The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by admin, 2021-11-04 04:20:57

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565

โรงเรียนบ้านทา่ เรอื อาเภอถลาง จงั หวัดภูเก็ต
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภเู กต็



บันทกึ การใหค้ วามเห็นชอบ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๕
ของโรงเรยี นบ้านท่าเรอื

.....................................................................................................

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านท่าเรือ ในการประชุม คร้ังที่ ๒/256๔

เม่ือวันที่ ๔ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 256๔ มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕
ทส่ี อดคลอ้ งกับแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านท่าเรอื ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) เพ่อื ให้ใช้
เป็นกรอบแนวทางและเครื่องมือในการบรหิ ารจัดการงบประมาณ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนพัฒนา

คุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านท่าเรอื ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๕) ดังนี้

1. เหน็ ชอบในการกาหนดสดั สว่ นงบประมาณ

งบสนบั สนนุ อปท.และกองทนุ ฯ จานวน ๙๒๐,๕๗๘.๔๗ บาท

งบกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น จานวน ๑๘๔,๖๑๕ บาท

งบพฒั นาตามกลยทุ ธ์ จานวน 401,501.36 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖๐

งบดาเนนิ งาน จานวน 200,750.68 บาท คดิ เป็นร้อยละ ๓0

งบสารองจา่ ย จานวน 66,916.9๐ บาท คดิ เป็นร้อยละ ๑0

งบประมาณทง้ั ส้ิน จานวน ๑,๗๗๔,๓๖๒.๔๑ บาท

2. เหน็ ชอบให้ดาเนนิ การตามแผนปฏบิ ัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕ ได้

(นายสมเกยี รติ ทนนา้ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

โรงเรียนบ้านท่าเรือ

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ I ก

คานา

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของโรงเรียนบ้านท่าเรือ จัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็น
กรอบและแนวทางการจัดการศึกษาใหม้ คี วามสอดคลอ้ งเช่อื มโยงกับวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ และ
แนวทางในการดาเนินงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยทบทวนงาน โครงการและผลการดาเนินงาน
ความสาเร็จ จุดอ่อน จุดแข็ง นอกจากน้ันยังคานึงถึงความเช่ือมโยงกับนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษา
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการและนโยบาย และจุดเน้นของสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน นอกจากนั้นยงั คานงึ ถงึ ภารกิจหลกั ทจี่ ะต้องเรง่ ดาเนินการเพอ่ื ให้เป็นไปตาม
เจตนารมณ์ของพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ ท่ีมงุ่ เน้น
สาระสาคัญของคุณภาพและความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อให้การพัฒนาการศึกษาของชาติเป็นไปเพื่อ
พฒั นาคุณภาพคนไทยและสังคมไทยอย่างยั่งยืน

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เล่มน้ีเกดิ จากการระดมความคดิ เห็นของทุกกลุ่ม
งานและบุคลากรภายใต้การให้คาแนะนาของผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเรือ คาดหวังว่าแผนปฏิบัติการ
ประจาปี เล่มนจ้ี ะนาไปสูก่ ารพฒั นาการศกึ ษาของโรงเรยี นบา้ นทา่ เรอื อย่างเป็นรปู ธรรมยิ่งข้นึ

คณะผจู้ ดั ทา

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ I ข

สารบัญ

บันทึกการขอความเหน็ ชอบการใช้แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนบา้ นท่าเรือ หนา้
คานา ก

สารบัญ ค
ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มลู พืน้ ฐาน ๑
1
ข้อมูลทั่วไป 1
5
ขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ าร ๖
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของโรงเรียน ๖
ขอ้ มลู อาคารสถานที่ ๗

ข้อมูลนักเรียน ๑๑
ข้อมลู ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษาปกี ารศึกษา 256๓
ผลการทดสอบระดบั ชาติของผเู้ รยี น ๑๒
๑๗
โครงสร้างหลักสตู ร ๑๘
ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสานกั งานการประเมนิ มาตรฐาน ๑๙
การศึกษาแหง่ ชาติ สมศ.รอบ ๔ ๒๐
๒๑
ส่วนที่ 2 การวิเคราะหส์ ภาพองคก์ ร ๒๒
การวิเคราะหป์ จั จยั ภายนอก ๒๒
การวเิ คราะหป์ จั จัยภายใน ๒๓
๒8
ผลการประเมินสภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษา ๔๒
สรปุ ผลการศึกษาสถานภาพ ๔1
สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๔๓
๔๔
นโยบายทศิ ทางการพฒั นาของโรงเรยี นบ้านท่าเรอื ๔๖
การวเิ คราะห์ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์และตัวชีว้ ัดของสถานศึกษา 5๑
กรอบกลยทุ ธส์ กู่ ารปฏิบตั ริ ะยะ ๓ ปี ๕๗
6๒
ส่วนที่ 4 ประมาณการรายรับ- จา่ ยของสถานศกึ ษา ๖๗
ประมาณการรายรบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 256๕ 7๒
แผนการใช้จา่ ย ปงี บประมาณ พ.ศ. 256๕ ๗๘
8๓
สว่ นท่ี 5 รายละเอียดของโครงการ/กิจกรรมและความสอดคลอ้ ง
โครงการเดก็ ดมี คี ณุ ธรรม
โครงการหนูนอ้ ยวยั ใสใส่ใจสขุ ภาพ

โครงการหนนู อ้ ยอารมณส์ ุนทรีย์ กับศลิ ปะ ดนตรี การเคลอ่ื นไหว
โครงการแสวงหาความรู้พฒั นาทกั ษะการคิด
โครงการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

โครงการสง่ เสรมิ นิสยั รักการอา่ น
โครงการพฒั นาศักยภาพผ้เู รียนสคู่ วามเป็นเลิศ
โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นตามความสนใจและถนดั

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ I ค

สารบญั (ตอ่ ) หนา้

โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา ๘๗
โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 9๓
โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ
โครงการจัดสภาพแวดล้อมแหลง่ เรยี นรู้คคู่ วามปลอดภัย ๙๗
โครงการพัฒนาศกั ยภาพครสู ู่ Smart Teacher 10๑
โครงการเสรมิ สร้างศกั ยภาพผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ๑๐๖
โครงการอาหารกลางวนั ภายในสถานศึกษา
โครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ๑1๓
โครงการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศการสอื่ สารทางการศกึ ษา ๑1๗
โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและสุนทรยี ภาพนักเรยี นประถมศกึ ษา ๑๒๒
โครงการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมนกั เรียน
โครงการศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน ๑2๖
โครงการนอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรชั กาลที่ สู่ทักษะงานอาชพี ๑3๑
โครงการเยาวชน-รักษ์พงไพร ๑3๗
โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโดยการมีสว่ นรว่ ม
โครงการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการงานการเงนิ บญั ชีและพสั ดุ ๑4๖
สว่ นท่ี ๖ การกากับ ตดิ ตามและรายงานผล ๑๕๐
การกากบั ติดตามและรายงานผล ๑5๔
ตรวจสอบและการประเมนิ ผล
ภาคผนวก ๑๕๙
คาส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑6๓
๑6๖

๑6๖
๑6๖



แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ I ค

สว่ นท่ี ๑
ขอ้ มูลพนื้ ฐาน

1. ข้อมลู ทวั่ ไป
1.1 ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านท่าเรือ ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 3 ถนนเทพกระษัตรี ตาบลศรีสุนทร

อ า เภ อ ถ ล า ง จั ง ห วั ด ภู เก็ ต ร หั ส ไป ร ษ ณี ย์ 8 3 1 1 0 โท ร ศั พ ท์ 0 7 6 -6 1 7 0 7 3
E-mail : [email protected] Website : www.bantarua.ac.th

1.2 เปิดสอนตั้งแตร่ ะดับช้ัน อนุบาลปีท่ี ๒ ถึงระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
1.3 มเี ขตพนื้ ที่บริการ 1 หมบู่ ้าน ได้แก่ หม่ทู ี่ 3 ตาบลศรีสนุ ทร อาเภอถลาง จังหวดั ภเู ก็ต

2. ข้อมูลดา้ นการบริหาร

2.1 ประวตั โิ ดยย่อของโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านท่าเรือ ต้ังอยู่ หมู่ที่ ๓ ถนนเทพกระษัตรี ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัด
ภูเกต็ มเี น้ือท่ี ๖ ไร่ ๘๐ ตารางวา ของกรมราชพัสดุ โรงเรียนน้ี เดมิ ชื่อ “โรงเรียนวดั ทา่ เรือ ” เร่มิ เปิด
สอนวันท่ี ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๒ อาศัยศาลาวัด เป็นสถานที่เรียน แต่เดิมเป็นโรงเรียนรัฐบาล
คร้ันต่อมา เม่ือเดือน พฤษภาคม ร.ศ.๑๒๙ ได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนราษฎรบารุง มีสามเณรแตวเป็นครู
ราษฎรตาบลทา่ เรอื ไดอ้ อกเงนิ บารุงโรงเรยี น เปน็ เงินเดือนครู เดือนละ ๑๕ บาท
คณะกรรมการผูอ้ ปุ การะโรงเรยี นนี้ คือ

๑. พระยาน เจา้ อธิการวดั ทา่ เรือ
๒. พนั น่วม ชชู าติ
๓. นายหดี ทา่ เรอื รกั ษา
โรงเรียนนี้ ต้องอาศัยโรงธรรมศาลาของวัดท่าเรือ จนเม่ือ พ.ศ.๒๔๙๖ ราษฎรในตาบลท่าเรือ
ประกอบด้วย นายประดษิ ฐ์ จดั สรา้ ง ผู้ใหญ่บ้าน, นายเพียร วัยวฒุ ิ ครูใหญ่, นายประวิทย์ ปิยสมบูรณ์,
นายเพชรบุรี คานวณกิจ, ร.ต.ต.มิตร ภิรมย์ฤทธิ์, นายเจ้ียม ตัณฑวณิช, นายอิวเกียด แซ่อ๋อง, นายเฟ่ือง
สวุ ินยา, นายประสงค์ เอ่ียวสกุล, นายอทุ ัย ทองมี, นายอยู่หงวน นิรตั ิศัย, นายสงัด มณีศรี, นายชวน
สุวรรณกุล, นายธวชั กาญจนเมธากุล เป็นผู้ดาเนินการจดั หาทุนสร้างโรงเรียนจนเปน็ ผลสาเร็จในท่ีดินราช
พัสดุ โดยสร้างอาคารเรียน แบบ ป ๑ เป็นเงิน ๒๕,๘๖๐ บาท ทางราชการสมทบ ๔๐,๕๐๐ บาท
เปิดอาคารเรยี นเมื่อ วนั จันทรท์ ี่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ และทาพิธีเปดิ ป้ายช่อื โรงเรียนเปน็ “ โรงเรยี น
บ้านท่าเรือ ” ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๙ โดยนายมงคล สภาพงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต
เปดิ ทาการสอนตั้งแตช่ ้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
พ.ศ.๒๕๐๔ ได้เปิดขยายชนั้ เรยี นตามคาส่ังกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นถงึ ช้นั
ประถมศกึ ษาตอนปลาย คือ ป.๑ - ป.๗
พ.ศ.๒๕๐๖ นายแจง้ ชัยรัตน์ ไดเ้ ปน็ ครูใหญ่แทนนายเพยี ร วยั วฒุ ิ ซง่ึ ย้ายไปดารงตาแหนง่
ครใู หญโ่ รงเรยี นวดั พระนางสรา้ ง
พ.ศ. ๒๕๐๘ นายไตรรตั น์ พุทธปิ ลิ ันธน์ ไดย้ า้ ยมาเป็นครูใหญแ่ ทน นายแจง้ ชยั รัตน์ ซง่ึ ลาออก
จากราชการ
พ.ศ.๒๕๐๙ ไดส้ ร้างอาคารเรยี น แบบ ๐๒๔ จานวน ๓ ห้องเรยี น ๑ หลงั เป็นเงนิ ๒๕,๐๐๐ บาท
พ.ศ.๒๕๑๐ ได้สรา้ งอาคารเรียน แบบ ๐๐๔ จานวน ๖ หอ้ งเรยี น ๑ หลัง

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 1

พ.ศ.๒๕๑๓ นายไตรรตั น์ พุทธิปิลันธ์ ได้รับแต่งต้ังไปช่วยราชการในตาแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าส่วน
การศึกษา ( ๓๐ มี.ค. ๑๓ ) นายประหยัด แสงรุ้ง ครูในโรงเรียนนี้ได้รับการแต่งตั้ง ให้รักษาการใน
ตาแหน่งครูใหญ่

พ.ศ. ๒๕๑๔ นายบุญเลิศ จิตธรรมาภิรมย์ ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งครูใหญ่ แทนนายไตรรัตน์
พุทธิปิลันธ์ ไดต้ ่อเติมอาคารเรียน แบบ ๐๐๔ อกี ๒ ห้องเรียน เป็นเงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท เปิดใช้วนั ที่
๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๑๔

พ.ศ. ๒๕๒๐ นายบุญเลิศ จิตธรรมาภิรมย์ ย้ายไปดารงตาแหน่ง ครูใหญ่โรงเรียนวัดเชิงทะเล
นายสมพงษ์ ชื่นจิตต์ ย้ายมาดารงครูใหญ่แทน ในวันท่ี ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ มีนักเรียนทั้งหมด
๓๐๓ คน ครู ๒๔ คน

พ.ศ.๒๕๒๕ นายสมพงษ์ ชน่ื จติ ต์ ยา้ ยไปดารงตาแหน่งครูใหญ่โรงเรยี นวัดเมอื งใหม่ นายบรรเจิด
ประทีป ณ ถลาง อาจารย์ใหญ่โรงเรยี นวัดมงคลวราราม ยา้ ยมาดารงตาแหน่งอาจารยใ์ หญ่แทน เมื่อวนั ท่ี
๑๕ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๒๕

