The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Bookการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชุดที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0329, 2021-04-06 08:38:53

E-Bookการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชุดที่ 3

E-Bookการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชุดที่ 3

E – Book ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์
สาหรบั การศึกษาวชิ าวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยตนเอง

เร่อื ง การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ชดุ ท่ี 3 สิ่งมชี วี ิตดัดแปรพันธุกรรม

Scan Me

ท่ีมา:https://www.google.com/search?q=%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E
0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E

ข้อปฏบิ ตั ใิ นการใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ ข้อปฏิบัตใิ นการใช้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์
โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะความรู้สาหรบั ครู โดยใช้กระบวนการสบื เสาะความรู้สาหรบั นกั เรียน

1. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เรื่องการถา่ ยทอดลกั ษณะทาง 1. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์นี้ คือ ชดุ ที่ 3 ส่ิงมชี วี ิตดัดแปรพนั ธุกรรม
พนั ธกุ รรม ประกอบด้วยชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ทง้ั หมด 3 ชดุ ดังน้ี จดั ทาขึน้ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นได้เรยี นรโู้ ดยกระบวนการสบื เสาะด้วยตนเองให้ได้มากที่สดุ
มีความรอบรเู้ กิดทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเกิดเจตคตทิ ่ีดีต่อวิชา
ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ชดุ ท่ี 1 โครโมโซมและการค้นพบของเมน วทิ ยาศาสตร์
เดล 2. นักเรียนจะตอ้ งเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ ตามลาดับขั้นตอนของกิจกรรม
ต่างๆ โดยมีคาแนะนา ดังน้ี
ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ชดุ ที่ 2 โครโมโซมของมนุษย์และความ
ผดิ ปกตทิ างพันธุกรรม 2.1 อ่านและทาความเข้าใจการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้เขา้ ใจ
2.2 ร่วมกนั ศกึ ษา วางแผน ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ดว้ ยความรอบคอบ
ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ชดุ ท่ี 3 ส่ิงมีชีวติ ดดั แปรพันธุกรรม 2.3 ใชเ้ วลาทากจิ กรรมอย่างคมุ้ ค่า
2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรน์ ้ี คอื ชดุ ท่ี 3 ส่งิ มีชวี ิตดัดแปรพนั ธุกรรม
ใชเ้ ป็นส่อื การเรยี นรู้ ประกอบการใช้แผนการจดั การเรียนเรยี นรทู้ ่ี 1โครโมโซมและ
การค้นพบของเมนเดล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 โครโมโซมของมนษุ ยแ์ ละความผิดปกตทิ างพันธกุ รรม
และแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 ส่ิงมีชีวิตดัดแปรพนั ธุกรรม
3. ครคู วรศึกษาคาแนะนาในการชุดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้เขา้ ใจก่อนจัดกจิ กรรม
4. ครูต้องช้แี จงขัน้ ตอนการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรใ์ หน้ ักเรยี น
เข้าใจทุกคนกอ่ นดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ
5. หากนกั เรยี นมขี อ้ สงสยั ในการเรยี นรู้โดยใชช้ ุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ครูควร
แนะนาเพิม่ เติม อาจใหน้ กั เรียนไดป้ ฏิบัติกจิ กรรมทั้งในและนอกเวลาเรียนจะทาให้
ผเู้ รยี นมีความรคู้ วามเข้าใจมากยิง่ ขนึ้

ครูผสู้ อน รงุ่ นภา นว่ มนอ้ ย ครูผู้สอน รงุ่ นภา น่วมนอ้ ย

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะความรู้ แบบทดสอบก่อนเรยี น
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ชุดท่ี 3 ส่ิงมีชวี ติ ดดั แปรพันธกุ รรม

