑ ดอก ม.ี ......... กลีบ สรุปแลว้ มีกลีบบัว ท้ังหมด ….......................กลบี
๒.๗ ในชา้ งเอราวณั ดอกบัว ๑ กลีบ มเี ทพธิดา ๗ องค์ สรุปแลว้ มเี ทพธิดาท้ังหมด.................................. องค์
๒.๘ ในช้างเอราวณั เทพธดิ า ๑ องค์มนี างบริวาร ๗ คน สรปุ แล้วมนี างบริวาร ท้ังหมด ……………..........… คน
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๗
๓. อธบิ ายความหมายของคาตอ่ ไปน้ี
๓.๑ อมรนิ ทร์ หมายถึง....................................................................................................................
๓.๒ โบกขรณี หมายถึง....................................................................................................................
๓.๓ เทพอัปสร หมายถึง..................................................................................................................
๓.๔ ดวงมาลย์ หมายถึง...................................................................................................................
๓.๕ เวไชยันต์ หมายถงึ ................. ..................................................................................................
๏ เคร่ืองประดับเก้าแกว้ โกมิน ซองหางกระวิน
สร้อยสายชนักถักทอง ผ้าทิพย์ปกตระพอง
เป็ นเทพบตุ รควาญ
๏ ตาขา่ ยเพชรรตั น์รอ้ ยกรอง
ห้อยพ่ทู กุ หูคชสาร
๏ โลทันสารถีขุนมาร
ขบั ท้ายท่ีน่ังช้างทรง
๔. สาระสาคญั ของคาประพันธ์ในบทที่ ๑ และ ๒ กล่าวถึง.............................................................................
๕. “เครอ่ื งประดบั เกา้ แก้วโกมิน” หมายถึง.................................................ไดแ้ ก่ ......................................................
...................................................................................................................................................................................
๖. จากบทประพันธ์ “โลทนั ” ทาหนา้ ที.่ ..........................................................................................................
๏ บรรดาโยธาจัตรุ งค์ เปล่ียนแปลงกายคง ๗. อินทรชิตใช้วธิ ีใดในการจัดต้ังกองทัพในคร้ังนี้
เป็ นเทพไทเทวัญ ………………………………………………………………………
๏ ทัพหน้าอารกั ขไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุบรรณ ………………………………………………………………………
กินนรนาคนาคา ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
๏ ปี กซ้ายฤาษิตวิทยา คนธรรพ์ ปี กขวา ๘. อธิบายความหมายของศัพท์ตอ่ ไปนี้
ตั้งตามตารับทัพชัย
๘.๑ สบุ รรณ หมายถึง.........................................
๏ ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร โตมรศรชัย ๘.๒ คนธรรพ์ หมายถึง.......................................
พระขรรค์คทาถ้วนตน รีบเรง่ ร้ีพล ............................................................................
๘.๓ โตมร หมายถึง............................................
๏ ลอยฟ้ ามาในเวหน
มาถึงสมรภมู ิชัย
ฯ เจรจา ฯ
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๘
๏ เมื่อน้ันจึงพระจักรี พอพระสุริย์ศรี ๙. จากบทประพนั ธ์ กล่าวถึงเวลา
อรุณเรอื งเมฆา เฟ่ื องฟ้ งุ วนา ......................................................................
ร่อนราถาลง ..............................................................
๏ ลมหวนอวลกล่ินมาลา ไก่ขนั ปี กตี ๑๐. จากบทประพันธ์ขา้ งต้นกลา่ วถึงสัตว์
นิวาสแถวแนวดง หาค่เู คียงประสาน ...............ชนิด ได้แก่ ……………………………….
สรา่ งแสงอโณทัย ……………………………………………………………
๏ ผ้งึ ภ่หู ม่คู ณาเหมหงส์ ……………………………………………………………
แทรกไซ้ ในสรอ้ ยสุมาลี ๑๑. อธิบายความหมายของคาศพั ท์ต่อไปน้ี
๏ ดุเหว่าเรา้ เรง่ พระสุริยศ์ รี ๑๑.๑ นิวาส หมายถงึ ...............................
ก่กู ้องในท้องดงดาน ๑๑.๒ เหมหงส์ หมายถึง...........................
๑๑.๓ อโณทัย หมายถึง.............................
๏ ปั กษาต่ืนตาขนั ขาน ๑๑.๔ บรรเทือง หมายถึง..........................
สาเนียงเสนาะในไพร
ธิบดินทร์เธอบรรเทือง
๏ เดือนดาวดับเศรา้ แสงใส
ก็ผ่านพยับรองเรอื ง
๏ จับฟ้ าอากาศแลเหลือง
บรรทมฟื้ นจากไสยา
๑๒. บทประพันธ์ขา้ งต้น กล่าวถึงสง่ิ ใด ๏ เสด็จทรงรถแก้วโกสีย์ ไพโรจน์รูจี
.....................................................................