พ.ศ. ๒๕๓๐ นายบรรเจิด ประทีป ณ ถลาง ย้ายไปดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้าน
พรุจาปา นายสวัสดิ์ ชุมรกั ษ์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านม่าหนิก ย้ายมาดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่แทน
(๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๐)

พ.ศ. ๒๕๓๕ นายสวสั ดิ์ ชุมรักษ์ ยา้ ยไปดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญโ่ รงเรียนบ้านสาคู
นายสมพงศ์ สิทธิไชย อาจารยใ์ หญโ่ รงเรียนบ้านสาคู ย้ายมาดารงตาแหนง่ อาจารย์ใหญ่แทน เมอ่ื วนั ท่ี ๖
ตุลาคม ๒๕๓๕

พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ๑๐๕/๒๙ จานวน ๔ ห้องเรียน ๑
หลัง และไดร้ ับเงนิ บรจิ าคตอ่ เตมิ ชนั้ ลา่ ง จากคุณครรชติ – คณุ เบญจวรรณ ตัมพานุวัตร จานวน ๔ หอ้ งเรียน
เป็นเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท

พ.ศ. ๒๕๔๒ นายสมพงศ์ สิทธไิ ชย ลาออกจากราชการ ไปเป็นผู้จดั การสหกรณ์ออมทรพั ยค์ รูภเู ก็ต
นายคานึง นิลวรรณ อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนบา้ นลพิ อน ย้ายมาดารงตาแหน่งแทน

พ.ศ. ๒๕๔๒ โรงเรียนบ้านท่าเรือ ได้รับคัดเลือกให้เป็นศูนย์พัฒนากิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ
สานกั งานการประถมศึกษาจงั หวัดภูเกต็ ตามหนังสอื สานกั งานการประถมศกึ ษาจังหวดั ภูเก็ตท่ี ศธ ๑๑๔๕๐๓/
๒๓๗๓ ลงวันที่ ๔ ตลุ าคม ๒๕๔๒ เร่อื ง การจดั ต้งั ศนู ย์พัฒนากิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน

พ.ศ. ๒๕๔๓ นายคานึง นิลวรรณ ลาออกจากราชการ นายเริงฤทธิ์ ประทุม อาจารย์ใหญ่
โรงเรียนบา้ นกมลา สปอ.กะทู้ ยา้ ยมาดารงตาแหนง่ อาจารยใ์ หญแ่ ทนเมอื่ วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๓

พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้ปรับปรุงระบบน้าประปาโดยซ่อมแซมถังน้า ปรับปรุงสนามเด็กเล่น จัดทาประตู
เหล็กอาคารเรียน ๑๐๕/๒๙ โดยใช้เงินศิษย์เก่าโรงเรียนบ้านท่าเรือ ที่ได้จากการจัดงานศิษย์เก่าท่าเรือ
ปี ๒๐๐๐

พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้ปรับปรุงสนามฟตุ บอลโรงเรียนโดยถมทรายยกระดับพื้นท่ีให้สูงข้ึน ก่อสรา้ งเสาธง
ชาติ เป็นเงนิ ๓๐,๐๐๐ บาท โดยนายบญุ โชค ตนั ทวานชิ

พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้ปรับปรุงปูตัวหนอนหนา้ อาคารเรยี น แบบ สปช ๑๐๕/๒๙ โดยผู้ปกครองนกั เรียน
ช้ันอนุบาลบริจาค

พ.ศ. ๒๕๔๕ รับงบประมาณจาก อบจ.ภูเก็ต ปรับปรุงสนามฟุตบอล เป็นเงิน ๑๑๒,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๔๕ จดั งานครบรอบ ๙๐ ปโี รงเรียนบ้านท่าเรือ ได้เงนิ ๑๖๑,๙๖๕.๐๐ บาท

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 2

พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รบั งบประมาณจากอบจ.ภูเก็ต ปรับปรุงห้องสมดุ โรงเรียน เป็นเงิน ๕๙,๐๐๐ บาท
และคอมพิวเตอร์ เพ่อื การเรียนการสอน จานวน ๑๐ เคร่อื ง

พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้รับงบประมาณจาก อบจ.ภูเก็ต ปรบั ปรุงห้องส้วม จานวน ๕๕,๐๐๐ บาท ปรับปรุง
ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา ๑๒๐,๐๐๐ บาท และกอ่ สร้างโรงอาหารอเนกประสงค์ เปน็ เงนิ ๑,๗๙๙,๐๐๐ บาท

พ.ศ. ๒๕๕๐ นายเริงฤทธิ์ ประทุม ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเรือ ย้ายไปดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเชิงทะเล สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาภูเก็ต นายภูวัชร กิ่งทอง ผู้อานวยการ
โรงเรียนบ้านม่าหนิก สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาภูเก็ต ย้ายมาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้าน
ท่าเรือ แทน เมอื่ วนั ที่ ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๐

พ.ศ. ๒๕๕๐ โรงเรียนบ้านท่าเรือ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนาห้องสมุดมีชีวิต
จากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาภูเก็ต ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนา ต้นแบบห้องสมุดมีชีวิต
จาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

พ.ศ. ๒๕๕๓ โรงเรียนบ้านท่าเรือ ได้รับการคัดเลือก จาก สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาภูเก็ต
ให้เข้าร่วมโครงการ “พัฒนาห้องสมุดมีชีวิตต้นแบบในโรงเรียนเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ๕๕ พรรษา สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ประจาปี ๒๕๕๓ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐานร่วมกับสานักงานอุทยานการเรียนรู้ สานกั งานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) และ
ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ การพัฒนาห้องสมุด ๑๐๐,๐๐๐ บาทและงบประมาณการจัดซื้อหนังสือ
๑๐๐,๐๐๐ บาท

พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดร้ ับงบประมาณในการพฒั นาหอ้ งสมุด จากหลวงป่สู ภุ า วัดสริ สิ ลี สุภาราม อาเภอเมือง
จังหวัดภูเก็ต เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และ ได้รับงบประมาณในการพัฒนาห้องสมุด จาก พระวิสุทธิ
ธรรมคณี (สมใจ ชินปุตโต) เจา้ อาวาสวัดทา่ เรือและเจ้าคณะจังหวดั ภูเก็ต รว่ มกับชุมชนบ้านทา่ เรือในการจัด
งานทอดผา้ ปา่ เป็นเงนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท

พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รบั มอบ “มุมหนังสือ ธปท.” จากธนาคารแห่งประเทศไทย เพ่อื สง่ เสรมิ นิสัยรักการ
อา่ น เมอ่ื วนั ที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๓

พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดร้ ับโล่รางวัล โรงเรียนวถิ ีพุทธช้ันนา รุ่นที่ ๑ จาก มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลยั เม่ือวนั ที่ ๑๖ กนั ยายน ๒๕๕๓

วันที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ นางสาวสมจิต ธัญประสาท ผู้อานวยการโรงเรยี นเกาะมะพร้าว
ยา้ ยมาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเรือ แทนนายภูวัชร กิ่งทอง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้าน
ทา่ เรือ ท่ยี า้ ยไปดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นบางเทา

พ.ศ.๒๕๕๖ ได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน ๐๐๔ /๘ ห้องเรียน จากองค์การบริหารส่วน
จงั หวัดภูเก็ต จานวนเงนิ ๘๗๕,๐๐๐.- บาท

พ.ศ.๒๕๕๖ โรงเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ในการประกวดโครงการ Read Thailand
ระดับประเทศ

พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียนแบบ ๑๐๕/๒๙ จากสานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน จานวน ๗๓๘,๑๐๐.- บาท

พ.ศ. ๒๕๕๗ ไดร้ ับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน/อาคารประกอบ จากสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ตามโครงการโรงเรียนดศี รีตาบล จานวน ๒๐๘,๐๐๐.- บาท

พ.ศ.๒๕๕๘ กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ได้มอบห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ๖๐
พรรษา สมเด็จพระเทพฯ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 3

พ.ศ.๒๕๕๘ ได้รับจัดสรรสร้างอาคารเรียนแบบ ๑๐๔/๒๖ ๓ ห้องเรียนใต้ถุนโล่ง งบประมาณ
๑,๙๐๐,๐๐๐.- บาท จากสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ตามโครงการโรงเรยี นดีศรีตาบล

พ.ศ. ๒๕๕๙ ไดร้ ับจดั สรรงบประมาณซอ่ มแซมบ้านพักครู จากสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้
พืน้ ฐาน จานวน ๒๐๐,๐๐๐- บาท

พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับจัดสรรงบประมาณติดต้งั ปรับปรุงซ่อมแซมและขยายเขตระบบไฟฟ้าในโรงเรียน
จากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จานวน ๔๓๘,๔๐๐.- บาท

พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับจัดสรรงบประมาณติดตั้งปรับปรุงอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและนอกอาคาร
โรงเรียน จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน จานวน ๔๖๓,๐๐๐- บาท

พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับจัดสรรงบประมาณซ่อมแซมอาคารประกอบ(โรงอาหาร) จากสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน จานวน ๕๙๙,๐๐๐- บาท

พ.ศ. ๒๕๖๒ วนั ที่ ๑ มีนาคม ว่าทีร่ ้อยตรีวชิรพันธ์ุ บญุ ณมี รองผู้อานวยการโรงเรยี นอนบุ าลภเู ก็ต
ไดร้ ับการบรรจุแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นท่าเรอื แทนนางสาวสมจติ ธัญประสาท
ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นท่าเรือ ที่เกษยี ณอายรุ าชการ

พ.ศ. ๒๕๖3 ได้รบั จดั สรรงบประมาณงบลงทนุ คา่ ครภุ ณั ฑโ์ ต๊ะเกา้ อ้นี กั เรยี นประถม จานวน 55 ชดุ
จากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน จานวน 86,900.- บาท

พ.ศ. ๒๕๖3 ได้รบั จดั สรรงบประมาณรายการครภุ ัณฑ์คอมพวิ เตอรพ์ รอ้ มอปุ กรณส์ าหรบั การเรียน
การสอนรปู แบบ iC2 Type 1 จานวน 11 เคร่ือง จากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
จานวน 260,9๐๐- บาท

พ.ศ. ๒๕๖3 ได้รับจัดสรรงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป1 ก จากสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน จานวน 115,000.- บาท

พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้รบั จัดสรรงบประมาณกอ่ สร้าง สว้ มนกั เรียนหญงิ 4 ที่/49 จานวน ๔ ที่นง่ั จาก
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน จานวน ๓๘๕,๐๐๐- บาท

๒.๒ คาขวญั ของโรงเรียน
มวี นิ ยั ใฝศ่ กึ ษา อนามยั ดี มคี ุณธรรม

๒.๓ ปรชั ญา
มีระเบียบวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ กตัญญู

๒.๔ เอกลกั ษณ์
โรงเรยี นรักการอ่าน ผสานคุณธรรม

๒.๕ อัตลักษณ์
พดู เพราะ ไหวส้ วย กราบงาม

๒.๖ ตราสญั ลกั ษณ์ประจาโรงเรียน

๒.๗ สปี ระจาโรงเรียน สแี ดงเลอื ดหมู – ดา

สแี ดงเลอื ดหมู หมายถึง พลงั ของคุณธรรม ความรู้
สดี า หมายถงึ ความหนกั แนน่ เขม้ แข็ง อดทน เสยี สละ อทุ ศิ ตนเพอื่ สว่ นรวม

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 4

๓. โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรียนบ้านทา่ เรอื

คณะกรรมกำรท่ปี รกึ ษำ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี น คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขนั้ พนื้ ฐำน

(วา่ ท่รี .ต.วชิรพันธุ์ บุญณมี)

กลมุ่ บริหารงานวิชาการ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล กลุ่มบริหารงานงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานทวั ่ ไป
(น.ส.จริ าภรณ์ อนิ ทยอด) (น.ส.กฤตยพร สกลุ จนั ทร)์ (นางพรศรี คลายสวุ รรณ) (นายอนุศกั ดิ ์ วงศม์ สู า )