เรอ่ื ง การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม คาชี้แจง 1. ขอ้ สอบเปน็ แบบปรนัยมีท้ังหมด 10 ขอ้ 10 คะแนน
ชุดท่ี 3 สิ่งมีชีวติ ดดั แปรพันธุกรรม
2. จงกาเครอื่ งหมาย X ทับตวั อกั ษร ก ข ค ง ท่ีถกู ตอ้ งที่สดุ เพียงขอ้ เดียว
สาระสาคญั
หลกั การของพันธวุ ิศวกรรม คือ การตัดต่อยีนโดยการตัดดีเอ็นเอของส่ิงมีชีวิตชนิดหนึ่งแล้ว 1. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งเกี่ยวกบั จเี อม็ โอ (GMOs)
หมายเลข 1. ส่ิงมีชีวติ ที่ไดร้ บั การดัดแปลงพันธุกรรมโดยใช้เทคนิคพันธวุ ศิ วกรรม 2. การทีย่ ีน
นาไปต่อเช่ือมกับดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตอีกหน่ึงชนิด เกิดเป็นดีเอ็นเอลูกผสมที่มีคุณสมบัติตรงตาม ของส่งิ มชี ีวิตหน่ึงถา่ ยทอดให้กับสิ่งมีชวี ิตอ่ืน โดยมีพาหะเปน็ เคร่อื งนาพา ซ่ึงเกิดขึน้ เองตาม
ต้องการเม่ือนาดีเอ็นเอสายผสมเข้าสู่เซลล์ผู้รับ จะทาให้ได้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม หรือจีเอ็มโอ ธรรมชาติ 3. พืชและสตั ว์ที่ได้รบั การปรับปรงุ คุณสมบตั ใิ หด้ กี วา่ เดิม เปน็ ผลมาจากการตดั แตง่
(GMO) การโคลนในสัตว์ คือ การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาโดยใช้แหล่งของสารพันธุกรรมจากเซลล์ ยนี
ร่างกายไปใส่แทนท่ีในเซลล์ไข่ที่ปราศจากนิวเคลียส ทาให้ได้สัตว์ตัวใหม่ที่มีลักษณะทางพันธุกรรม ก. เฉพาะ 1 ข. เฉพาะ 3
เหมือนกับสัตว์ท่ีเป็นเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ การโคลนในพืช คือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ โดย ค. 1 และ 3 ง. 1 , 2 และ 3
นาเอาเน้ือเยอ่ื ของพชื สว่ นที่เปน็ เนอื้ เยื่อเจริญมาเพาะเลี้ยงในอาหารสงเคราะห์ที่เหมาะสมในสภาพ 2. สัตวใ์ นข้อใดนิยมนามาปรับปรงุ พันธโุ์ ดยวธิ ีการถ่ายฝากตัวอ่อน
ปลอดเช้ือ จริยธรรมกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพันธุกรรม ระบบพัฒนาองค์ความรูและการประ ก. เปด็ หา่ น ข. โค กระบือ
ยุกตใชองคความรูทาง พันธุกรรมให้สมบูรณ เกิดจากมีตัวป้อน (Input) เขาสู่กระบวนการ ค. สุกร สนุ ขั ง. ปลาสวาย ปลาตะเพยี น
(Process) ทาใหเกิดผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ (Outcome) ขึ้น ตัวปอนทางพันธุกรรม คือ 3. การผสมเทยี มจะสามารถทาไดก้ ับส่งิ มชี ีวติ ที่มีการปฏิสนธแิ บบใด
ความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับพันธุกรรม ไดแกขอเท็จจริง ทฤษฎีกฎ หลักการ รวมทั้งเทคนิคตาง ๆ ท่ีจะ ก. ภายในมดลกู ข. ภายนอกมดลกู
นาเขาสูกระบวนการท่ีเปนวิธีการ ทางวิทยาศาสตร (Scientific method) ซึ่งมีลาดับขั้นตอนที่ ค. ภายในและภายนอก ง. ภายในและภายนอกมดลกู
ประกอบดวยข้ันตอนตางๆ ตามลาดับ คือ กาหนดปญหา ตั้งสมมติฐาน ทดลอง วิเคราะหสรุปผล 4. ดอกไม้ชนดิ เดยี วกัน นาไปปลกู ในพ้นื ท่ตี ่างๆ กัน ปจั จัยใดมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตนอ้ ยที่สดุ
และการนาไปใช จนทาใหเกิดผลผลิตหรือ ผลลัพธ ในสวนของกระบวนการหากนาจริยธรรมซ่ึงได ก. ความชืน้ ข. พนั ธกุ รรม
จากหลักพุทธธรรมมาใช จะทาใหเกิด ผลผลิตหรือผลลัพธเปนความรูที่สมบูรณ หรือเปนการประ ค. ภูมิอากาศ ง. แรธ่ าตใุ นดิน
ยุกตใชที่สอดคลองกบั บรบิ ทตางๆ ไดแก มนุษย สังคม และส่งิ แวดลอมกอใหเกดิ ระบบความสมั พันธ 5. ถ้านาววั รุ่นลูกมาผสมกนั เอง จะได้ววั ร่นุ หลานเปน็ อย่างไร
ท่ีเออื้ อานวยประโยชนเก้ือกลู แกกนั นาไปสกู ารพัฒนาท่ียงั่ ยนื ไดในที่สดุ ก. ไดว้ ัวมเี ขาทัง้ หมด
ข. ไดว้ วั ไมม่ ีเขาทง้ั หมด
จุดประสงค์การเรียนรู้ ค. ไดว้ วั มีเขาและไม่มีเขาอย่างละเทา่ ๆกัน
1. อธิบายการใชป้ ระโยชนจ์ ากส่ิงมีชวี ติ ดัดแปรพันธกุ รรมและผลกระทบทอ่ี าจมตี อ่ มนษุ ย์ ง. ได้วัวมเี ขา 3 สว่ น และไม่มเี ขา 1 สว่ น
และสิ่งแวดลอ้ ม โดยใชข้ อ้ มลู ท่รี วบรวมได้ (K)
2. ตระหนกั ถึงประโยชนแ์ ละผลกระทบของสง่ิ มชี วี ติ ดัดแปรพนั ธกุ รรมที่อาจมตี ่อมนษุ ย์
และสงิ่ แวดลอ้ มโดยการเผยแพรค่ วามร้ทู ี่ไดจ้ ากการโต้แย้งทางวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ มี
ข้อมลู สนับสนนุ ได้ (K)
4. เขยี นแผนภาพจรยิ ธรรมด้านพันธุศาสตรไ์ ด้ (P)
5. สามารถทางานร่วมกับผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ (A)

เวลาทใ่ี ช้ 3 ชว่ั โมง

ขอ้ 6 – 10 จงพจิ ารณาคาถามตอ่ ไปนว้ี า่ ถกู ตอ้ งหรือไม่ เลอื กตอบเฉพาะข้อ ก หรอื ข กระดาษคาตอบ