..................................................................... จะแขง่ ซึ่งแสงสุริย์ ใส
๑๓. “เทยี มสินธพอาชาไนย” หมายความว่า
.................................................................... ๏ เทียมสินธพอาชาไนย เรงิ ร้องถวายชัย
๑๔. “ชันหรู ะเหิดหฤหรรษ์” คาวา่ ชันหู
หมายความว่า............................................... ชันหูระเหิดหฤหรรษ์
…………………………………………………………….
๑๕. ผทู้ ี่ทาหน้าท่ีเป็นสารถีของฝ่ายพระราม ๏ มาตลีสารถีเทวัญ กรกมุ พระขรรค์
คอื ................................................................
ขบั รถมากลางจัตรุ งค์
๏ เพลารอยพลอยประดับดุมวง กึกก้องกากง
กระทบกระทั่งธรณี
๏ มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
กบร่ี ะบายโบกลม
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๙
๏ อึงอินทเภรตี ีระงม แตรสังขเ์ สียงประสม ๑๖. สาระสาคญั ของบทประพันธน์ ้ีคือ
ประสานเสนาะในไพร .....................................................................
.....................................................................
๏ เสียงพลโห่รอ้ งเอาชัย เล่ือนลั่นสนั่นใน .....................................................................
พิภพเพียงทาลาย ๑๗. “องึ อินทเภรตี รี ะงม” คาวา่ อินทเภรี
หมายถึง .......................................................
๏ สัตภัณฑ์บรรพตท้ังหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย .....................................................................
ประนอมประนมชมชัย ๑๘. “ลูกครฑุ พลัดตกฉิมพลี หัสดนิ อินทรี
๏ พสุธาอากาศหวาดไหว เน้ือนกตกใจ
ซุกซ่อนประหวั่นขวัญหนี
๏ ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี
คาบช้างก็วางไอยรา หักถอนพฤกษา คาบชา้ งก็วางไอยรา” จากบทประพนั ธ์น้ี
๏ วานรสาแดงเดชา คาวา่ “ฉมิ พลี” หมายถงึ
ถือต่างอาวุธยุทธยง แหลกลู่ล้มลง .....................................................................
๏ ไม้ ไหล้ยูงยางกลางดง คาวา่ “หัสดนิ อนิ ทรี” หมายถึง
ละเอียดด้วยฤทธิโยธี .....................................................................
.....................................................................
๑๙. จากบทประพันธต์ ่อไปนี้ เกดิ เหตกุ ารณ์ ๏ อากาศบ. ดบังสุริย์ศรี เทวัญจันทรี
อะไร
ทกุ ชั้นอานวยอวยชัย
………….......................................................... ๏ บา้ งเปิ ดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย
...................................……………………........... ซ้องสาธุการบชู า พ่มุ บษุ ปมาลา
………………………………………………………..…… เรง่ รดั หัสดิน
………………………........................................... ๏ ชักรถร่เี ร่อื ยเฉ่ือยมา
...........................................………………………
๒๐. อธิบายความหมายของคาศัพท์ตอ่ ไปนี้ กงรถไม่จดธรณินทร์
๏ เรง่ พลโยธาพานรนิ ทร์
๒๐.๑ บุษปมาลา หมายถึง
วานรให้เร่งรีบมา
ฯ เจรจา หยุดทพั ฯ
.....................................................................
๒๐.๒ พานรนิ ทร์ หมายถงึ
.....................................................................
.....................................................................
๓๐.๓ ธรณินทร์ หมายถงึ
.....................................................................
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๐
๏ เมื่อน้ันพระศรอี นชุ า เอ้ือนอรรถวัจนา ๒๑. จากบทประพันธ์ คาว่า “พระศรอี นุชา”
หมายถึง........................................................
ตรัสถามสุครีพขุนพล .....................................................................
๒๒. คาวา่ “สหัสนยั น์” หมายถงึ
๏ เหตไุ ฉนสหัสนัยน์เสด็จดล สมรภมู ิไพรสณฑ์ ...........................................................................
เธอมาด้วยกลอันใด ...........................................................................
๒๓. คาวา่ “พระผเู้ รืองฤทธิแ์ ข็งขนั ” หมายถึง
๏ สุครพี ทลู ทัดเฉลยไข ทกุ ทีสหัสนัยน์
เสด็จด้วยหม่เู ทวา
๏ อวยชัยถวายทิพมาลา บัดนี้เธอมา
เห็นวิปริตดฉู งน
๏ ทรงเคร่อื งศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็ นกล ...........................................................................
ไปเขา้ ด้วยราพณ์อาธรรม์ ...........................................................................