ประกอบด้วยภาระหน้าที่ ๑๗ ขอ้ ประกอบด้วยภาระหนา้ ที่ ๒๐ ขอ้ ประกอบด้วยภาระหนา้ ที่ ๒๒ ข้อ ประกอบด้วยภาระหน้าท่ี ๒๑ ข้อ
๑. การพัฒนาหรอื ดาเนนิ การ ๑. การจัดวางแผนอตั รากาลัง
ดาเนินการเก่ียวกบั การใหค้ วามเหน็ ๒. การจดั สรรอตั รากาลังขา้ ราชการครู ๑. การจัดทาแผนงบประมาณและคาขอตัง้ ๑. การพัฒนาระบบและเครือขา่ ยข้อมูล
การพฒั นาสาระหลกั สูตรทอ้ งถน่ิ และบุคลากรทางการศึกษา
๒. การวางแผนดา้ นวชิ าการ ๓. การสรรหาและบรรจแุ ต่งตั้ง งบประมาณเพือ่ เสนอต่อปลัดกระทรวง สารสนเทศ
๓. การจดั การเรียนการสอน ๔. การเปลี่ยนตาแหนง่ ให้สูงขน้ึ การยา้ ย
๔. การพฒั นาหลักสูตรของ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ศกึ ษาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒. การประสานงานและพัฒนาเครอื ข่าย
สถานศกึ ษา ๕. การดาเนนิ การเกีย่ วกับการเล่อื นข้นั
๕. การพัฒนาการเรยี นรู้ เงินเดอื น แลว้ แตก่ รณี การศกึ ษา
๖. การวดั ผล ประเมนิ ผล และ ๖. การลาทกุ ประเภท
ดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น ๗. การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ๒. การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารใชจ้ า่ ยเงนิ ตามท่ีได้ ๓. การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
๗. การวจิ ัยเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพ ๘. การดาเนนิ การทางวนิ ัยและการ
การศึกษาในสถานศกึ ษา ลงโทษ จัดสรรงบประมาณจากสานกั งานคณะกรรมการ ๔. งานวิจยั เพ่อื พฒั นานโยบายและแผน
๘. การพัฒนาและสง่ เสริมใหม้ ี ๙. การสง่ั พกั ราชการและการสงั่ ใหอ้ อก
แหล่งเรียนรู้ จากราชการ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานโดยตรง ๕. การจัดระบบการบรหิ ารและพฒั นา
๙. การนเิ ทศการศึกษา ๑๐. การรายงานการดาเนนิ การทางวนิ ยั
๑๐. การแนะแนว และการลงโทษ ๓. การอนมุ ตั ิการใช้จ่ายงบประมาณท่ีได้จดั สรร องคก์ ร
๑๑. การพัฒนาระบบการประกนั ๑๑. การอุทธรณ์และการรอ้ งทุกข์
คณุ ภาพภายในและมาตรฐาน ๑๒. การออกจากราชการ ๔. การขอโอนและการขอเปลย่ี นแปลง ๖. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
การศกึ ษา ๑๓. การจดั ระบบและการจดั ทาทะเบยี น
๑๒. การส่งเสรมิ ชมุ ชนใหม้ คี วาม ประวัติ งบประมาณ ๗. งานเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา
เข้มแข็งทางวิชาการ ๑๔. การจดั ทาบัญชรี ายชื่อและให้
๑๓. การประสานความร่วมมอื ใน ความเหน็ เกีย่ วกบั การเสนอขอ ๕. การรายงานผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ ๘. การดาเนนิ งานธรุ การ
การพัฒนาวิชาการกับสถานศกึ ษา พระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์
และองค์กรอนื่ ๑๕. การส่งเสรมิ การประเมินวิทยฐานะ ๖. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานปละ ๙. การดแู ลอาคารสถานทีแ่ ละ
๑๔. การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนงาน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
วชิ าการแก่ บุคคล ครองครัว ๑๖. การส่งเสรมิ และยกย่องเชดิ ชเู กียรติ รายงานการใช้งบประมาณ สภาพแวดลอ้ ม
องค์กร หนว่ ยงาน สถาน ๑๗. การส่งเสรมิ มาตรฐานวิชาชพี และจร
ประกอบการ และสถาบนั อนื่ ท่ีจัด รณยาบรรณวชิ าชีพ ๗. การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ ๑๐. การจดั ทาสามะโนผูเ้ รียน
การศึกษา ๑๘. การสง่ เสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรมและ
๑๕. การจดั ทาระเบยี บและแนว จรยิ ธรรมสาหรบั ข้าราชการครแู ละ ผลผลติ จากงบประมาณ ๑๑. การรบั นกั เรยี น
ปฏิบตั เิ กยี่ วกบั งานด้านวิชาการของ บคุ ลากรทางการศึกษา
สานศึกษา ๑๙. การรเิ รมิ่ ส่งเสรมิ การขอใบอนุญาต ๘. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ การศกึ ษา ๑๒. การเสนอความคิดเหน็ เกยี่ วกับเร่อื ง
๑๖. การคัดเลอื กหนงั สอื แบบเรยี น ๒๐. การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละ
เพ่อื ใช้ในสถานศึกษา บุคลากรทางการศกึ ษา การดาเนนิ การที่ ๙. การปฏบิ ัตงิ านอ่นื ใดตามทไี่ ด้รับมอบหมาย การจัดตัง้ ยุบรวมหรอื เลิกสถานศึกษา
๑๗. การพฒั นาและใชส้ ื่อ เก่ียวกับการบริหารงานบคุ คลใหเ้ ปน็ ไป
เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา ตามกฎหมายว่าดว้ ยการนัน้ เก่ียวกบั กองทุนเพื่อการศึกษา ๑๓. การประสานการจดั การศกึ ษาใน

๑๐. การบริหารจัดการทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา ระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย

๑๑. การวางแผนวสั ดุ ๑๔. การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา

๑๒. การกาหนกดรแู บบรายการ หรือ ๑๕. การทศั นศกึ ษา

คุณลกั ษณะเฉพาะของครภุ ัณฑ์ หรอื ส่ิงกอ่ สรา้ ง ๑๖. งานกิจการนักเรยี น

ทีใ่ ช้เงินงบประมาณเพ่ือเสนอต่อปลดั กระทรวง ๑๗. การประชาสมั พนั ธท์ างการศึกษา

ศึกษาธกิ ารหอื เลขาธิการคณะกรรมการ ๑๘. การส่งเสรมิ สนับสนนุ และประสาน

การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานแลว้ แต่กรณี การจัดการศึกษาของบคุ คล ชมุ ชน

๑๓. การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพ่อื องคก์ ร หนว่ ยงานและสถาบนั สงั คมอนื่ ท่ี

การจดั ทาและจัดหาพัสดุ จดั การศกึ ษา

๑๔. การจดั หาพัสดุ ๑๙. งานประสานราชการส่วนภมู ิภาคกบั

๑๕. การควบคมุ ดูแลบารงุ รกั ษาและจาหน่าย สว่ นท้องถน่ิ (ท)การรายงานผลการ

พัสดุ ปฏิบตั งิ าน

๑๖. การจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรพั ยส์ ิน ๒๐. การจดั ระบบการควบคมุ ภายใน

๑๗. การเบกิ เงนิ จากคลงั หน่วยงาน

๑๘. การรับเงนิ การเก็บรักษาเงนิ และการ ๒๑. แนวทางการจัดกจิ กรรมเพ่ือ

จา่ ยเงนิ ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมในการลงโทษ

๑๙. การนาเงนิ ส่งคลงั นกั เรียน

๒๐. การจดั ทาบัญชีการเงิน

๒๑. การจดั ทารายงานทางการเงินและงบ

การเงนิ

22.การจดั ทาหรือจดั หาแบบพิมพบ์ ัญชี ทะเบยี น

และราแยผงานน ปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 5

๔. ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี

ลาดบั ที่ แบบ จานวน งบประมาณ สร้างเมอ่ื สภาพอาคาร
อาคาร ๒๕,๘๖๐ พ.ศ. ดี พอใช้ ชารดุ

อาคารเรยี น 3,483,100 2499 ✓
1,900,000 2541 ✓
หลงั ที่ 1 ป๑ก 1 2558 ✓
๓๘๕,๐๐๐ 2521
หลงั ที่ ๒ สปช 105/29 1 ✓
๒๕๖๔
หลงั ที่ ๓ สปช 104/26 1 ✓

เอนกประสงค์

หลงั ที่ 1 สามัญ 1

ส้วม

หลงั ท่ี 1 สปช 601/26 1

หลงั ที่ 2 สปช 601/26 1

หลงั ที่ ๓ หญงิ 4/49 ๑

๕. ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา
๕.1 จานวนบคุ ลากร

บุคลากร ผู้บรหิ าร ข้าราชการครู ครอู ัตราจ้าง เจ้าหน้าที่ ครู รวมทัง้ หมด
๑ ธุรการ ทรงคุณค่า

จานวน 1 ๙ ๑ ๑ 1๓

๕.๒ วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ของบคุ ลากร

บุคลากร ตา่ กวา่ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมทง้ั หมด
ปริญญาตรี ๒ 0 1๓

จานวน 0 1๑

๖. ข้อมลู นักเรยี น
๖.๑ จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ช้นั ทีเ่ ปิดสอน ปีการศกึ ษา 256๔ (ข้อมลู ณ 10 มิ.ย.25๖๔)

ระดบั ชน้ั เพศ จานวนนกั เรียน จานวนหอ้ งเรยี น

อนบุ าล ๒ ชาย หญิง 5 1
อนุบาล ๓ 41 11 1
รวมระดบั ก่อนประถมศึกษา 74 16 2
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 11 5 30 1
ประถมศึกษาปที ่ี 2 20 10 30 1
ประถมศึกษาปีที่ 3 36 1
14 16
18 18

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 6

ระดับชัน้ เพศ จานวนนกั เรียน จานวนห้องเรียน

ประถมศึกษาปีท่ี 4 ชาย หญงิ 20 1
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 10 10 25 1
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 14 11 37 1
รวมระดบั ประถมศึกษา 18 19 178 6
94 84 194 8
รวมจานวนนกั เรียนทง้ั หมด 105 89

๖.๒ จานวนนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นท่าเรอื เปรยี บเทียบ ปกี ารศึกษา 25๖๒-256๔

ระดับการศึกษา ปกี ารศึกษา 25๖๔
25๖2 25๖3 5
อนุบาล ๒ 10 9 11
อนบุ าล ๓ 18 9 16
รวมระดบั ก่อนประถมศึกษา 30 18 30
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 42 37 30
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 31 45 36
ประถมศึกษาปที ่ี 3 25 45 20
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 38 26 25
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 24 36 37
ประถมศึกษาปีท่ี 6 26 22 178
รวมระดบั ประถมศึกษา 186 188 194
รวมทัง้ 2 ระดบั 214 206

๗. ข้อมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษาปกี ารศึกษา 256๓ (ข้อมลู 31 มนี าคม 256๔)
๗.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นปีการศกึ ษา 256๓ (จานวนนักเรียนปกติทมี่ ผี ลการเรยี นระดบั 3 ข้นึ ไป)

รายวชิ า(พ้นื ฐาน)

ระดบั
ช้ัน
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
สังคม ึศกษาฯ
ประ ัวติศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
สุขศึกษาฯ
ิศลปะ
การงานอาชีพฯ

ป.1 20 ๒๑ 2๓ 2๖ ๒๙ ๒๕ ๓๒ ๓๐ ๓๐
ป.2 ๒๔ ๒๖ ๓๒ 23 ๓๓ ๒๙ ๔๑ ๓๘ ๓๕
ป.3 ๑๕ 15 ๑๕ 1๗ ๑๙ ๑๒ ๒๒ ๑๘ ๒๑
ป.4 ๑๘ ๘ ๑๙ 12 ๑๗ ๑๘ ๒๖ ๒๓ ๒๓

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 7

รายวิชา(พนื้ ฐาน)

ระดบั
ช้ัน
ภาษาไทย
คณิตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
สังคม ึศกษาฯ
ประ ัว ิตศาสต ์ร
ภาษา ัองกฤษ
สุข ึศกษาฯ
ิศลปะ
การงานอา ีชพฯ

ป.5 ๒๙ 1๕ ๒๑ 2๕ ๒๔ ๒๑ ๓๖ ๓๖ ๓๖
ป.6 ๑๔ 15 ๑๔ 14 ๑๓ ๑๓ ๑๙ ๑๙ ๑๙
รอ้ ยละ ๖๘.๙๗ ๕๗.๔๘ ๑๒๖ ๗๒.๔๒ ๗๗.๕๙ ๗๒.๙๙ ๙๙.๔๓ ๙๔.๒๖ ๙๔.๒๖

๗.2 ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ดขี ้นึ ไป ปกี ารศึกษา 256๓

ระดบั ชนั้ จานวน ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน
นักเรยี น
0
ป.1 ๓๒ ๒๙ ๓ 0 ๑
0
ป.2 ๔๒ ๔๑ ๐ 0 0
0
ป.3 2๒ 2๒ ๐ 0 0

ป.4 ๒๓ ๒๓ 0 0 ๑

ป.5 ๓๖ ๓๖ 0 0 0.57

ป.6 ๑๙ ๑๙ 0 0

รวม ๑๗๔ ๑๗๐ ๓ ๐

รอ้ ยละ 100 97.70 1.72 0.00

๗.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ในระดับดีข้นึ ไป ปีการศึกษา 256๓

ระดบั ชั้น จานวน ดเี ยยี่ ม ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
นกั เรียน

ป.1 ๓2 ๒๑ 1 ๒ ๘

ป.2 ๔๒ ๑๒ ๑๖ 5 ๙

ป.3 2๒ ๙ ๗ ๖ ๐

ป.4 ๒๓ ๑๓ ๗ ๓ 0

ป.5 ๓๖ ๒๓ ๑๒ 1 0

ป.6 ๑๙ ๑๗ 2 0 0

รวม ๑๗๔ ๙๕ ๔๕ ๑๗ ๑๗
ร้อยละ 100 54.60 25.86 9.77 9.77

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 8

๗.๔ ผลการประเมนิ พัฒนาท่ี 4 ด้านการของเดก็ ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 256๓

พัฒนาการด้าน ระดบั ชัน้ จานวนเด็ก จานวน/รอ้ ยละของเด็กตามระดบั คณุ ภาพ
ท่ีประเมิน
ดี พอใช้ ปรับปรงุ

๑.ด้านรา่ งกาย อ.2 ๘ ๕๓0
อ.3 ๙
๙๐0

๒.ด้านอารมณ์-จิตใจ อ.2 ๘ ๘๐0
อ.3 ๙
๙๐0

๓.ดา้ นสงั คม อ.2 ๘ ๐๘0
อ.3 ๙
๙๐0

๔.ด้านสตปิ ญั ญา อ.2 ๘ ๐๘0
อ.3 ๙
๙๐0

รวม ๖๘ ๔๙ ๑๙ 0

ร้อยละของเดก็ ตามระดับคุณภาพ ๗๒.๑๐ ๒๗.๙๐ 0.00

๗.๕ รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละด้านในระดับ 3 ข้นึ ไป

ระดับช้ัน ผลการประเมินพัฒนาการนกั เรยี นด้าน ครบท้ัง 4 ดา้ น

อ.2 ร่างกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา ๑๖๒.๕๐
อ.3 จติ ใจ ๔00.00
รวม ๕๖๒.๕๐
ร้อยละ ๖๒.๕0 100.00 ๐ ๐ ๗๐.๓๑

100.00 100.00 100.00 100.00
๑๖๒.๕๐ ๒๐๐.๐๐ 100.00 100.00
๘1.๒๕ ๕๐.๐๐ ๕๐.๐๐
๑๐๐

๘. ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผู้เรียน

8.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ปกี ารศึกษา 256๓

ระดบั /รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี น 51.19 35.65 40.02 25.00
คะแนนเฉลี่ยระดับจงั หวดั 50.98 34.91 37.20 40.20
คะแนนเฉลย่ี สงั กัด สพฐ.ท้ังหมด 47.95 31.60 34.30 30.86
คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 49.07 32.90 35.55 34.42