ก. ถกู ตอ้ ง ข. ผดิ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนทาเครือ่ งหมาย X ลงในชอ่ งวา่ งใหต้ รงกับคาตอบท่ี
นกั เรียนเลอื ก
6. ส่งิ มชี ีวติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม หรอื จีเอ็มโอ (GMO: genetically modified
organism) ขอ้ ก ข ค ง
1
7. การอนรุ กั ษ์สตั วแ์ ละพืชที่ใกล้สญู พันธ์เุ ปน็ อีกวิธหี นง่ึ ของการอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย 2
ทางชวี ภาพ 3
4
8. การผสมเทียมใช้กบั สตั ว์ทม่ี กี ารปฏิสนธภิ ายในเทา่ นัน้ 5
6
9. เทคนคิ วิธกี ารท่ีนาเอายนี จากสงิ่ มีชวี ิตหน่ึงหรือนายีนทีส่ งั เคราะหข์ นึ้ ใส่เขา้ ไปในอีก 7
สิง่ มีชีวติ หนึ่ง เพื่อใหท้ าหน้าท่ีทางพันธกุ รรมได้ เปน็ วธิ ีการทางพนั ธวุ ิศวกรรม 8
9
10. โคลนนิง่ คอื การขยายพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ 10

คะแนนทีไ่ ด้
.........................

พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) นอกจากน้ีความรู้ทางด้านพันธุวิศวกรรมยังถูกนามาใช้ในทางการเกษตร
โดยพชื ทนี่ ิยมนามาตัดแตง่ ยนี ได้แก่ ฝา้ ยบีที ซึ่งมีคุณสมบัติต้านทานแมลง เกิด
เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) คือ การใช้ประโยชน์จากส่ิงมีชีวิต จ า ก ก า ร ถ่ า ย ยี น จ า ก แ บ ค ที เ รี ย บ า ซิ ล ลั ส ทู ริ ง เ จ น ซิ ส ( Bacillus
หรือระบบของสิ่งมีชีวิต เพ่ือผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดย thuringiensis) เข้าไปในฝ้าย โปรตนี จากยีนนี้จะเป็นพิษต่อแมลงกลุ่มหนึ่ง จึง
กระบวนการที่นักวิทยาศาสตร์พัฒนาขึ้น เช่น พันธุวิศวกรรม (genetic ทาใหฝ้ า้ ยมีความต้านทานต่อแมลงกลุ่มนี้ด้วย นอกจากน้ีพืชอีกหลายชนิด เช่น
engineering) และ การโคลน (clone) รวมไปถึงเทคโนโลยีชีวภาพด้าน มะละกอ มะเขือเทศ ข้าวโพด ถว่ั เหลือง และมนั ฝรง่ั ก็นิยมนามาตดั แต่งยนี
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต เ พื่ อ ผ ลิ ต ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ค ว า ม คุ้ ม ค่ า ท า ง ก า ร ค้ า
พันธุวิศวกรรมหรือเรียกอีกอย่างว่า การสร้าง ดีเอ็นเอสายผสม (DNA
recombination) มีหลักการคือ การตัดดีเอ็นเอของส่ิงมีชีวิตชนิดหน่ึงท่ีมียีนที่
ตอ้ งการแลว้ นาไปเชือ่ มต่อกับดเี อน็ เอของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหน่ึง เกิดเป็นส่ิงมีชีวิตที่มี
ดีเอ็นเอลูกผสมท่ีมีคุณสมบัติตรงตามต้องการ เรียกว่า ส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
หรือ จีเอ็มโอ (GMO: genetically modified organism) วิธีการทางพันธุ
วิศวกรรมน้ีได้นามาผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ ซึ่งพบได้น้อยในธรรมชาติ เช่น ฮอร์โมน
อินซูลินสาหรับใช้รักษาโรคเบาหวาน ทาได้โดย ตัดส่วนยีนอนซูลินท่ีต้องการออก
จากโครโมโซมด้วยเอนไซม์ตัดจาเพาะ (restriction enzyme) แล้วน้าช้ินส่วน
ของยนี ทไี่ ดม้ าเช่อื มต่อกบั ดเี อน็ เอพาหะ เช่น พลาสมิด (plasmid) ซึ่งเป็นดีเอ็นเอ
ท่ีแยกได้จากแบคทีเรียท่ีตัดด้วยเอนไซม์ตัดจาเพาะชนิดเดียวกับเอนไซม์ท่ีตัดยีน
อินซูลิน จากนั้นเชื่อมพลาสมิดให้ติดเข้ากับยีนอินซูลิน ได้เป็นดีเอ็นเอสายผสม
(recombinant DNA) แล้วใส่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรียท่ีเป็นเซลล์ผู้รับ (host) และ
นาไปขยายพันธุ์เพ่ิมจานวน ก็จะได้ยีนท่ีผลิตฮอร์โมนอินซูลินจานวนมากออกมา