๏ พระผ้เู รอื งฤทธ์ิแขง็ ขนั คอยดสู าคัญ ๒๔. “ทรงเครอื่ งศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเปน็ กล
อย่าไว้พระทัยไพรี ตรสั ส่ังเสนี ไปเข้าดว้ ยราพณ์อาธรรม์” คาที่ขีดเสน้ ใต้
เคลิบเคลิ้มวรกาย หมายถึง..............................................................
๏ เมื่อนั้นอินทรชิตยักษี ..........................................................................
ให้จับระบาราถวาย
๏ ให้องค์อนชุ านารายณ์
จะแผลงซึ่งศัสตราศรพล
ฯ เจรจา ฯ
๏ อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา
เห็นองค์พระลักษณ์ฤทธิรงค์
๏ เคลิบเคลิ้มหฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง
พรหมาสตร์อันเรืองเดชา หมายองค์พระอนชุ า
๏ ทนู เหนือเศียรเกล้ายักษา
ก็แผลงสาแดงฤทธริ ณ
๏ อากาศก้องโกลาหล โลกลั่นอึงอล
อานาจสะท้านธรณี
๏ ศรเต็มไปทั่วราศี ต้ององค์อินทรีย์
พระลักษณ์ก็กล้ิงกลางพล
ฯ เจรจา อินทรชิตกลับทพั ฯ
๒๕. เหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ จากบทประพนั ธ์คือ
เหตกุ ารณ…์ ..........................................................................................................................................................................….
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๑
แบบฝึกกจิ กรรมที่ ๔.๒
คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรุปความรจู้ ากท่ีศึกษาเรอื่ งบทพากย์เอราวณั ตามหัวข้อที่กำหนดให้
(ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรปุ เน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดบั ทีย่ ากยิ่งขึน้ )
ขอ้ ๑ “อินทรชติ บิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมรินทร์
ทรงคชเอราวณั ” อธบิ ายลักษณะและพฤติกรรมของ ตัวละครจากบทประพันธด์ งั กล่าว
___________________________________________________________________________________
ขอ้ ๒ “เครื่องประดบั เกา้ แกว้ โกมนิ ทร์ ซองหางกระวิน
หอ้ ยพทู่ ุกหคู ชสาร” อธิบายลักษณะเคร่ืองประดบั ช้างเอราวณั จากบทประพันธด์ งั กล่าว
___________________________________________________________________________________
ขอ้ ๓ “ปกี ซา้ ยฤๅษติ วทิ ยา คนธรรพ์ปกี ขวา
ต้ังตามตำรับทัพชยั ” อธบิ ายลักษณะการจัดตั้งกองทัพของฝ่ายอนิ ทรชติ จากบทประพนั ธด์ งั กล่าว
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๔ “ล้วนถืออาวธุ เกรยี งไกร โตมรศรชัย
พระขรรค์คทาถ้วนตน” อธิบายลักษณะอาวธุ จากบทประพันธด์ งั กล่าววา่ มอี ะไรบา้ ง
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๕ “เมอ่ื นน้ั จงึ พระจักรี พอพระสรุ ิย์ศรี
อรณุ เรืองเมฆา” อธบิ ายลักษณะตัวละครและเวลา จากบทประพนั ธด์ ังกลา่ ว
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๖ “บรรดาโยธาจตั ุรงค์ เปลย่ี นแปลงกายคง
เป็นเทพไทเทวัญ” จากบทประพันธ์ดงั กล่าว โยธาจตั ุรงคห์ มายถงึ อะไร แลว้ เหตุใดต้องเปลีย่ นแปลงกาย
___________________________________________________________________________________
ขอ้ ๗ “ผงึ้ ภู่หมูค่ ณาเหมหงส์ รอ่ นราถาลง
แทรกไซรใ้ นสร้อยสมุ าลี
ดุเหว่าเรา้ เร่งพระสุริย์ศรี ไก่ขนั ปีกตี
กกู่ ้องในท้องดงดาน” จากบทประพันธด์ ังกล่าว ปรากฏสัตว์ก่ีชนิด อะไรบ้าง
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๘ “เหตไุ ฉนสหสั นยั นเ์ สด็จดล สมรภูมไิ พรสณฑ์