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 9

การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 256๑ – 256๓

รายวชิ า ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 256๓
ภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ 62.09 51.19 57.38
คณติ ศาสตร์ 34.70 25.00 28.93
วทิ ยาศาสตร์ 48.40 35.95 52.80
44.34 40.02 36.96
รวมเฉล่ยี 47.38 38.04 ๔๔.๐๒

๘.2 ผลการประเมินทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปี
ที่ 3 ปกี ารศึกษา 256๓

ระดบั /รายวิชา ดา้ นภาษา ดา้ นคานวณ รวม
คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียน
คะแนนเฉล่ียระดบั จังหวัด 57.37 46.31 51.84
คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ.ทัง้ หมด 47.64 40.01 43.83
คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ 47.76 41.3 44.53
47.46 40.47 43.97

การเปรียบเทยี บผลการประเมินทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT)
ปกี ารศึกษา 256๑- 256๓

ความสามารถ ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา
2561 2562 256๓
ดา้ นภาษา ๕๕.๖๓ 48.45 57.37
ด้านคานวณ
ดา้ นเหตผุ ล ๕๖.๙๗ 55.17 46.31
๕๐.๕๘ - -

รวมความสามารถทั้ง 3 ด้าน ๕๔.๓๙ 51.81 51.84

แผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 10

๙. โครงสร้างหลักสูตร

โรงเรียนบ้านทา่ เรอื จดั การสอนตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยโรงเรยี น
ไดจ้ ดั สัดสว่ นสาระการเรยี นร้แู ละโครงสร้างเวลาเรยี นท่ีสอดคลอ้ งกบั นโยบาย ดงั แสดงในตารางต่อไปน้ี

กล่มุ สาระการเรยี นร้/ู กจิ กรรม ป.๑ ระดบั ประถมศึกษา ป.๖
ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕
รายวชิ าพื้นฐาน ๒๐๐ ๑๖๐
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณิตศาสตร์ ๘๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑2๐ ๑๒๐
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐
- ศาสนาศีลธรรม จรยิ ธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
- หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๔๐ ๘๐
- เศรษฐศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
- ภูมิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ ๑๒๐
ศลิ ปะ ๘๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๔๐
การงานอาชีพ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๘๐ -
รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) - ๘๐ ๘๐ - - ๔๐
รายวิชาเพิ่มเตมิ - 40
- ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร ๔๐ - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
- คอมพิวเตอร์
- ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร - - 40 40

- หน้าที่พลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

รวมรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๑๒o ๑๒o ๑๒o ๑๒o ๑๒o ๑๒o
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
- กิจกรรมแนะแนว ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
- ลกู เสือ/เนตรนารี
- กิจกรรมเพอื่ สังคมและ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
สาธารณประโยชน์ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐
- ชมรม/ชุมนมุ

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 11

๑๐. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสานักงานการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาแห่งชาติ สมศ.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ : ผลการประเมนิ SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – ๑๙

ระดบั การศึกษาขน้ั ปฐมวยั

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก จุดเน้น สง่ เสริมใหเ้ ด็กได้มพี ฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน

ผลการพจิ ารณา ตัวชี้วดั สรปุ ผลประเมนิ
 ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ )
 ๑. มกี ารระบเุ ปา้ หมายคณุ ภาพของเดก็  พอใช้ (๔ ขอ้ )

 ๒. มีการระบวุ ธิ พี ัฒนาคณุ ภาพของเด็กอยา่ งเป็นระบบ  ดี (๕ ข้อ)
ตามเปา้ หมายการพฒั นาเด็ก

 ๓. มพี ัฒนาการสมวยั ตามเป้าหมายการพฒั นาเด็กปฐมวัย

 ๔. มีการนาผลประเมินคุณภาพของเดก็ มาพฒั นาเดก็ ใหม้ ี
พัฒนาการสมวัย

 ๕. มกี ารนาเสนอผลการประเมินคุณภาพของเดก็ ตอ่ ผทู้ ่ี
เกี่ยวขอ้ ง

ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น ให้ได้ผลประเมินระดบั สูงขนึ้
สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมในด้านการระบุวิธีพัฒนาคุณภาพของเด็กว่า มี

กจิ กรรมอะไร ดาเนินการอย่างไรให้เห็นอย่างชัดเจนนอกเหนอื จากเพียงแค่รายงานชอ่ื โครงการเท่านั้น และ

การนาผลการประเมินคุณภาพเด็กควรแสดงวิธีการดาเนินงานให้เห็นอย่างชัดเจนว่าควรจัดทาโครงการหรือ
กิจกรรมอะไรบ้าง เช่น การให้เด็กกล้าแสดงออก อาจจะรายงานการจัดทากิจกรรมรายงานหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมฝกึ พูดหน้าเสาธง เปน็ ต้น

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ จดุ เนน้ ทุกภาคสว่ นมีสว่ นรว่ มในการบริหาร

ผลการพิจารณา ตวั ชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ
1. มกี ารวางแผนการดาเนินการในแตล่ ะปกี ารศึกษา  ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)
  พอใช้ (๔ ขอ้ )
 2. มกี ารนาแผนการดาเนินการไปใชด้ าเนนิ การ
 ดี (๕ ขอ้ )

3. มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธิข์ องการดาเนินการตามแผน

 4. มกี ารนาผลการประเมนิ ฯ ไปใชใ้ นการปรับปรงุ แกไ้ ข
ในปีการศกึ ษาต่อไป

 5. มกี ารนาเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
ให้แกผ่ ้มู สี ่วนไดเ้ สียได้รบั ทราบ

แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 12

ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดับสงู ข้ึน

สถานศึกษาควรมกี ารระบขุ อ้ มูลใน SAR เพมิ่ เติมดา้ นการบริหารและการจดั การ ควรแสดงการจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ รวมถึงวิธีการพัฒนาท่ีเห็นอย่างชัดเจน ด้วยการ
รายงานการจัดทาโครงการ/กิจกรรมตามยุทธศาสตร์ท่ีสถานศึกษากาหนด เช่น โครงการที่เก่ียวกบั การสร้าง
ความสัมพันธ์ชุมชนตามจดุ เน้น โครงการพัฒนาและประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โครงการพัฒนาบุคลากร
โครงการพฒั นาอาคารสถานที่ ทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั รวมถึงโครงการอ่นื ๆ ท่เี กยี่ วเนอื่ งกับ
การบรหิ ารจดั การ เปน็ ต้น

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสาคัญ

จุดเน้น ครจู ดั ประสบการณใ์ หเ้ ดก็ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง บรู ณาการผา่ นการเล่น

การพจิ ารณา ตวั ช้วี ัด สรุปผลประเมิน

๑. ครูมกี ารวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรรู้ ายปี  ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ )

ครบทกุ หนว่ ยการเรียนรู้ และทกุ ช้นั ปี  พอใช้ (๔ ข้อ)

๒. ครทู ุกคนมีการนาแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้  ดี (๕ ข้อ)

ไปใช้ในการจดั ประสบการณ์ โดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

สารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ทเี่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้

๓. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์

อยา่ งเป็นระบบ

 ๔. มกี ารนาผลการประเมินมาพฒั นาการจดั
ประสบการณ์ของครอู ย่างเป็นระบบ

 ๕. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั เพอ่ื
พฒั นาปรับปรงุ การจัดประสบการณ์

ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ ระดับสงู ขึ้น
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR อย่างชัดเจนในประเด็นด้านจุดเด่นและจุดควรพัฒนา พบว่า

สถานศึกษาใส่ข้อความเหมือนกันทุกตัวอักษร ควรปรับเปล่ียนให้ถูกต้องอย่างชัดเจน โดยจุดเด่นจะต้องนา

ประเด็นพิจารณาที่ได้คะแนนสงู และจดุ ควรพัฒนาจะนาประเด็นพิจารณาทไ่ี ด้คะแนนไมเ่ ป็นไปตามเกณฑม์ า
รายงาน และนาเสนอแนวทางการพฒั นาต่อไป โดยการจัดทาโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมอยา่ งชดั เจน
เช่น โครงการวัดและประเมินพัฒนาการเด็ก กิจกรรมการสง่ เสริมการเรยี นรผู้ ่านการเลน่ ตามจุดเนน้ เป็นต้น

แผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 13

ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผ้เู รียน จดุ เน้น พูดเพราะ ไหว้สวย กราบงาม

ผลการพจิ ารณา ตัวชี้วดั สรปุ ผลประเมนิ
 ปรบั ปรงุ (0-3 ข้อ)
 1. มกี ารระบเุ ป้าหมายคณุ ภาพของผเู้ รยี น  พอใช้ ( 4 ขอ้ )

 2. มกี ารระบวุ ธิ ีพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ  ดี ( 5 ขอ้ )
ตามเป้าหมายการพฒั นาผเู้ รยี น

 3. มีผลสมั ฤทธ์ิของผเู้ รยี นตามเป้าหมายการพฒั นาผเู้ รยี น

 4. มกี ารนาผลการประเมนิ คณุ ภาพของผเู้ รียนมาพัฒนา
ผเู้ รียนด้านผลสมั ฤทธใ์ิ ห้สงู ขนึ้

 5. มีการนาเสนอผลการประเมินคุณภาพของผูเ้ รยี นต่อผทู้ ี่
เกีย่ วขอ้ ง

ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสงู ขึ้น
สถานศึกษาควรมีการระบขุ ้อมูลใน SAR ใหเ้ ห็นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะแผนการดาเนินงานและวิธกี าร

พัฒนาผู้เรียน ในการรายงานโครงการ/กิจกรรม ท่ีแสดงให้เห็นว่าการบอกเพียงชื่อโครงการเพียงสั้นๆ การ
รายงานควรระบวุ า่ ใครทาอะไร ทไี่ หน อยา่ งไร รวมถงึ การวดั และประเมินผลในแต่ละประเดน็ ควรแสดงให้เห็น
ว่ามีการอ้างอิง หรือใช้วิธีการวัดและประเมินผลแบบใด เช่น ผู้เรียน ๑๐๐ คน มีจานวนก่ีคนที่เป็นไปตาม

เกณฑ์ ซ่ึงนามาคานวณเป็นรอ้ ยละและนามาสกู่ ารรายงานเป็นเชิงคุณภาพ เปน็ ตน้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จดุ เนน้ ทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการ

ผลการพิจารณา ตวั ช้ีวดั สรุปผลประเมนิ
 1. มีการวางแผนการดาเนนิ การในแตล่ ะปกี ารศึกษา  ปรบั ปรงุ (0-3 ขอ้ )
 พอใช้ ( 4 ขอ้ )
 2. มีการนาแผนการดาเนนิ การไปใช้ดาเนนิ การ
3. มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องการดาเนินการตามแผน  ดี ( 5 ข้อ)

 4. มกี ารนาผลการประเมินฯ ไปใชใ้ นการปรับปรงุ แก้ไขใน
ปีการศกึ ษาต่อไป

 5. มกี ารนาเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
ให้แกผ่ ู้มสี ่วนได้เสยี ไดร้ ับทราบ

แผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 14

ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดับสงู ขน้ึ

สถานศึกษาควรมกี ารระบขุ ้อมูลใน SAR เพิ่มเติมดา้ นการบรหิ ารและการจัดการ ควรแสดงการจัดทา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ รวมถึงวิธีการพัฒนาที่เห็นอย่างชัดเจน ด้วยการ
รายงานการจัดทาโครงการ/กิจกรรมตามยุทธศาสตร์ท่ีสถานศึกษากาหนด เช่น โครงการที่เก่ียวกับสร้าง
ความสัมพันธ์ชุมชน โครงการพัฒนาและประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โครงการพัฒนาบุคลากร โครงการ

พัฒนาอาคารสถานที่ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีสอดคล้องกับประเด็นพิจารณาในมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน รวมถงึ โครงการอนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วเน่อื งกบั การบรหิ ารจดั การ เป็นตน้

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั
จดุ เน้น ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน

ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ัด สรปุ ผลประเมนิ
 1. ครมู กี ารวางแผนการจัดการเรยี นรคู้ รบทกุ รายวิชา ทุก  ปรบั ปรงุ (0-3 ข้อ)
 ชน้ั ปี  พอใช้ ( 4 ขอ้ )

 2. ครูทกุ คนมีการนาแผนการจดั การเรียนรไู้ ปในการ  ดี ( 5 ข้อ)
จดั การเรียนการสอนโดยใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและ
แหลง่ เรยี นรทู้ เี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้
3. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรยี นการ
สอนอย่างเปน็ ระบบ

4. มีการนาผลการประเมนิ มาพฒั นาการจดั การเรยี นการ
 สอนของครอู ยา่ งเป็นระบบ

5. มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู ปอ้ นกลบั เพือ่
 พัฒนาปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอน

ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขน้ึ

สถานศึกษาควรมีการระบขุ ้อมูลใน SAR เพิ่มเติมด้านการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
โดยเฉพาะการรายงานโครงการ/กิจกรรมที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ควรระบุวา่ ใครทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร
เชน่ โครงการพฒั นาสือ่ เทคโนโลยี โครงการแลกเปล่ียนเรียนรู้ PLC เปน็ ตน้ รวมถึงการวัดและประเมินผลใน
แต่ละประเด็นพิจารณาของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั ควรแสดงให้เห็นว่ามีการอ้างอิง
หรอื ใช้วิธีการวดั และประเมินผลแบบใด

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 15

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

๑. สถานศึกษาควรระบุรายงานข้อมูลโครงสร้างการบริหารที่เป็นลักษณะของแผนภูมิให้เห็นอย่าง
ชัดเจน ควรแสดงรายงานยุทธศาสตร์การบริหารให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาควรแยก
ข้อมลู ของบุคลากรครู ให้เห็นชัดเจนวา่ มีครขู ้ันปฐมวัยจานวนก่ีคน ครขู นั้ พ้นื ฐานจานวนกี่คน