การโคลน (cloning) ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (DNA fingerprint) คือ รูปแบบของแถบดีเอน็ เอซึ่งมีลกั ษณะเฉพาะของ
แตล่ ะบุคคล นามาใช้ในการตรวจลายพิมพด์ เี อน็ เอในการพสิ ูจน์บคุ คลผู้ตอ้ งสงสยั ในคดีต่าง ๆ
การโคลนสตั ว์ เป็นการสร้างสตั วต์ วั ใหม่โดยใชแ้ หลง่ ของสารพนั ธุกรรมจาก ทางกฎหมาย โดยอาศัยความรเู้ กีย่ วกับลาดบั เบสซา้ ของดีเอน็ เอ เช่น CACACACA ซึ่งในแตล่ ะ
เซลลร์ า่ งกาย ทาใหไ้ ด้สัตวต์ ัวใหม่ทีม่ รี ปู รา่ ง หนา้ ตา และลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม บคุ คลจะมจี านวนและตาแหนง่ ของลาดบั เบสซ้าไมเ่ หมือนกนั การตรวจหาตาแหน่งของดีเอน็
เหมือนกับสตั วท์ ี่เปน็ เจ้าของเซลล์ทีเ่ ปน็ แหล่งของสารพนั ธกุ รรม โดยสัตวต์ วั แรกท่ี เอจะใชช้ น้ิ ดเี อ็นเอตรวจสอบหรอื โพรบทตี่ ดิ ฉลากด้วยสารรงั สแี ละฟิลม์ เอกซเรย์ ซง่ึ ผลปรากฏ
ทาการโคลนได้สาเร็จ คอื แกะดอลลี ซึ่งเกดิ จากการนาเอานวิ เคลยี สทีม่ ีดเี อน็ เอจาก ออกมาจะมีลกั ษณะเปน็ แถบเหมือนบาร์โคด้ (bar code) ตอ่ มาไดม้ กี ารพัฒนาการตรวจโดย
เซลล์เนอ้ื เยอ่ื บรเิ วณเต้านมของแกะตัวต้นแบบ มาใสล่ งในเซลลไ์ ขท่ ่ยี ังไม่ได้รบั การ ใช้ปฏกิ ริ ยิ าลูกโซพ่ อลิเมอเรสหรือพซี ีอาร์ (PCR: Polymerase Chain Reaction) ควบคู่
ผสมท่ดี ูดเอานิวเคลยี สออกแล้วจากแม่แกะตวั ที่ 2 ทาใหเ้ ซลลไ์ ข่แบ่งเซลล์และเจรญิ กับสารเรอื งแสง แลว้ อา่ นจากเครือ่ งตรวจอตั โนมัติ ผลท่ีได้จะเปน็ เส้นกราฟตามตาแหนง่ ต่าง
เปน็ ตวั ออ่ น จากน้ันนาไปถา่ ยฝากไว้ในมดลกู ของแกะตวั ที่ 3 (แมอ่ ุม้ บุญ) เพ่อื ให้ ๆ ซง่ึ ไดผ้ ลแม่นยามากขึน้
เจริญเตบิ โตตอ่ ไป ความกา้ วหนา้ ทางพันธุศาสตรแ์ ละเทคโนโลยชี วี ภาพ

การโคลนอกี อยา่ งหนง่ึ คอื การเพาะเลี้ยงเนอื้ เย่อื ทาได้โดยนาเอาเนือ้ เย่ือ ปัจจุบนั นกั วิทยาศาสตร์ได้ให้ความสนใจการศึกษาในระดับยีนของสิง่ มีชีวติ โดยการทา
ของพชื สว่ นทเี่ ป็นเนื้อเยอ่ื เจรญิ มาเล้ียงในขวดเพาะเลีย้ งทม่ี วี นุ้ และอาหารเลี้ยง ซ่ึง แผนทีย่ ีน (gene mapping) หรือแผนท่ีจีโนม (genome mapping) เพอื่ ศกึ ษาเกย่ี วกับ
มีธาตอุ าหาร วติ ามนิ และฮอรโ์ มนพชื ในสภาพปลอดเชอ้ื จลุ นิ ทรีย์ หรอื ส่ิงมชี ีวติ อืน่ ตาแหนง่ ของยนี บนโครโมโซม รวมถงึ หน้าทแ่ี ละความสาคัญ เพอ่ื นาไปวินิจฉัยและรักษาความ
ๆ ปนเป้ือน จะได้ต้นออ่ นของพืชทม่ี ลี ักษณะทางพนั ธกุ รรมเหมือนพืชตน้ แบบทุก ผิดปกติของยีนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขน้ึ ในอนาคต เชน่ การรกั ษาโรคทาลัสซีเมีย และ
ประการ จากน้นั ก็นาไปแยกเล้ียงเพอ่ื ให้เจรญิ เตบิ โตต่อไป โรคอ่ืน ๆ โดยการเปลย่ี นสลับใส่ยนี ปกตเิ ข้าไปทางานแทนยีนที่ผิดปกติ เรยี กวิธกี ารรกั ษาน้ี
ว่า ยีนบาบัด (gene therapy) ซง่ึ มกี ารศึกษาค้นควา้ กนั อยา่ งกวา้ งขวางในปจั จบุ ัน
ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพ

ประโยชน์และผลกระทบที่เกิดจากเทคโนโลยชี วี ภาพ
ด้านพันธุวศิ วกรรม นามาใชใ้ นการปรับปรุงพันธพุ์ ชื ทาใหส้ ามารถกาหนดคณุ สมบตั ิ
ของพชื ไดต้ ามต้องการ ซ่งึ ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ดังนี้
1. ทาให้ได้พนั ธ์พุ ืชท่ีมีคณุ สมทบ่ีมัตาิตภา้ านพส: Tาrรuเคeมpีแloลoะkตp้าaนnทyาaนแมลงบางชนิด จึงช่วยลดการใช้
สารเคมี และรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งได้พันธุ์พชื ท่ตี ้านทานต่อโรค ผลผลติ จึงมคี ณุ ภาพดี
2. ทาใหไ้ ด้พันธพ์ุ ชื ท่ใี หผ้ ลผลิตสูงและเจริญเตบิ โตไดด้ ใี นสภาพแวดลอ้ มที่ไม่เหมาะสม
3. ทาใหไ้ ด้พนั ธุ์พชื ทม่ี คี ณุ ค่าทางโภชนาการสูง เชน่ มีสารอาหารมากขึน้ มรี สชาติดีขึ้น