เธอมาดว้ ยกลอันใด” จากบทประพนั ธ์ เหตุใดพระลกั ษมณจ์ งึ สงสัยแล้วถามสุครีพเชน่ นัน้ จงอธบิ ายอย่างละเอียด
___________________________________________________________________________________
ข้อ ๙ “ใหอ้ งคอ์ นชุ านารายณ์ เคลิบเคลม้ิ วรกาย
จะแผลงซ่งึ ศสั ตรศรพล” องค์อนุชานารายณ์ หมายถงึ ใคร__________________________________
ข้อ ๑๐ “อากาศกอ้ งโกลาหล โลกล่นั อึงอล
อำนาจสะท้อนธรณี” จากบทประพนั ธ์ เกดิ เหตุการณ์ใดข้ึน อธิบายอยา่ งละเอยี ด
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๒
คุณคา่ จากบทพากยเ์ อราวณั
แก่นเรื่อง
การพิจารณาสงิ่ ต่าง ๆ จะต้องมีสติ อย่าหลงเชอื่ อะไรงา่ ย ๆ เพราะความงดงามชวนหลงใหลน้นั มักจะ
แฝงมากับพิษภัย เช่นเดียวกับการทีอ่ ินทรชิตปลอมแปลงกายเปน็ พระอินทรจ์ นทาใหพ้ ระลักษณเ์ คลิบเคลิม้
หลงใหลจนต้องศรพรหมาสตร์
คณุ ค่าด้านเนื้อหา
วรรณคดีเร่อื งนี้แมไ้ มเ่ ด่นดา้ นเน้ือเรอื่ ง แต่กท็ รงคณุ คา่ ในประวตั คิ วามเป็นมา ทาใหเ้ หน็ ได้ว่ามีการสานต่อ
วรรณคดีเรอ่ื งนี้ในฐานะทเ่ี ปน็ ราชูปโภคของกษัตริย์กษตั ริยไ์ ทยทรงใช้วรรณคดีในการสร้างเอกลักษณ์ความเป็นชาติ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
– กลวธิ ีด้านการประพันธ์
• การใชส้ ัมผสั สระ เช่น
ผง้ึ ภู่หมคู่ ณาเหมหงส์ ร่อนราถาลง
แทรกไซใ้ นสร้อยสุมาลี
• การใช้สัมผัสอกั ษร เชน่
เดือนดาวดบั เศร้าแสงใส สร่างแสงอโณทัย
ก็ผ่านพยบั รองเรือง
– การใช้โวหารภาพพจน์
• ........................... เช่น
มีวมิ านแก้วงามบวร ทกุ เกศกญุ ชร
ดังเวไชยนั ตอ์ ัมรนิ ทร์
• .......................... เช่น
เสียงพลโหร่ อ้ งเอาชัย เลื่อนลน่ั สนัน่ ใน
พภิ พเพียงทาลาย
• .......................... เช่น
สตั ภัณฑบ์ รรพตท้ังหลาย ออ่ นเอยี งเพยี งปลาย
ประนอมประนมชมชัย
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ บทพากยเ์ อราวณั หนา้ ๑๓
คณุ ค่าด้านสังคม
๑) ความเช่ือในเร่ือง.......................................
เพราะเนื้อหาและเรอื่ งราวลว้ นมีความเก่ียวข้องกบั พระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระอินทร์
๒) ความเชอื่ ในเร่อื ง........................................
ได้สะท้อนให้เห็นความเชือ่ บางประการท่ีมีความเก่ยี วโยงกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เช่น เม่อื กองทพั ของ
พระลักษณ์พร้อมทจี่ ะสูร้ บกับกองทัพของอินทรชติ ได้มีการเป่าและสงั ข์ พร้อมกับท่ีทหารหาญโห่ร้องเอาชยั
๓) อาวุธในการทาศกึ สงคราม
สว่ นใหญ่เป็นอาวุธของฝ่ายทัพอินทรชติ ดงั คาประพันธท์ ี่วา่
ล้วนถืออาวธุ เกรียงไกร โตมรศรชยั
พระขรรค์คทาถ้วนตน
๔) สตั ว์ปา่ ในหิมพานต์
เมื่อกลา่ วถึงการเคลอ่ื นทัพของพระราม กวีได้พรรณนาความถึงแสนยานภุ าพท่ียงิ่ ใหญ่ แม้แตส่ ัตวต์ า่ ง ๆ
ในปา่ หมิ พานต์กต็ น่ื ตกใจในอานาจของกองทัพสตั ว์ท่ีกลา่ วถึง เช่น ลูกครฑุ ที่อาศัยอยใู่ นรงั ไมง้ ้วิ และนกหสั ดีลิงค์
๕) ความเช่ือเก่ียวกับชา้ งเอราวณั
ข้อคดิ จากบทพากยเ์ อราวณั
๑) การตง้ั ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น
๒) การให้อานาจแกบ่ คุ คลใดควรไตรต่ รองใหด้ ี
๓) การมอี านาจควรใช้ไปในทางทีถ่ กู ต้อง
๔) การใช้ชีวิตอยา่ งมสี ติ
๕) สงครามคือความสูญเสยี
...การอา่ นวรรณคดีเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของทุกสงิ่ ในชีวติ …