๒. สถานศึกษาควรมีการแยกประเมนิ ตนเองในแต่ละช่วงช้ัน เชน่ ระดับพื้นฐานอาจจะแยกประเมิน
เป็นช่วงช้นั ที่ ๑ (ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๓) ช่วงช้นั ท่ี ๒ (ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖) ซึง่ จะทาให้มกี ารสรุปข้อมูลในเชงิ
ลึกของแต่ละช่วงชั้นไดช้ ดั เจนยง่ิ ข้ึน

๓. การระบุความชัดเจนว่าได้เผยแพร่ SAR ให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องต่างๆ ทั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน ต้นสังกัด หรือผู้ท่ีเก่ียวขอ้ งได้รับทราบท้ังในรูปแบบออนไลน์ และเอกสาร เช่น การจัดทาลิงค์ หรือ
QR Code ท่เี ชอื่ มโยงกับฐานขอ้ มลู เป็นตน้

๔. สถานศึกษาควรแสดงข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษาจากสถานศึกษาให้ครบถ้วน รวมถึงข้อมูล
งบประมาณของสถานศกึ ษาว่าได้รับเงินประมาณและเงนิ นอกงบประมาณอย่างชดั เจน

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 16

สว่ นท่ี ๒
การวเิ คราะหส์ ภาพองค์กร

โรงเรียนไดด้ าเนินการวิเคราะหส์ ภาพองค์กร โดยให้ครูผูร้ ับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม ทาการวเิ คราะห์ใน
ส่วนท่ีตนรับผิดชอบ จากสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกองค์กรท่สี ่งผลต่อการดาเนินงานของกิจกรรมต่าง ๆ
หลังจากน้ันคณะกรรมการวิเคราะหส์ ภาพองค์กร ประกอบด้วย ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ และครูผู้สอน จานวน ๑๓ คน

โดยองค์ประกอบของการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงานโดย SWOT Analysis ประกอบด้วย
สภาพแวดล้อมภายนอกที่เปน็ โอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค (Threats) และสภาพแวดล้อมภายในท่เี ป็น
จุดแข็ง (Strength) หรือจุดอ่อน (Weakness) โดยทาการวิเคราะหเ์ ฉพาะปัจจยั ทม่ี อี ิทธิพล/สภาพปัจจุบนั ปัญหา
ต่อการปฏิบัติตามภารกจิ และพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา มีข้ันตอนการวเิ คราะห์ ดังนี้

แต่งตงั้ คณะกรรมการ

คณะกรรมการหลอมรวมจากแบบวิเคราะหส์ ภาพ
องคก์ ร

การวิเคราะหอ์ งคก์ รภายนอก การวิเคราะหอ์ งคก์ รภายใน จดุ แขง็ /
โอกาส/อปุ สรรค จดุ อ่อน

ลงคะแนนให้ค่าน้าหนักคะแนนของกรรมการแต่ละ
คน

พลอ็ ตจดุ

สรปุ ผลการวิเคราะหอ์ งคก์ ร

แผนภาพแสดงขน้ั ตอนการวเิ คราะหส์ ภาพองคก์ รของโรงเรียน

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 17

๑. การวเิ คราะหป์ จั จัยภายนอก

ปัจจยั ภายนอก โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threats)

ดา้ นพฤตกิ รรมของลกู คา้ 1.โรงเรยี นมีเขตบรกิ าร 1 หมูบ่ ้าน ทาให้ 1. ผ้ปู กครองมคี ่านิยมในการส่งบุตรหลาน

(Customer การดแู ลใหบ้ รกิ ารอยา่ งทว่ั ถงึ เขา้ เรียนในเมือง

Behaviors) 2.ผปู้ กครองใหค้ วามสาคัญและให้ความ 2. ผปู้ กครองมคี ่านิยมสง่ บุตรหลานเขา้

รว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี เรยี นกบั โรงเรียนของท้องถ่ิน

ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม 1.นโยบายต้นสงั กัดมกี ารกาหนดแนวการ 1.เปล่ียนแปลงนโยบายบ่อยๆ เน่อื งจาก

(Social – cultural) ปฏิบัตงิ าน การเปล่ยี นรฐั บาลหรือเปลย่ี นผบู้ รหิ าร

2.ชมุ ชนและหนว่ ยงานทอ้ งถิน่ ร่วมกนั 2.ผ้ปู กครองนกั เรียนสว่ นใหญม่ ปี ญั หา

อนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ดา้ นครอบครัวแตกแยก และไมม่ เี วลาเอา

ส่งผลให้นักเรยี นมีแหลง่ เรียนรูแ้ ละมี ใจใส่สง่ ผลกระทบตอ่ การเรียน

แบบอย่างท่ีดี 3.การย้ายถน่ิ ฐานของผ้ปู กครองนักเรยี น

ทาใหเ้ กิดความเลอื่ มลา้ และการเรียนของ

นกั เรียนไมต่ อ่ เนื่อง

ดา้ นเทคโนโลยี 1.โรงเรียนไดร้ ับงบประมาณจากต้นสงั กดั 1.สื่อที่ไดร้ บั ไมเ่ พียงพอกับความต้องการ

(Technological ) ชุมชน ท้องถน่ิ และหนว่ ยงานอ่นื อยา่ ง ของจานวนนักเรียน

ต่อเนื่อง

ดา้ นเศรษฐกจิ 1.ทอ้ งถ่นิ วดั ชุมชนใหก้ ารสนบั สนนุ 1. ผู้ปกครองส่วนใหญม่ อี าชีพรบั จ้าง

(Economic) ทนุ การศกึ ษาแก่นักเรยี น สง่ ผลให้นกั เรยี น ฐานะการเงนิ ไม่มนั่ คงและมีรายได้น้อยไม่

มีทนุ ใช้จา่ ยในการจัดซือ้ อุปกรณก์ ารเรยี น แน่นอน ส่งผลกระทบด้านการเงนิ

ครอบครวั มผี ลตอ่ การเรยี นของนักเรียน

2. องค์กรส่วนทอ้ งถน่ิ สนับสนนุ

งบประมาณไมเ่ พียงพอ

3. การชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานตา่ งๆที่อยู่

ใกล้บริเวณโรงเรียนมนี อ้ ย

ด้านการเมืองและ 1.ท้องถิน่ ให้ความสนใจและสนบั สนุนด้าน 1.ผู้ปกครองบางส่วนไม่เข้าใจนโยบาย

กฎหมาย (Political การศกึ ษาและงบประมาณอย่างต่อเนอ่ื ง ปฏริ ูปการศึกษา ขาดความรเู้ ร่อื งกฎหมาย

and legal ) ส่งผลให้โรงเรียนพฒั นาไปในทางทด่ี ี และ พรบ.การศกึ ษาส่งผลใหข้ าดความ

2.ผู้ปกครองกรรมการสถานศึกษามี ร่วมมือในการจัดการศกึ ษา

ความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั นโยบายด้าน 2.การดาเนินการดา้ นการจัดการ

การศกึ ษาสง่ ผลใหโ้ รงเรยี นไดร้ ับการ ทรัพยากรทางการศกึ ษาไมส่ อดคลอ้ งกบั

สนับสนุนมากข้ึน กฏระเบยี บการปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

3.การเมืองเขา้ มามบี ทบาทปรับเปล่ยี น

นโยบายบ่อยๆไมต่ อ่ เนอ่ื งรวมทง้ั การ

ปฏริ ูปครู และการจัดการเรยี นการสอน

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หน้า | 18

๒. การวิเคราะหป์ จั จัยภายใน

ปจั จยั ภายใน จดุ แขง็ (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)

ด้านโครงสร้าง 1.สถานศึกษามีโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน 1.ภาระงานมหี ลายหนา้ ทที่ าใหข้ าดความ

(Structure) ชัดเจน ชดั เจนในการปฏิบตั งิ าน

2.มคี ่มู อื การบริหารงานชดั เจน 2.การนเิ ทศติดตามงานไมส่ มา่ เสมอ

ดา้ นกลยทุ ธ์ขององคก์ ร 1.สถานศกึ ษามกี ารกาหนดวสิ ัยทศั น์ 1.มีแผนยทุ ธศาสตร์แต่ปฏิบตั ิไดไ้ มค่ รบ

(Strategy) ยทุ ธศาสตร์และเป้าหมายทีช่ ัดเจนและ 2.ขาดการกากบั ตดิ ตามอยา่ งต่อเน่ือง

สอดคล้องกบั แนวทางของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ด้านระบบในการ 1.สถานศึกษามีกฎระเบียบและ 1.ขาดการนาระเบยี บไปใช้อย่างเต็ม

ดาเนินงานขององค์กร หลักเกณฑใ์ นการปฏบิ ัตงิ านทช่ี ัดเจนมีการ รปู แบบ

(Systems) ทางานตามระบบPDCA 2.การใชร้ ะบบ ICT ยงั ไม่เป็นไปอย่างเตม็

2.สถานศกึ ษามกี ารใช้ระบบ ICT ในการ ศักยภาพ

ปฏิบัติงานและการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร 3.อุปกรณด์ ้าน ICT ไม่เพียงพอกบั ครแู ละ

3.ความร่วมมือของบคุ ลากรเขม้ แข็ง นกั เรียน

4.สถานศึกษามกี ารประสานกับหนว่ ยงาน

อ่ืนในการพฒั นาโรงเรยี น

ดา้ นแบบแผนหรอื 1.ผบู้ รหิ ารเป็นผ้นู าในการทางาน 1.งบประมาณในการดาเนินงานไม่

พฤติกรรมในการบรหิ าร 2.ผบู้ รหิ ารเปน็ แบบอยา่ งท่ีดใี นการทางาน เพยี งพอ

จดั การ Style) 3.ผู้บรหิ ารมอบหมายงานบุคลากรตาม 2.ผ้บู รหิ ารไมส่ ามารถตดิ ตามงานได้อย่าง

ความถนดั ต่อเนื่อง

ดา้ นบุคลากร/สมาชิกใน 1.มีการทางานเป็นทมี ชว่ ยเหลือซ่ึงกนั 1.บคุ ลากรสว่ นหน่งึ ขาดประสบการณใ์ น

องคก์ ร (Staff) และกนั การเรยี นการสอนเนื่องจากอายงุ านน้อย

2.มีความสามัคคใี นหมู่คณะ และขาดความมั่นคงในการทางาน

ดา้ นทักษะ ความรู้ 1.บคุ ลากรมปี ระสบการณใ์ นการจดั การ 1.บคุ ลากรบางสว่ นขาดความรู้ความ

ความสามารถขององค์กร เรยี นการสอน ชานาญดา้ น ICT

(Skills) 2. บุคลาการบางส่วนขาดทักษะการจดั ทา

นวัตกรรม และการวจิ ัย

ด้านคา่ นิยมร่วมกันของ 1.ครมู จี ติ สานกึ ในความเป็นครู ปฏิบัติ

สมาชิกในองค์กร หนา้ ทโ่ี ดยไมต่ ้องอาศัยคาสงั่

(Shared Values) ๒.ครูปฏิบัตหิ น้าท่ีไมเ่ ต็มตามศักยภาพ

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 19

ผลการประเมนิ สภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา

O
โอกาส

3.63

S .8 W
จุดแขง็ จุดออ่ น
3.52 .42 0 2.44

2.80

T
อปุ สรรค

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | 20

สรุปผลการศกึ ษาสถานภาพ

สภาพแวดล้อมภายนอก (โอกาส อปุ สรรค)
จากการศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรยี น พบว่าสภาพแวดล้อมภายนอกเป็น

ปัจจัยเอ้ือหรือเป็นโอกาสในการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในด้านสังคมวัฒนธรรม
โรงเรียนตง้ั อยใู่ นพนื้ ทแี่ หล่งประวัตศิ าสตร์ ทาให้โรงเรยี นมีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายและเปน็ แหล่ง
เรียนร้ปู ระวตั ิศาสตร์ อีกทง้ั ในชมุ ชนมภี มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทีเ่ อ้อื ต่อการจัดการเรยี นรขู้ องนักเรียนและ
โรงเรียนอยู่ในเขตพื้นที่บริการขององค์กรและหน่วยงานได้รับงบประมาณสนับสนุนจากท้องถิ่น
ผู้ปกครองเอาใจใส่นักเรียน ตระหนักถึงคุณค่าของการให้การศึกษามีเจตคติท่ีดีและไว้วางใจใน
ประสิทธิภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียน อุปสรรค ด้านสังคม การย้ายถิ่นฐานของผู้ปกครอง
ผู้ปกครองสว่ นใหญ่ เป็นคนต่างจงั หวัด ด้านเศรษฐกิจ ผู้ปกครองมีอาชีพรับจ้าง มีรายได้ไม่แน่นอน
โดยภาพรวมแล้วฐานะทางเศรษฐกิจอยู้ในเกณฑ์พอใช้ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่เข้าใจนโยบายการ
จัดการเรียนการสอน การปฏิรูปการศึกษาส่งผลให้ขาดความร่วมมือในการจัดการศึกษา และการ
ดาเนินงานด้านการจัดการทรัพยากรทางการศึกษาไม่สอดคล้องกับกฏระเบียบการปกครองส่วน
ท้องถิ่นและในการจดั หารายได้จากหน่วยงานและผเู้ กย่ี วขอ้ งสนับสนนุ ด้านงบประมาณคอ่ นข้างน้อย
ทาใหก้ ารบรหิ ารและการใช้จา่ ยงบประมาณมอี ยา่ งจากัด

สภาพแวดลอ้ มภายใน (จดุ แข็ง จุดอ่อน)