ดา้ นการโคลนสัตว์ มผี ลดีและผลกระทบดงั น้ี จริยธรรมกับการประยุกตใชเทคโนโลยีพันธุกรรม จะเห็นไดวา ระบบพัฒนาองค
1. มนษุ ย์สามารถสรา้ งพันธส์ุ ตั วข์ ้ึนมาใหม่ได้ ความรูและการประยุกตใชองคความรูทาง พันธุกรรมใหสมบูรณ เกิดจากมีตัวปอน
2. มนุษยส์ ามารถคดั สรรและสรา้ งสิง่ มชี วี ิตทีต่ อ้ งการขน้ึ มาได้ ทาให้ความ (Input) เขาสู กระบวนการ (Process) ทาใหเกิดผลผลิต (Output) หรือ ผลลัพธ
หลากหลายทางชวี ภาพอาจหมดส้นิ ไป (Outcome) ขน้ึ ตัวปอนทางพันธุกรรม คือความรพู ื้นฐานเก่ียวกับพันธุกรรม ไดแกข
3. ความรูด้ า้ นการโคลนสามารถนามาใชใ้ นการคน้ คว้าทางการแพทย์ ช่วยใหม้ ี อเท็จจริง ทฤษฎกี ฎ หลักการรวมทั้งเทคนิคตาง ๆ ที่จะนาเขาสูกระบวนการท่ีเปน
โอกาสท่จี ะรกั ษาโรคท่ยี ังไม่รู้จกั และยังรกั ษาไมไ่ ด้ วิธีการทางวิทยาศาสตร (Scientific method) ซึ่งมีลาดับขั้นตอนท่ีประกอบดวย
4. การโคลนอาจช่วยให้สตั วท์ ่ีสญู พนั ธ์มุ ีชีวิตขน้ึ มาใหม่ โดยอาศัยดเี อน็ เอจากศพ ขั้นตอนตางๆ ตามลาดบั คอื กาหนดปญหา ต้ังสมมติฐาน ทดลอง วิเคราะหสรุปผล
หรอื ซากของส่งิ มชี วี ติ นัน้ ที่มสี ่วนกาหนดพนั ธกุ รรมครบถ้วน และการนาไปใชจนทาใหเกิดผลผลิตหรือ ผลลัพธ ในสวนของกระบวนการหากนา
จรยิ ธรรมซงึ่ ไดจากหลักพุทธธรรมมาใช จะทาใหเกิด ผลผลิต หรือผลลัพธเปนความ
ปัญหาทเี่ กดิ ขึน้ จากการโคลนจะเปน็ ปญั หาในดา้ นจริยธรรมและผลกระทบ รูท่ีสมบูรณ หรอื เปนการประยกุ ตใชท่สี อดคลองกับบรบิ ทตางๆ
ตอ่ สงั คมทีอ่ าจเกดิ ขึน้ ได้ เนอื่ งจากอาจถกู นามาใช้เพื่อวตั ถุประสงคใ์ นทางลบ เช่น จริยธรรมท่ีไดมาจากหลักพุทธธรรมและนาจะนามาใชในกระบวนการของระบบ
การโคลนมนุษยแ์ ล้วขงั เลี้ยงไวเ้ พอ่ื เอาอวยั วะ ทาให้ในหลายประเทศไดอ้ อก พัฒนาองคความรู และการประยุกตใชองคความรูทางพันธุกรรมใหสมบูรณ ไดแก
กฎหมายห้ามการศกึ ษาวจิ ัยในเร่ืองการโคลนมนุษย์ อรยิ สจั 4 สตสิ ัมปชัญญะ ไตรสิกขา อิทธบิ าท 4 และพรหมวิหาร 4 โดยเร่ิมจากเม่ือ
มีปญหาเกิดข้ึนใชหลัก อริยสัจ 4 (ทุกข สมุหทัย นิโรธ มรรค) สติสัมปชัญญะและ
ในระดับนานาชาติไดม้ ีการจัดทาข้อกาหนดและแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ความ ไตรสิกขา (ศีล สมาธิปญญา) ในการ พิจารณาหาแนวทางแกไขปญหาเพื่อใหงาน
ปลอดภัยทางชวี ภาพ ภายใต้อนสุ ัญญาว่าด้วยความหลากหลายทาง สาเร็จลุลวงดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ ขณะ แกปญหาหรือปฏิบัติงานใช
ชวี ภาพ (Convention on Biological Diversity: CBD) ซงึ่ มีสาระสาคญั วา่ ผู้ อิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) เมื่อจะนาผลท่ีไดจากการ แกปญหาไป
สง่ ออกสินค้าประเภททีไ่ ด้จากสงิ่ มีชีวติ ดัดแปรพนั ธุกรรม ผลิตภณั ฑ์จีเอม็ (GM ประยุกตใชจรงิ ยดึ หลักพรหมวทหิ่ีมาาภราพ4: T(เrมuตepตlาoกoรkณุpaาnya
products) ตอ้ งให้ขอ้ มูลอยา่ งละเอยี ดตอ่ ประเทศผนู้ าเขา้ รวมทงั้ จัดทาการ มทุ ติ าอุเบกขา)
ประเมินความเส่ยี งเพอื่ ขออนญุ าตการนาเขา้ และประเทศผนู้ าเข้าก็ตอ้ งมมี าตรการ
ในการตรวจสอบด้วยเชน่ กัน