สภาพแวดล้อมด้านปัจจัยภายในโรงเรียน ในส่วนที่เป็นจุดแข็ง ซึ่งเอื้อต่อการพัฒนา คือ
โรงเรียนมีระบบการบริหารการจัดศึกษาแบบกระจายอานาจโดยเน้นการมีส่วนร่วม มีโครงสร้าง
และนโยบายดาเนินงานที่ชัดเจนเป็นระบบ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ความเป็นผู้นาและมีความรู้
ความสามารถในการบริหารจัดการ บุคลากรมีความต้งั ใจในการปฏิบัตงิ าน ปฏิบัติงานตามความถนดั
มีการแสวงหาความรู้และมีความพร้อมท่ีจะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความรู้ความสามารถตรงตาม
ภาระงานท่ีได้รับมอบหมาย มีคุณธรรมจริยธรรมและประพฤติตนได้เหมาะสม ทาให้จัดการศึกษา
ของโรงเรียนเป็นไปอยา่ งมีระบบ ในดา้ นผลผลติ และการบรกิ าร นกั เรียนท่ีจบช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
มีอัตราการเรยี นต่อ 100 % โรงเรียนมีจดุ อ่อนอยบู่ ้างในด้านของการใช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่มี ีไม่
เพยี งพอ งบประมาณในการดาเนินงานไม่เพยี งพอแต่ถอื วา่ สามารถปรับไดโ้ ดยนาปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเข้ามาใช้ในการวิเคราะหจ์ ัดสรรประมาณที่มีให้เพยี งพอและคุ้มค่า ส่วนด้านบุคลากรส่วนหนึง่
อายุงานน้อยขาดประสบการณ์แต่ถือเปน็ จดุ ออ่ นทส่ี ามารถแก้ไขได้โดยพัฒนาบคุ ลากรให้มีความรู้
ความชานาญพัฒนาตนให้มีความรู้ความสามารถรวมท้ังความสามารถในจัดทานวัตกรรมและการ
วจิ ัย

โรงเรียนบา้ นท่าเรอื จึงเป็นโรงเรยี นที่มสี ภาพแวดลอ้ มภายนอกและภายในท่ีเอ้อื และเปน็
โอกาสตอ่ การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาใหไ้ ดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

แผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๕ หนา้ | ๒๑

ส่วนท่ี 3
ทศิ ทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

๑. นโยบายทศิ ทางการพัฒนาของโรงเรียนบ้านท่าเรือ
วิสยั ทศั น์ (Vision)
“โรงเรียนบ้านทา่ เรือ มงุ่ จัดการศึกษาใหผ้ ูเ้ รยี นมคี ณุ ธรรมนาความรู้ตามมาตรฐานการศึกษา มสี ุขภาพ

ทีส่ มบรู ณ์ เป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ เชิดชคู ณุ ธรรม เคยี งคสู่ ่งิ แวดลอ้ ม เพยี บพร้อมเทคโนโลยี นอ้ มนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นรว่ ม”

พนั ธกจิ (Mission)
๑. พฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ให้มีคณุ ภาพสมู่ าตรฐาน น้อมนาสหู่ ลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มสี มรรถนะ ทกั ษะ ประสบการณ์ สคู่ วามเปน็ ครมู อื อาชีพ
๓. พฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ เชิดชคู ุณธรรม รกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม
๔. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา ตามแนวปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ส่งเสรมิ ใหม้ ี
สารสนเทศ และการใชเ้ ทคโนโลยี
๕. แสวงหาศักยภาพของชมุ ชน ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานและภูมปิ ัญญามามี
ส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
เปา้ ประสงค์ (Objective)
๑. ผู้เรยี นเป็นคนดี มีความรู้ มที กั ษะชวี ิต ดารงชวี ติ อยูร่ ่วมกบั ผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
๒. ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ ครมู อื อาชพี
๓. สถานศึกษามีแหลง่ เรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย มีการจัดสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้ โดย
เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั เปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้
๔. สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาเปน็ ทย่ี อมรบั ของสงั คม
จดั ระบบสารสนเทศและการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๕. ได้รบั ความรว่ มมอื จากชมุ ชน องค์กร หน่วยงานตา่ ง ๆ มสี ่วนร่วมในการพัฒนาสถานศกึ ษา
กลยุทธ์สถานศึกษา (Strategy)
กลยุทธท์ ่ี ๑ พัฒนาศกั ยภาพผ้เู รยี นให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาบนพน้ื ฐานของหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหเ้ ปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ มงุ่ สคู่ วามเปน็ ครมู ืออาชพี
มสี มรรถนะเหมาะสมกบั การจดั การศกึ ษา โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยุทธ์ท่ี ๓ พัฒนาสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั เป็นองค์กร
แหง่ การเรียนรู้ เป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม
กลยุทธ์ที่ ๔ พฒั นาระบบบริหารจดั การศกึ ษา ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีระบบ
เทคโนโลยสี นเทศทที่ นั สมยั
กลยุทธ์ที่ ๕ ประสานความรว่ มมอื กบั ทกุ ภาคส่วน เพอื่ เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็ง ชุมชน องค์กร
หน่วยงานต่าง ๆ มีส่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศกึ ษา

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I ๒๒

๒. การวิเคราะห์ วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ดั ของสถานศกึ ษา

โรงเรียนบา้ นทา่ เรอื ไดท้ าการวเิ คราะห์วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์และตัวช้วี ดั ของสถานศกึ ษา
เพอื่ เปน็ แนวทางและทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ดังนี้

ตารางแสดงการเชือ่ มโยงวิสยั ทัศน์และพันธกจิ ของสถานศกึ ษา

วิสยั ทศั น์ (Vision) พนั ธกิจ (Mission)

โรงเรยี นบา้ นท่าเรอื มุ่งจดั การศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นมี ๑. พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้นผูเ้ รยี น
คณุ ธรรมนาความรตู้ ามมาตรฐานการศึกษา มี เป็นสาคญั ให้มคี ณุ ภาพส่มู าตรฐาน น้อมนาส่หู ลกั
สขุ ภาพท่สี มบรู ณ์ เป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ เชดิ ชู
คุณธรรม เคียงค่สู ง่ิ แวดล้อม เพียบพรอ้ มเทคโนโลยี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยทกุ ๒. พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีสมรรถนะ ทกั ษะ
ภาคส่วนมีส่วนรว่ ม ประสบการณ์ สูค่ วามเป็นครูมอื อาชพี

๓. พฒั นาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู้
เชิดชคู ณุ ธรรม รักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม
๔. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา ตามแนวปฏริ ปู

การศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑ สง่ เสริมให้มสี ารสนเทศ
และการใชเ้ ทคโนโลยี
๕. แสวงหาศักยภาพของชมุ ชน ผปู้ กครอง

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานและภูมปิ ญั ญา
มามีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา

ตารางแสดงการเชื่อมโยงพันธกจิ และเป้าประสงค์ของสถานศกึ ษา

พนั ธกิจ (Mission) เป้าประสงค์ (Objective)
๑. พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี น ๑. ผเู้ รยี นเป็นคนดี มีความรู้ มที กั ษะชวี ิต ดารงชวี ิต
เปน็ สาคัญ ใหม้ ีคุณภาพสมู่ าตรฐาน น้อมนาสูห่ ลกั อยูร่ ่วมกบั ผ้อู ื่นในสงั คมได้อย่างมีความสุข
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ สี มรรถนะ ทักษะ ๒. ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรเปน็ บุคคลแหง่ การ
ประสบการณ์ ส่คู วามเปน็ ครูมอื อาชีพ เรียนรู้ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ ครูมอื อาชีพ
๓. พัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้ ๓. สถานศกึ ษามแี หลง่ เรียนรทู้ ่หี ลากหลาย มกี ารจดั
เชดิ ชูคณุ ธรรม รักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมใหเ้ อือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ โดยเนน้
ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ เปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้
๔. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา ตามแนวปฏิรูป ๔. สถานศึกษาบรหิ ารจดั การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ
การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ สง่ เสรมิ ใหม้ สี ารสนเทศ ตามมาตรฐานการศกึ ษาเป็นท่ยี อมรบั ของสงั คม
และการใช้เทคโนโลยี จัดระบบสารสนเทศและการใช้เทคโนโลยอี ย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
๕. แสวงหาศักยภาพของชุมชน ผปู้ กครอง ๕. ไดร้ ับความรว่ มมือจากชุมชน องคก์ ร หน่วยงาน
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานและภมู ปิ ญั ญา ต่าง ๆ มสี ่วนร่วมในการพฒั นาสถานศึกษา
มามีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I ๒๓

ตารางแสดงการวเิ คราะหก์ ลยุทธ์กบั เป้าประสงค์ของสถานศึกษา

กลยุทธ์สถานศกึ ษา (Strategy) เปา้ ประสงค์ (Objective)

กลยุทธ์ที่ ๑ พฒั นาศกั ยภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม ๑. ผ้เู รียนเป็นคนดี มคี วามรู้ มที กั ษะชีวิต ดารงชวี ติ

มาตรฐานการศึกษาบนพน้ื ฐานของหลักปรชั ญาของ อย่รู ่วมกับผ้อู ่ืนในสงั คมได้อย่างมีความสขุ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

กลยุทธท์ ่ี ๒ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหเ้ ปน็ บคุ คลแหง่ ๒. ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรเป็นบคุ คลแห่งการ

การเรียนรู้ มงุ่ สูค่ วามเปน็ ครมู ืออาชีพ เรียนรู้ มคี ุณธรรม จริยธรรม เปน็ ครูมืออาชพี

มสี มรรถนะเหมาะสมกบั การจดั การศกึ ษา โดยยดึ

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กลยุทธท์ ่ี ๓ พฒั นาสภาพแวดล้อมใหเ้ ออื้ ตอ่ การ ๓. สถานศึกษามแี หลง่ เรียนรทู้ ี่หลากหลาย มกี ารจัด

จัดการเรยี นรู้ โดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ เปน็ องคก์ ร สภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้ โดยเน้น

แหง่ การเรยี นรู้ เปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ เปน็ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้

กลยุทธท์ ่ี ๔ พฒั นาระบบบริหารจัดการศึกษา ให้มี ๔. สถานศึกษาบรหิ ารจดั การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ

คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา มรี ะบบเทคโนโลยี ตามมาตรฐานการศกึ ษาเป็นทยี่ อมรับของสงั คม

สนเทศทท่ี ันสมัย จัดระบบสารสนเทศและการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

กลยทุ ธท์ ่ี ๕ ประสานความรว่ มมอื กบั ทุกภาคส่วน ๕. ไดร้ ับความรว่ มมอื จากชุมชน องคก์ ร หนว่ ยงาน

เพือ่ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชมุ ชน องค์กร ต่าง ๆ มสี ่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศกึ ษา

หนว่ ยงานต่าง ๆ มสี ่วนร่วมในการพฒั นา

สถานศกึ ษา

ตารางแสดงการวเิ คราะห์เปา้ ประสงค์กับตัวชี้วัดความสาเรจ็

เปา้ ประสงค์ ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็
(Objective) (Key Performance Indicators)

๑. ผเู้ รยี นเปน็ คนดี มีความรู้ มที ักษะชวี ิต ดารงชีวติ 1. ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี พี ฤติกรรมที่แสดงออกถงึ
อย่รู ว่ มกับผู้อ่นื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ
และความเปน็ ไทย

๒. ร้อยละของผเู้ รียนที่มีพฤตกิ รรมที่แสดงออกถงึ
การมีทศั นคตทิ ด่ี ีตอ่ บา้ นเมอื งมหี ลกั คิดทถ่ี ูกต้องเป็น
พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ ม

ทพี่ ึงประสงค์
3. รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจและมี
ความพรอ้ มสามารถรบั มอื กบั ภัยคุกคามรปู แบบทม่ี ี

ผลตอ่ ความม่ันคง
๔. จานวนผเู้ รยี นมคี วามเป็นเลิศทางด้านวชิ าการ มี
ทักษะความรูท้ ส่ี อดคลอ้ งกบั ทกั ษะทจี่ าเปน็ ใน

ศตวรรษที่ 21 (3R๘C)

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I ๒๔

เป้าประสงค์ ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ
(Objective) (Key Performance Indicators)
5. ผู้เรยี นมีสมรรถนะสาคญั ตามหลกั สูตรมที กั ษะ
๒. ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรเป็นบคุ คลแห่งการ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑
เรยี นรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม เปน็ ครูมอื อาชีพ ๖. นักเรียนระดบั ปฐมวัยมีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา บรรลุตาม
เป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด มีความพรอ้ มใน
การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา
๗. ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ
สังคมเป็นไปตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด
๘. ร้อยละของผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ทีม่ ีผล
การประเมนิ ด้านการอา่ น (RT) ผ่านเกณฑท์ ีก่ าหนด
๙. รอ้ ยละของผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ท่ีมี
คะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (NT)
ผา่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด
๑๐. ร้อยละของผู้เรียนท่มี คี ะแนนผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET)
มากกว่าร้อยละ ๕๐ ในแตล่ ะวิชาเพิ่มข้ึนจากปี
การศกึ ษาทผี่ า่ นมา
๑๑. ผเู้ รยี นทุกคนมที ักษะพ้นื ฐานในการดารงชวี ติ
สามารถดารงชีวิตอย่ใู นสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ มี
ความยดื หยุน่ ทางดา้ นความคดิ สามารถทางาน
ร่วมกับผอู้ นื่ ได้ ภายใตส้ งั คมทเ่ี ปน็ พหวุ ัฒนธรรม

๑. ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากร ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป
ได้รับการพัฒนาให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ตรง
กับความตอ้ งการของครูและสถานศกึ ษา
๒. สถานศึกษาและจดั ใหม้ ีชมุ ชนการเรียนรูท้ าง
วชิ าชีพเพอื่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้
๓. ครรู อ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จัดการเรยี นรู้ผา่ นการ
กระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐานการ
เรยี นรู้ของหลักสตู รสถานศกึ ษา มีแผนการเรยี นรู้ มี
นวัตกรรมในการจดั การเรียนรู้และมีการเผยแพร่
๔. ครรู อ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหลง่ เรยี นรรู้ วมทงั้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทเี่ อื้อตอ่
การเรียนรโู้ ดยสรา้ งโอกาสใหผ้ เู้ รยี นแสวงหาความรู้
ด้วยตนเอง