เพียงแค่แสกน QR Code
พันธวุ ศิ วกรรม งา่ ยนิดเดียว

ท่มี า ภาพ : Trueplookpanya

ใบกิจกรรมท่ี 1
เรอื่ ง สิง่ มชี วี ติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม

วธิ ีปฏบิ ตั กิ ิจกรรม หัวขอ้ ข้อมูลเกย่ี วกับส่ิงมชี วี ิตดดั แปรพันธุกรรม หรอื GMOs
1. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สบื คน้ และรวบรวมข้อมลู เกยี่ วกบั สง่ิ มชี วี ติ ดัดแปรพันธุกรรม
หรอื GMOs โดยสุ่มตัวเลข (Random Number Generator) วา่ แต่ละกลมุ่ ได้หัวข้อ การตรวจสอบความ
หมายเลขอะไร ปลอดภัยทางชวี ภาพกอ่ น
2. สมาชิกในกลุม่ นาเสนอขอ้ มลู นาไปใชป้ ระโยชน์
3. นักเรียนรว่ มกันอภิปรายสรปุ ผล

หัวข้อ ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งมีชีวติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม หรือ GMOs ความเสี่ยงในการใช้ส่งิ มีชีวติ
ดัดแปรพนั ธุกรรมตอ่
ขน้ั ตอนการสรา้ งสงิ่ มชี ีวติ ดัดแปร สุขอนามยั ของมนุษย์และ
พนั ธกุ รรม สตั ว์

ประโยชนท์ างด้าน ผลกระทบของส่งิ มชี ีวิตดดั
การเกษตร แปรพนั ธกุ รรมตอ่
สง่ิ แวดล้อมและเศรษฐกิจ

ใบกิจกรรมท่ี 2 2. จริยธรรมกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพันธุกรรม ซึ่งมีวิธีการทางวิทยาศาสตร
เรื่อง จริยธรรมกับการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยพี ันธกุ รรม (Scientific method) มีลาดับข้นั ตอนใดบา้ ง

วธิ ีปฏิบตั กิ จิ กรรม ……………………………………………………………………………………………………………………
1. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ สืบค้นและรวบรวมข้อมลู เกยี่ วกบั ว่าจรยิ ธรรมกบั ……………………………………………………………………………………………………………………
การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีพนั ธกุ รรม แต่ละกลุ่มเลอื กใชห้ ลกั ธรรมใด ……………………………………………………………………………………………………………………
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ เขยี นแผนภาพลงในกระดาษปรุ๊ฟ ……………………………………………………………………………………………………………………
3. สมาชกิ ในกลุม่ นาเสนอขอ้ มลู ……………………………………………………………………………………………………………………
4. นกั เรียนร่วมกันอภิปรายสรปุ ผล

1. จรยิ ธรรมกับการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีพันธกุ รรม สาหรับจรยิ ธรรมท่ีไดมาจากหลัก
พุทธธรรมและนาจะนามาใชใ้ นกระบวนการของระบบพฒั นาองค์ความรู้ และการ
ประยกุ ต์ใช้องค์ความรูท้ างพันธุกรรมให้สมบูรณ์ นักเรียนคิดว่าหลักธรรมใดเหมาะสมกับ
กลุม่ ของตนเอง โดยเขียนแผนภาพจรยิ ธรรมดา้ นพนั ธุศาสตร์

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี

หลกั ธรรมทใี่ ช้
……………..

แบบทดสอบหลังเรยี น
ชดุ ที่ 3 สิ่งมชี ีวิตดดั แปรพนั ธกุ รรม

คาชีแ้ จง 1. ขอ้ สอบเปน็ แบบปรนยั มีทงั้ หมด 10 ขอ้ 10 คะแนน ข้อ 6 – 10 จงพิจารณาคาถามตอ่ ไปนว้ี า่ ถกู ตอ้ งหรือไม่ เลอื กตอบเฉพาะขอ้ ก หรือ ข

2. จงกาเคร่อื งหมาย X ทบั ตวั อกั ษร ก ข ค ง ที่ถกู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงขอ้ เดียว ก. ถูกตอ้ ง ข. ผิด

1. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องเกี่ยวกบั จีเอ็มโอ (GMOs) 6. สิง่ มชี วี ิตดดั แปรพันธุกรรม หรอื จเี อ็มโอ (GMO: genetically modified
หมายเลข 1. สิ่งมีชีวิตทไี่ ดร้ บั การดดั แปลงพนั ธกุ รรมโดยใชเ้ ทคนิคพันธวุ ศิ วกรรม organism)
2. การทย่ี ีนของสงิ่ มีชีวติ หน่งึ ถ่ายทอดให้กบั ส่ิงมชี ีวติ อ่ืน โดยมพี าหะเปน็ เคร่ืองนาพา ซงึ่
เกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ 3. พชื และสตั วท์ ี่ไดร้ บั การปรบั ปรงุ คุณสมบตั ิให้ดกี วา่ เดมิ เป็นผลมา
จากการตัดแตง่ ยีน 7. การอนรุ กั ษ์สัตวแ์ ละพชื ที่ใกลส้ ูญพันธเ์ุ ปน็ อีกวธิ หี นงึ่ ของการอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย
ก. เฉพาะ 1 ข. เฉพาะ 3 ทางชวี ภาพ