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I ๒๕

เปา้ ประสงค์ ตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็
(Objective) (Key Performance Indicators)

๓. สถานศกึ ษามแี หลง่ เรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย มกี ารจดั ๕. ครรู ้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มกี ารบรหิ ารจัดการชัน้
สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ โดยเนน้ เรียนเชงิ บวก เดก็ รกั ทจี่ ะเรยี นร้แู ละเรียนรูร้ ่วมกัน
ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ เป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้
อยา่ งมคี วามสขุ
๔. สถานศึกษาบรหิ ารจัดการศึกษาอย่างมคี ณุ ภาพ ๖. ครรู ้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ตรวจสอบผเู้ รียนอยา่ งเปน็
ตามมาตรฐานการศึกษาเป็นทยี่ อมรบั ของสงั คม ระบบ มขี ้นั ตอนโดยใช้เคร่ืองมอื และวธิ กี ารวัดและ
จัดระบบสารสนเทศและการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ประเมินผลทเ่ี หมาะสมกบั เป้าหมายในการจัดการ
เรียนร้แู ละนาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น

๑. สถานศกึ ษาจดั บรรยากาศสิ่งแวดลอ้ มและ

กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รียนแสดงออกถงึ ความรกั ใน
สถาบนั หลกั ของชาติ
๒. สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพที่เออ้ื

ตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณภาพ
และปลอดภยั
๓. สถานศึกษามนี โยบายและจดั กจิ กรรมให้ความรทู้ ่ี

ถูกต้องและสรา้ งจิตสานึกดา้ นการผลติ และบริโภคที่
เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม
๔. สถานศกึ ษามีการบรู ณาการเรอ่ื งการจัดการขยะ

แบบมสี ว่ นรว่ มและการนาขยะมาใช้ประโยชน์
รวมทงั้ สอดแทรกในสาระการเรยี นรู้ที่เก่ียวขอ้ ง
๕. สถานศึกษาสรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั ประสบการณ์

ตรง เลน่ และปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเรียนรู้ ลงมอื ทาและ
สร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง

๑. สถานศกึ ษามีเป้าหมาย วิสยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจ

สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ความต้องการ
ของชมุ ชน นโยบายของรฐั บาล แผนการศึกษา
แหง่ ชาติ

๒. สถานศึกษาน้อมนาพระบรมราโชบายด้าน
การศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร
รามาธบิ ดีศรสี นิ ทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิร

เกล้าเจ้าอยหู่ วั และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงไปพฒั นาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

๓. สถานศึกษามกี ารจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูต้ าม
หลักสูตรและมแี ผนงาน โครงการ กิจกรรมเสรมิ
ในการพัฒนาเด็กอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I ๒๖

เป้าประสงค์ ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ
(Objective) (Key Performance Indicators)

๔. สถานศกึ ษามีการประเมินและพฒั นาหลักสูตร
สถานศึกษาให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รการศึกษา

ปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถนิ่
๕. สถานศกึ ษานาเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Degital
Technology) มาใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือในการจดั กจิ กรรม

การเรยี นรูใ้ หแ้ กผ่ เู้ รยี นและการบริหารจดั การได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๖. สถานศกึ ษามรี ะบบดูแลช่วยเหลอื และค้มุ ครอง

นกั เรยี นและการแนะแนวทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
๗. สถานศกึ ษามีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ ริตและ
ประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล

๘. สถานศกึ ษามีระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศวชิ าการ
ผู้เรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

๕. ได้รับความรว่ มมอื จากชมุ ชน องค์กร หนว่ ยงาน ๑. รอ้ ยละของสถานศึกษาสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของ
ตา่ ง ๆ มีสว่ นร่วมในการพัฒนาสถานศกึ ษา ทกุ ภาคสว่ น ได้แก่ ผบู้ รหิ าร ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง
คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชน ในการพฒั นา

การศกึ ษา
๒. รอ้ ยละของผปู้ กครอง และเครอื ข่ายผูป้ กครอง
รวมทงั้ องค์กรภาครัฐและเอกชน มีสว่ นรว่ มในการ

พัฒนาสถานศกึ ษา
๓. รอ้ ยละของคณะกรรมการสถานศึกษา ปฏบิ ัติ
หนา้ ท่ีตามระเบยี บทกี่ าหนด กากบั ติดตาม ดูแล

และขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานของสถานศึกษาให้
บรรลผุ ลสาเร็จตามเป้าหมาย
๔. มีกิจกรรมสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธ์ชมุ ชนและจดั

ระดมทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา
๕. โรงเรยี นเปน็ แหลง่ ส่งเสริมสนับสนุนทางดา้ น
วชิ าการและ อนื่ ๆ แก่บุคคล ครอบครัว องค์กร

หนว่ ยงาน และสถานบันอน่ื ๆ อย่างมีคุณภาพและมี
ความพึงพอใจ
๖. รอ้ ยละของนกั เรยี น คณะกรรมการสถานศึกษา

ผู้ปกครองและชมุ ชน มีความพงึ พอใจต่อผลการ
บรหิ ารจดั การศึกษา

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I ๒๗

กรอบกลยทุ ธส์ ่กู ารปฏบิ ตั ิระยะ ๓ ปี

โครงการ/กจิ กรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตัวชว้ี
กลยทุ ธ/์ เปา้ ประสงค์ (Key Perfor

๑. โครงการเด็กดี มคี ุณธรรม นโยบายท่ี ๓ ตัวชว้ี ดั ท่ี ๑,๕,๖ 1. รอ้ ยละของ
แสดงออกถงึ ค
กลยุทธ์ที่ ๑ ของชาติ ภูมิใจ
เปา้ ประสงค์ที่ ๑ ไทย
๒. รอ้ ยละของ
แสดงออกถงึ ก
บ้านเมอื งมหี ลก
พลเมอื งดีของช
จริยธรรมและค
๓. จานวนผู้เรยี
ทางด้านวิชากา
สอดคลอ้ งกบั ท
ศตวรรษท่ี 21
๔. ผเู้ รยี นมสี ม
หลกั สูตรมีทกั ษ
ท่ี ๒๑
๕. นักเรียนระด
ด้านรา่ งกาย อ
สติปญั ญา บรร
สถานศึกษากา
การศกึ ษาระดบั

วดั ความสาเรจ็ เป้าหมาย (ร้อยละ) งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ

rmance Indicators) ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕

งผเู้ รียนทม่ี พี ฤติกรรมท่ี ๘๐ ๘๕ ๙๐ 5,000 ครกู ฤตยพร

ความรกั ในสถาบันหลกั

จในท้องถิน่ และความเป็น

งผเู้ รยี นท่มี ีพฤตกิ รรมที่
การมีทัศนคติทด่ี ีต่อ
กั คิดทีถ่ กู ต้องเป็น

ชาติ มีคุณธรรม
ค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์
ยนมีความเปน็ เลิศ

าร มีทกั ษะความรทู้ ่ี
ทักษะทจ่ี าเป็นใน
1 (3R๘C)

มรรถนะสาคญั ตาม
ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษ

ดบั ปฐมวัยมพี ฒั นาการ ห น้ า I 28
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และ
รลตุ ามเปา้ หมายที่
าหนด มคี วามพรอ้ มใน
บประถมศกึ ษา

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕

โครงการ/กจิ กรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตวั ชว้ี
กลยุทธ์/เป้าประสงค์ (Key Perfor
๒. โครงการหนูน้อยวัยใส
ใส่ใจสุขภาพ นโยบายที่ 1 ตัวชี้วัดท่ี 3 ๖. ผเู้ รียนรอ้ ยล
นโยบายท่ี 3 ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 , 6 ร่างกายและจติ
มาตรฐานท่ี ๑ (ปฐมวยั ป.1.1) เปา้ หมายทสี่ ถา
กลยทุ ธท์ ่ี ๑ ๗. ผเู้ รียนทุกค
เปา้ ประสงค์ท่ี ๑ ดารงชีวิต สาม
สังคมไดอ้ ย่างม
ยืดหยนุ่ ทางด้า
ทางานรว่ มกบั ผ
เปน็ พหุวัฒนธร

๑. ร้อยละของ
เข้าใจและมีคว
กับภยั คกุ คามร
มนั่ คง
๒. ผเู้ รยี นมีสม
หลกั สตู รมที ักษ
ท่ี ๒๑
๓. นกั เรียนระด
ดา้ นรา่ งกาย อ
สตปิ ญั ญา บรร
สถานศึกษากา
การศกึ ษาระดบั

วัดความสาเรจ็ เป้าหมาย (รอ้ ยละ) งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ
rmance Indicators) ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕

ละ ๘๐ สขุ ภาวะทาง ๘๐ ๘๕ ๙๐ 5,5๐๐ ครูกฤตยพร
ตสังคมเป็นไปตาม
านศึกษากาหนด
คนมที กั ษะพ้ืนฐานในการ
มารถดารงชวี ิตอยู่ใน
มคี วามสุข มคี วาม
านความคิด สามารถ
ผู้อน่ื ได้ ภายใต้สงั คมที่
รรม

งผเู้ รียนมีความรู้ ความ
วามพร้อมสามารถรบั มอื
รปู แบบท่มี ผี ลต่อความ

มรรถนะสาคญั ตาม
ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษ

ดบั ปฐมวยั มพี ฒั นาการ

อารมณ์ จติ ใจ สังคม และ
รลุตามเป้าหมายท่ี
าหนด มคี วามพรอ้ มใน

บประถมศึกษา

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 29

โครงการ/กจิ กรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตัวชี้ว
กลยทุ ธ/์ เปา้ ประสงค์ (Key Perfor
๓. โครงการหนนู อ้ ยอารมณ์
สุนทรยี ์ กบั ศิลปะ ดนตรี การ นโยบายที่ 3 ตัวช้ีวัดท่ี 1, 6 ๑. ผูเ้ รยี นมสี ม
เคลอื่ นไหว มาตรฐานท่ี ๑ หลักสตู รมีทกั ษ
(ปฐมวยั ป.1.2, 1.3, 1.4) ท่ี ๒๑
มาตรฐานท่ี 2 ๒. นักเรียนระด
(ปฐมวยั ป.2.4, 2.5) ดา้ นร่างกาย อ
มาตรฐานที่ 3 สติปัญญา บรร
(ปฐมวัย ป.3.2, 3.3) สถานศึกษากา
กลยุทธท์ ่ี ๑ , ๓ การศึกษาระดบั
เป้าประสงค์ที่ ๑ ๓. ผเู้ รยี นร้อยล
รา่ งกายและจติ
๔. โครงการแสวงหาความรู้ นโยบายท่ี ๓ ตวั ช้วี ัดท่ี ๑,๕,๖ เป้าหมายทส่ี ถา
พัฒนาทักษะการคดิ กลยุทธท์ ่ี ๑ ๔. สถานศกึ ษา
ประสบการณต์
เป้าประสงคท์ ่ี ๑ กิจกรรมเรียนร
ความรูด้ ้วยตน
๑. จานวนผูเ้ รยี
ทางด้านวชิ ากา
สอดคลอ้ งกบั ท
ศตวรรษท่ี 21
๒. ผู้เรียนมสี ม
หลักสตู รมที ักษ
ที่ ๒๑

วัดความสาเร็จ เปา้ หมาย (ร้อยละ) งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ
rmance Indicators) ครูกฤตยพร
๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕
มรรถนะสาคญั ตาม ๘๐ ๘๕ ๙๐ 4,๐๐๐
ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษ

ดบั ปฐมวยั มีพฒั นาการ

อารมณ์ จิตใจ สังคม และ

รลุตามเปา้ หมายที่

าหนด มีความพร้อมใน

บประถมศกึ ษา

ละ ๘๐ สุขภาวะทาง

ตสังคมเป็นไปตาม

านศกึ ษากาหนด

าสร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั

ตรง เลน่ และปฏิบตั ิ

รู้ ลงมือทาและสร้างองค์

นเอง

ยนมีความเปน็ เลศิ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๑๐,0๐๐ ครูกฤตยพร

าร มีทกั ษะความรทู้ ่ี

ทักษะทจี่ าเป็นใน

1 (3R๘C)

มรรถนะสาคญั ตาม

ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษ

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 30

โครงการ/กิจกรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตัวชวี้
กลยุทธ/์ เปา้ ประสงค์ (Key Perfor

๕. โครงการพฒั นาการจดั การ นโยบายท่ี ๒ , ๓ ตวั ชี้วดั ท่ี ๕ ๓. นักเรียนระด
เรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ มาตรฐานที่ ๑ (พื้นฐาน ป.๑.๑) ดา้ นร่างกาย อ
มาตรฐานท่ี ๓ สตปิ ญั ญา บรร
สถานศกึ ษากา
(พื้นฐาน ป.๓.๑- ๓.๕) การศึกษาระดบั
กลยุทธ์ท่ี ๑ ๔. ผูเ้ รยี นทุกค
เปา้ ประสงค์ที่ ๑ ดารงชวี ติ สาม
สงั คมไดอ้ ยา่ งม
ยืดหยนุ่ ทางดา้
ทางานร่วมกบั ผ
เปน็ พหวุ ัฒนธร

๑. ร้อยละของ
ปที ่ี ๑ ที่มีผลก
(RT) ผา่ นเกณฑ
๒. ร้อยละของ
ปที ่ี ๓ ท่มี ีคะแ
การศกึ ษา (NT
๓. รอ้ ยละของ
ทดสอบทางกา
พ้ืนฐาน (O-NE
ในแตล่ ะวชิ าเพ
ผ่านมา

วดั ความสาเรจ็ เป้าหมาย (ร้อยละ) งบประมาณ ผูร้ บั ผิดชอบ

rmance Indicators) ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕

ดับปฐมวยั มพี ฒั นาการ

อารมณ์ จิตใจ สังคม และ

รลุตามเปา้ หมายที่

าหนด มคี วามพรอ้ มใน

บประถมศกึ ษา

คนมที ักษะพื้นฐานในการ

มารถดารงชีวติ อยใู่ น

มีความสุข มีความ

านความคดิ สามารถ

ผูอ้ ่นื ได้ ภายใต้สงั คมที่

รรม

งผเู้ รียน ชัน้ ประถมศึกษา ๘๐ ๘๕ ๙๐ 30,๐๐๐ ครจู ิราภรณ์

การประเมินดา้ นการอ่าน

ฑท์ ก่ี าหนด

งผเู้ รยี น ชนั้ ประถมศึกษา

แนนผลการทดสอบทาง

T) ผ่านเกณฑท์ ก่ี าหนด

งผเู้ รียนทม่ี คี ะแนนผลการ

ารศกึ ษาระดับชาติขน้ั

ET) มากกวา่ ร้อยละ ๕๐

พิ่มข้นึ จากปีการศกึ ษาท่ี

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 31

โครงการ/กิจกรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตัวช้ีว
กลยทุ ธ์/เป้าประสงค์ (Key Perfor
๖. โครงการสง่ เสรมิ นิสัยรัก
การอา่ น นโยบายที่ ๒ ตัวชี้วดั ท่ี ๑ ๑. จานวนผูเ้ รีย
มาตรฐานท่ี ๑ (พนื้ ฐาน ป.๑.๑) ทางด้านวิชากา
กลยุทธ์ที่ ๑ สอดคลอ้ งกบั ท
เปา้ ประสงคท์ ่ี ๑ ศตวรรษที่ 21

๗. โครงการพัฒนาศกั ยภาพ นโยบายท่ี ๒ ตวั ชี้วัดที่ ๒.๑ ๑. จานวนผูเ้ รยี
ผูเ้ รยี นสคู่ วามเป็นเลศิ มาตรฐานท่ี ๑ (พน้ื ฐาน ป.๑.๑) ทางด้านวชิ ากา
มาตรฐานท่ี ๒ (พ้นื ฐาน ป.๒.๓) สอดคล้องกบั ท
๘. โครงการพัฒนาคณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๓ (พื้นฐาน ป.๓.๑) ศตวรรษที่ 21
ผู้เรียนตามความสนใจและ กลยุทธท์ ่ี ๑
ถนัด เปา้ ประสงค์ที่ ๑ ๑. ผ้เู รียนทกุ ค
ดารงชีวิต สาม
๙. โครงการพัฒนาหลกั สูตร นโยบายที่ ๓ สังคมไดอ้ ย่างม
สถานศกึ ษา ตวั ช้วี ดั ท่ี ๕ ยืดหยุน่ ทางดา้
มาตรฐานที่ ๑ ทางานร่วมกบั ผ
(พืน้ ฐาน ป.๑.๒) เปน็ พหุวฒั นธร
กลยทุ ธท์ ่ี ๑
เปา้ ประสงค์ที่ ๑ ๑. ผู้เรียนมีสม
หลักสูตรมที ักษ
นโยบายท่ี ๓ ตัวชี้วดั ที่ ๑ , ๕ ที่ ๒๑
มาตรฐานท่ี ๑
(พน้ื ฐาน ป.๑.๑ , ๑.๒)
มาตรฐานที่ ๓

วัดความสาเรจ็ เป้าหมาย (รอ้ ยละ) งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
rmance Indicators)
๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕
ยนมีความเปน็ เลิศ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๓๐,๐๐๐ ครูปยิ วรรณ
าร มที กั ษะความรทู้ ่ี
ทักษะทจ่ี าเป็นใน
1 (3R๘C)

ยนมคี วามเปน็ เลศิ ๘๐ ๘๓ ๘๖ ๔๐,๖๑๕ ครูอนศุ กั ด์ิ
าร มที กั ษะความรทู้ ่ี
ทักษะทจ่ี าเปน็ ใน

1 (3R๘C)

คนมที ักษะพนื้ ฐานในการ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๓0,๐๐๐ ครณู ฐั ณชิ า
มารถดารงชีวติ อยู่ใน ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๑๐,0๐๐ ครูจิราภรณ์
มคี วามสขุ มคี วาม
านความคดิ สามารถ
ผูอ้ ่ืนได้ ภายใต้สงั คมที่
รรม

มรรถนะสาคญั ตาม
ษะการเรียนรู้ในศตวรรษ

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 32

โครงการ/กจิ กรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตัวชีว้
กลยทุ ธ/์ เป้าประสงค์ (Key Perfor
๑๐. โครงการพัฒนาระบบ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษา (พ้ืนฐาน ป.๓.๑ , ๓.๕) ๒. ผเู้ รียนทกุ ค
ภายในสถานศกึ ษา กลยทุ ธ์ที่ ๑ , ๒ ดารงชีวติ สาม
เป้าประสงคท์ ี่ ๓ สังคมไดอ้ ยา่ งม
ยืดหยนุ่ ทางด้า
นโยบายท่ี ๖ ตัวชี้วัดท่ี ๔ , ๕ ทางานร่วมกบั ผ
มาตรฐานที่ ๒ (ปฐมวยั ป.๒.๖) เปน็ พหวุ ฒั นธร
มาตรฐานที่ ๒ (พื้นฐาน ป.๒.๑ , ๑. รอ้ ยละของ
ป.๒.๒) มีส่วนร่วมของท
กลยทุ ธ์ที่ ๕ ผู้บรหิ าร ครู น
เปา้ ประสงค์ท่ี ๕ คณะกรรมการ
ในการพัฒนาก
๒. ร้อยละของ
ผู้ปกครอง รวม
เอกชน มสี ว่ นร
สถานศึกษา
๓. ร้อยละของ
สถานศึกษา ป
ทีก่ าหนด กาก
ขับเคลื่อนการด
สถานศกึ ษาให
เป้าหมาย

วัดความสาเรจ็ เป้าหมาย (รอ้ ยละ) งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ

rmance Indicators) ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕

คนมที ักษะพนื้ ฐานในการ

มารถดารงชีวติ อยใู่ น
มคี วามสขุ มีความ
านความคดิ สามารถ

ผู้อืน่ ได้ ภายใต้สงั คมท่ี
รรม

งสถานศึกษาสง่ เสรมิ การ ๘๐ ๘๓ ๘๖ ๒๑,๐๐๐ ครพู รศรี

ทุกภาคส่วน ไดแ้ ก่
นักเรียน ผูป้ กครอง
รสถานศกึ ษาและชมุ ชน

การศกึ ษา
งผปู้ กครอง และเครือขา่ ย
มท้งั องคก์ รภาครัฐและ

ร่วมในการพฒั นา

งคณะกรรมการ

ฏิบัตหิ นา้ ท่ีตามระเบยี บ
กบั ตดิ ตาม ดูแล และ
ดาเนนิ งานของ

หบ้ รรลุผลสาเรจ็ ตาม

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 33

โครงการ/กจิ กรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตัวชีว้

กลยทุ ธ์/เป้าประสงค์ (Key Perfor

๑๑. โครงการศึกษาแหลง่ นโยบายท่ี ๑ ตวั ชวี้ ัด ๑ ๑.ร้อยละของผ
เรยี นรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ
มาตรฐานท่ี ๑ (พนื้ ฐาน ป.๑.๒) แสดงออกถงึ ค
๑๒. โครงการพัฒนาศกั ยภาพ กลยุทธ์ที่ ๕ ของชาติ ภมู ิใจ
ครูสู่ Smart Teacher เปา้ ประสงค์ที่ ๕ ไทย

นโยบายที่ ๓ ตัวชีว้ ดั ท่ี ๑-๗ ๑. ผู้บรหิ าร คร
มาตรฐานที่ 2 (ปฐมวัย ป.2.๓) ๘๐ ขึ้นไป ได้ร
มาตรฐานที่ 2 (พืน้ ฐาน ป.2.4) เช่ียวชาญทางว

มาตรฐานท่ี ๓ (ปฐมวัย ป.๓.๑- ต้องการของคร
๓.๔ ) ๒. สถานศึกษา
มาตรฐานท่ี ๓ (พ้ืนฐาน ป.๓.๑- เรยี นรู้ทางวิชา

๓.๕) ปรับปรงุ การจัด
กลยุทธท์ ี่ ๒ ๓. ครูรอ้ ยละ ๘
เป้าประสงคท์ ่ี ๒ ผา่ นการกระบว

ตามมาตรฐานก
สถานศกึ ษา มีแ
นวัตกรรมในกา

การเผยแพร่
๔. ครรู ้อยละ ๘
เทคโนโลยสี าร

รวมทง้ั ภมู ปิ ัญญ
เรียนรู้โดยสร้า

วดั ความสาเร็จ เป้าหมาย (รอ้ ยละ) งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ

rmance Indicators) ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕

ผเู้ รยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมที่ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๓๐,๐00 ครกู อบเกอ้ื

ความรักในสถาบันหลกั
จในท้องถ่นิ และความเปน็

รูและบคุ ลากร รอ้ ยละ ๘๐ ๘๕ ๙๐ 5๕,๐๐๐ ครูกฤตยพร
รับการพฒั นาให้มคี วาม
วชิ าชีพตรงกับความ

รแู ละสถานศึกษา
าและจัดให้มีชมุ ชนการ
าชพี เพื่อพฒั นาและ

ดการเรียนรู้
๘๐ ข้นึ ไป จดั การเรยี นรู้
วนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ

การเรยี นร้ขู องหลกั สตู ร
แผนการเรียนรู้ มี
ารจัดการเรยี นรแู้ ละมี

๘๐ ข้นึ ไป ใชส้ ือ่
รสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้
ญาทอ้ งถน่ิ ทีเ่ อ้อื ตอ่ การ
างโอกาสใหผ้ เู้ รียน

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 34

โครงการ/กจิ กรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตวั ชีว้
กลยุทธ์/เปา้ ประสงค์ (Key Perfor

๑๓. โครงการเสรมิ สรา้ ง นโยบายท่ี ๓ ตวั ชวี้ ัดที่ ๑-๗ แสวงหาความร
ศักยภาพผู้บริหารสถานศึกษา ๕. ครรู ้อยละ ๘
มาตรฐานท่ี 2 (ปฐมวัย ป.2.๓) จัดการช้นั เรยี น
มาตรฐานที่ 2 (พื้นฐาน ป.2.4) เรียนรแู้ ละเรยี
มาตรฐานท่ี ๓ ความสขุ
๖. ครรู อ้ ยละ ๘
(ปฐมวัย ป.๓.๑-๓.๔ ) ผูเ้ รยี นอยา่ งเป
มาตรฐานท่ี ๓ เครื่องมอื และว
(พื้นฐาน ป.๓.๑-๓.๕) ทเ่ี หมาะสมกบั
เรียนรู้และนาผ
กลยุทธท์ ่ี ๒
เป้าประสงค์ท่ี ๒ ๑. ผ้บู รหิ าร คร
๘๐ ขนึ้ ไป ไดร้
เช่ียวชาญทางว
ตอ้ งการของคร
๒. สถานศกึ ษา
เรียนรทู้ างวชิ า
ปรบั ปรงุ การจดั
๓. ครรู อ้ ยละ ๘
ผ่านการกระบว
ตามมาตรฐานก
สถานศกึ ษา มแี
นวัตกรรมในกา

วดั ความสาเรจ็ เปา้ หมาย (รอ้ ยละ) งบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ
rmance Indicators) ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕

รู้ดว้ ยตนเอง
๘๐ ขึ้นไป มีการบริหาร
นเชิงบวก เด็กรักทจ่ี ะ
ยนรู้รว่ มกันอย่างมี

๘๐ ข้นึ ไป ตรวจสอบ
ปน็ ระบบ มีขนั้ ตอนโดยใช้
วธิ กี ารวดั และประเมินผล

บเป้าหมายในการจดั การ
ผลมาพัฒนาผ้เู รียน

รแู ละบคุ ลากร รอ้ ยละ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๑๒,00๐ ครกู ฤตยพร

รบั การพฒั นาให้มีความ
วิชาชพี ตรงกบั ความ
รแู ละสถานศึกษา

าและจัดให้มีชมุ ชนการ
าชีพเพือ่ พฒั นาและ
ดการเรียนรู้

๘๐ ขน้ึ ไป จดั การเรียนรู้
วนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ
การเรียนรู้ของหลกั สูตร

แผนการเรียนรู้ มี
ารจดั การเรียนรแู้ ละมี

แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จา ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๕ ห น้ า I 35

โครงการ/กิจกรรม สนองนโยบาย/มาตรฐาน/ ตวั ชว้ี
กลยทุ ธ์/เป้าประสงค์ (Key Perfor
๑๔. โครงการพัฒนา
สภาพแวดล้อมแหลง่ เรยี นรู้ นโยบายที่ 1 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 7 การเผยแพร่
คู่ความปลอดภยั นโยบายที่ 5 ตัวช้วี ดั ที่ 4 ๔. ครูรอ้ ยละ ๘
มาตรฐานท่ี 2 (พื้นฐาน ป.2.5) เทคโนโลยีสาร
มาตรฐานที่ 2 (ปฐมวยั ป.2.4) รวมทั้งภมู ปิ ัญญ
กลยทุ ธ์ท่ี ๓ เรยี นรูโ้ ดยสรา้
เป้าประสงค์ท่ี ๓ แสวงหาความร
๕. ครรู ้อยละ ๘
จัดการชั้นเรียน
เรียนร้แู ละเรีย
ความสขุ
๖. ครรู อ้ ยละ ๘
ผู้เรียนอย่างเป
เคร่อื งมอื และว
ทเี่ หมาะสมกบั
เรยี นร้แู ละนาผ

1. สถานศึกษา
กิจกรรมการเร
ถงึ ความรักในส
2. สถานศึกษา
กายภาพทเี่ อ้ือ


Click to View FlipBook Version