ค. 1 และ 3 ง. 1 , 2 และ 3 8. การผสมเทยี มใช้กบั สัตว์ทม่ี กี ารปฏสิ นธิภายในเทา่ น้นั
2. สตั วใ์ นข้อใดนิยมนามาปรบั ปรุงพนั ธโ์ุ ดยวิธีการถา่ ยฝากตัวอ่อน
ก. เป็ด หา่ น ข. โค กระบือ
ค. สุกร สนุ ัข ง. ปลาสวาย ปลาตะเพยี น 9. เทคนิควธิ ีการท่ีนาเอายนี จากส่ิงมีชีวิตหน่งึ หรอื นายนี ท่สี ังเคราะหข์ น้ึ ใส่เขา้ ไปในอกี
3. การผสมเทียมจะสามารถทาได้กบั ส่งิ มีชวี ติ ท่มี ีการปฏิสนธิแบบใด ส่ิงมีชีวติ หน่ึง เพ่อื ให้ทาหนา้ ทีท่ างพนั ธกุ รรมได้ เป็นวิธกี ารทางพันธวุ ิศวกรรม

ก. ภายในมดลกู ข. ภายนอกมดลกู 10. โคลนนงิ่ คอื การขยายพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ

ค. ภายในและภายนอก ง. ภายในและภายนอกมดลูก
4. ดอกไมช้ นิดเดียวกนั นาไปปลกู ในพืน้ ทต่ี า่ งๆ กัน ปัจจยั ใดมผี ลตอ่ การเจริญเติบโตน้อยทีส่ ุด
ก. ความชนื้ ข. พันธุกรรม
ค. ภมู ิอากาศ ง. แร่ธาตใุ นดิน
5. ถา้ นาวัวรุน่ ลูกมาผสมกนั เอง จะได้ววั รุน่ หลานเป็นอย่างไร
ก. ได้วัวมีเขาทง้ั หมด
ข. ได้วัวไม่มเี ขาท้งั หมด
ค. ไดว้ วั มเี ขาและไมม่ ีเขาอย่างละเทา่ ๆกนั
ง. ได้วัวมีเขา 3 ส่วน และไม่มเี ขา 1 สว่ น

กระดาษคาตอบ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น

คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนทาเครอ่ื งหมาย X ลงในชอ่ งวา่ งใหต้ รงกับคาตอบท่ี ข้อ ก ข ค ง
นักเรียนเลือก 1X
2X
ขอ้ ก ข ค ง 3X
1 4X
2 5X
3 6X
4 7X
5 8X
6 9X
7 10 X
8
9
10

คะแนนท่ีได้
..........................

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 1กจิ กรรมท่ี 1 หวั ขอ้ ขอ้ มลู เกี่ยวกับส่งิ มีชีวติ ดัดแปรพนั ธุกรรม หรอื GMOs
เรื่อง สง่ิ มชี วี ิตดดั แปรพันธกุ รรม

หวั ข้อ ขอ้ มลู เกยี่ วกับสิง่ มชี ีวติ ดดั แปรพันธกุ รรม หรอื GMOs การตรวจสอบความ แนวคาตอบ จากการศึกษาทดลองทางพันธุวิศวกรรมหรือการ
ปลอดภัยทางชีวภาพกอ่ น ผลิต GMOs โดยการกาหนดให้มกี ารดแู ลอย่างใกลช้ ดิ นับตง้ั แตก่ าร
ขน้ั ตอนการสรา้ งส่ิงมชี ีวติ ดัดแปร แนวคาตอบ ขนั้ ตอนการทา GMOs นาไปใช้ประโยชน์ ทดลองท้ังในห้องปฎิบัติการและการทดสอบภาคสนามก่อนที่จะ
พนั ธกุ รรม 1. หายีนทต่ี ้องการจากพืช สัตว์ หรอื จลุ ินทรีย์ นาไปใช้จริงหรือจาหน่ายสู่ท้องตลาด เน่ืองจากสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการ
2. นาเอนไซม์ชนดิ พิเศษตัดยีนตาแหน่งทีเ่ ฉพาะเจาะจง แล้วนายนี ความเส่ียงในการใช้สิง่ มชี ีวิต ตัดแตง่ พันธกุ รรมหรอื GMOs นั้นจัดเป็นส่ิงมีชีวิตแปลงพันธุ์ซ่ึงอาจ
ตัดตอ่ กบั พลาสมคิ ของแบคทเี รยี ดดั แปรพันธุกรรมตอ่ มีผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ พืช สัตว์ และส่ิงแวดล้อมท้ังนี้ข้ึนอยู่กับปัจจัย
3. นาพลาสมิคท่มี ียนี ท่ตี ้องการใสใ่ นเซลลข์ องแบคทีเรยี สขุ อนามยั ของมนุษย์และ ต่างๆ เช่น แหล่งยีน หากนายีนจากส่ิงมีชีวิตชนิดหน่ึงใส่ในสิ่งมีชีวิต
4. แบคทเี รียแบ่งเซลล์ ทาให้มยี นี ที่ต้องการเพ่ิมข้ึนตามจานวน สตั ว์ อีกชนิดหน่ึงท่ีเราต้องการถ้าสิ่งมีชีวิตน้ันเป็นชนิดเดียวกันจะมีอัตรา
เซลลข์ องแบคทีเรีย การเส่ียงน้อยกว่าส่ิงมีชีวิตต่างชนิดกัน เช่น ยีนจากพืชถ่ายให้พืช
5. สกัดยีนทต่ี ้องการจากเซลลแ์ บคทเี รีย ผลกระทบของส่ิงมีชวี ิตดดั ยอ่ มมีอัตราเสี่ยงน้อยกว่ายีนจากจลุ นิ ทรยี ์ถา่ ยสู่พชื
แปรพันธุกรรมตอ่
ประโยชน์ทางด้าน แนวคาตอบ สามารถเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและความต้านทาน ส่งิ แวดลอ้ มและเศรษฐกิจ แนวคาตอบ ความกงั วลด้านจรยิ ธรรมและความปลอดภยั ไดร้ ับการ
การเกษตร ตอ่ โรคทแี่ ตกต่างกนั ท่เี กดิ จากเช้อื โรคและปรสิต เป็นประโยชน์อย่าง พูดถึงรอบๆการใช้อาหารดัดแปลงพันธุกรรม ความกังวลด้านความ
มากในขณะท่ีมันสามารถเพิ่มการผลิตของแหล่งอาหารด้วยการใช้ ปลอดภัยท่ีสาคัญเกี่ยวข้องกับผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์จาก
ทรัพยากรท่ีน้อยลงกว่าท่ีจะต้องใช้จริงเพ่ือเป็นเจ้าภาพด้าน การกินอาหารดัดแปลงพันธุกรรม, โดยเฉพาะเจาะจงว่าจะเป็น
ประชากรทีเ่ พิ่มมากข้ึนของโลก พชื ดัดแปลงเหล่าน้ียังจะช่วยลดการ ปฏิกิริยาท่ีเป็นพิษหรือการแพ้ท่ีอาจเกิดข้ึน การไหลของยีนเข้าสู่พืช
ใช้สารเคมี, เช่นปุ๋ยและสารกาจัดศัตรูพืช, และดังนั้นจึงลดความ ดัดแปรพนั ธุกรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ ง,
รนุ แรงและความถี่ของการเกดิ ความเสียหายทเี่ กิดจากมลพิษทางเคมี
เหลา่ นอี้ กี ด้วย แนวคาตอบ ผลกระทบนอกเป้าหมายในส่ิงมีชีวิตที่เป็นประโยชน์
แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ เ ป็ น ปั ญ ห า
สิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ความกังวลด้านจริยธรรมเกี่ยวข้องกับประเด็น
ทางศาสนา, การควบคุมในองค์รวมของอุปทานอาหาร, สิทธิใน
ทรัพย์สินทางปัญญาและระดับของการติดฉลากที่จาเป็นบน
ผลิตภัณฑด์ ัดแปลงทางพันธุกรรม.

เฉลยใบกิจกรรมท่ี 2 2. จริยธรรมกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพันธุกรรม ซึ่งมีวิธีการทางวิทยาศาสตร
เร่ือง จริยธรรมกบั การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีพนั ธกุ รรม (Scientific method) มลี าดบั ข้นั ตอนใดบา้ ง

1. จรยิ ธรรมกับการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีพันธกุ รรม สาหรบั จริยธรรมที่ไดมาจากหลัก แนวคาตอบ ลาดับขั้นตอนซึ่งมีวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) ท่ี
พทุ ธธรรมและนาจะนามาใช้ในกระบวนการของระบบพฒั นาองคค์ วามรู้ และการ ประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ตามลาดับ คอื กาหนดปญหา ตงั้ สมมตฐิ าน ทดลอง
ประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ทางพันธุกรรมให้สมบูรณ์ นักเรียนคิดว่าหลักธรรมใดเหมาะสมกับ วเิ คราะหส์ รปุ ผล และการนาไปใชจนทาใหเกิดผลผลิตหรอื ผลลัพธ์
กลุ่มของตนเอง โดยเขียนแผนภาพจรยิ ธรรมดา้ นพันธุศาสตร์

แนวคาตอบ

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี

หลกั ธรรมทใ่ี ช้
………….

บรรณานกุ รม

รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบบั ปรบั ปรงุ . (2560). วิทยาศาสตร์
ม.3 เลม่ 1. กรุงเทพฯ: สกสค. โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สานกั พมิ พว์ ัฒนาพานิช. เทคโนโลยชี ีวภาพ (biotechnology). [ออนไลน์]. เข้าถึง
ได้จาก : www.wpp.co.th (วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู : 17 เมษายน 2563).
จเี อม็ โอ (GMOs). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก
ส่อื การเรียนการสอน วทิ ยาศาสตร์ ม.3. พนั ธวุ ศิ วกรรม. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก :
https://www.youtube.com/watch?v=ZpUVrAF-dSk (วนั ทีค่ น้ ข้อมูล: 17
เมษายน 2563).
พันธกุ รรมกบั จรยิ ธรรม [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/contacts/Heredity/chapter8.1.p
df
สิ่งมีชีวติ ดัดแปรพนั ธุกรรม [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :
http://53010825002.blogspot.com/2012/03/gmo.html
https://www.google.com/search?q=%


Click to View FlipBook Version