The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by golflove55526, 2021-09-13 00:13:08

การจัดการศึกษาโดยมีผู้สูงอายุเป็นต้นแบบในการเรียนรู้

เบสอ.ดอกอ้อ 1-64เผยแพร่

Best Practice

“การจดั การศึกษาโดยมีผูส้ ูงอายเุ ป็ นตน้ แบบในการเรยี นรู้

นางสาวดอกออ้ ศิริกุล
ครูกศน.ตาบล

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโนนคูณ
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ศรีสะเกษ

กระบวนการหรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

ช่อื ผลงาน : การจัดการศึกษาโดยมีผสู้ งู อายุเปน็ ต้นแบบในการเรียนรู้
เจา้ ของผลงาน : นางสาวดอกอ้อ ศริ ิกลุ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล

สังกัด : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโนนคูณ
ผบู้ รหิ าร : นางสาวลลี าวดี สหี บณั ฑ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโนนคณู

1.ความเปน็ มาและความสาคญั
ตามท่ีสานักงาน กศน. ไดก้ าหนดนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2564 เพ่ือเป็น

แนวทางในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา ตามภารกิจหลักประกอบด้วย งานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

การศึกษาตอ่ เนือ่ งและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามนโยบายจุดเน้น ภารกิจต่อเนื่อง ด้านการจัดการศึกษาและการ
เรียนรู้ การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส

ทางการศกึ ษา ผา่ นการเรียนแบบเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษา
ทางไกล การพัฒนาประสิทธภิ าพคณุ ภาพและมาตรฐานการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้ันพื้นฐาน ทั้ง

ด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และ

ระบบการให้บรกิ ารนักศึกษาในรูปแบบอ่ืน ๆ เพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษา โดยคานึงถึงการสร้างความเสมอภาค

ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากร ทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องร่างกาย/ทางการ
เรยี นรชู้ นกลมุ่ น้อย เพ่อื มุง่ ให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรแู้ ละการศึกษาตลอดชีวิต

การจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ิตใหก้ ับทุกกลมุ่ เป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสู้ ูงอายุ ท่ีสอดคล้อง
กับความตอ้ งการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจน สามารถ
ประกอบอาชพี พ่งึ พาตนเองได้ มีความร้คู วามสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวติ ของตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมี
ความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม
สาหรบั การปรบั ตวั ใหท้ ันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม
ท่ีมีเน้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยม ท่ีพึง
ประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้ง
ชมรม/ชมุ นมุ การสง่ เสริมความสามารถพิเศษต่างๆ

ซึ่งกศน.ตาบลบก ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโนนคูณ มีการจัดการศึกษา

ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยมีการจัดการศึกษาที่
หลากหลายให้กบั ประชาชน ซ่ึงมีภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา

นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมท้ังการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน เสริมสร้างความร่วมมือ
ประสานงานกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เช่นประชาชนในชุมชน ผู้นาชุมชน องค์กรภายในชุมชน อสม. และ

ผู้สูงอายุในพ้ืนที่ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความ
รว่ มมอื ในการสง่ เสริม สนบั สนุนและจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ

2.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ สง่ เสริมใหก้ ลุ่มผสู้ ูงอายุมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาครอบคลุมทุก กลุ่มปา้ หมาย
2. เพอื่ จัดกระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายและเหมาะสมกบั ความตอ้ งการของประชาชนในพื้นที่
3. เพือ่ ส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของกลุ่มผ้สู งู อายุ

3.เปา้ หมาย
3.1 เชงิ ปรมิ าณ
นกั ศึกษาผู้สูงอายุ ระดับประถมศกึ ษา จานวน 21 คน ระดบั ประถมศกึ ษา กศน.ตาบลบก
3.2 เชิงคณุ ภาพ
ผู้สูงอายุมีการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีความสุข และมีบทบาทสาคัญในการมีส่วนในการจัด

การศึกษาเป็นตวั อยา่ งท่ดี ี ใหก้ ับชมุ ชนด้านการศึกษา

4. วธิ ีการดาเนินงาน
ขั้นตอนหรือวิธีการดาเนินงานการจัดการศึกษาโดยมีผู้สูงอายุเป็นต้นแบบในการเรียนรู้ มาใช้ในการวาง

แผนการดาเนินงาน ดงั นี้
การมสี ว่ นร่วม หมายถงึ การทป่ี ระชาชนสามารถเขา้ มามีสว่ นรว่ มตง้ั แต่รว่ มคดิ ร่วมทารว่ มแกป้ ัญหาเพื่อให้

งานประสบความสาเร็จบรรลตุ ามเป้าหมาย
1. การประสานงาน (Coordination) หมายถึง วิธีการซ่ึงคนจานวนมาก มาร่วมกันทางานเพ่ือให้บรรลุ

วัตถุประสงค์ตามที่ได้ตกลงกันไว้ โดยกาหนดกิจกรรมต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ เพ่ือมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบ
ปฏบิ ัติดว้ ยความสามัคคี สมานฉันท์ และมปี ระสิทธภิ าพทีส่ ุด

2. ความร่วมมือ (Cooperation) หมายถึง ความเต็มใจของแต่ละคนในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพ่ือ
ไปสู่เป้าหมายใดเปา้ หมายหนงึ่ ตามเป้าหมายขององค์การหรือหน่วยงานความร่วมมือ จะเป็นการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

เป็น “เจ้าของหรือเจา้ ภาพ”งานหรอื กิจกรรมน้ันๆ แล้วขอให้ฝ่ายอ่ืนเข้ามาร่วม มีลักษณะเกิดขึ้นเป็นคร้ังๆไป ไม่มี
ความต่อเนื่องและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม แต่มุ่งจะให้กิจกรรมน้ันๆ แล้วเสร็จตามความ
ตอ้ งการของฝ่ายเจ้าของงาน ความรว่ มมอื เป็นการชว่ ยเหลอื ด้วยความสมัครใจ แม้จะไม่มีหน้าที่โดยตรง อาจจะทา
เร่ืองเดียวกันในเวลาเดียวกันหรอื ต่างเวลากไ็ ด้ แม้กระท่ังอาจให้ความร่วมมอื ทาบางเรื่องบางเวลา

3. การทางานร่วมกัน (Collaboration) หมายถึง การที่บุคคล ต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป หรือองค์กรต้ังแต่ 2
องค์กรข้ึนไป มาทางานร่วมกัน มีการช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในกลุ่ม และรับรู้ว่าตนเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มตาม
โครงสร้างทม่ี ีอยู่ในองค์กร รวมทงั้ เข้าใจวัตถุประสงค์ของการทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกันอย่าง
มีประสิทธิภาพ และผู้ปฏบิ ตั ิงาน ต่างก็เกิดความพอใจในการทางานนั้น

4. การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การท่ีสมาชิก ทุกคนของหน่วยงานหรือองค์กร ร่วมกัน
ดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึง โดยมีลักษณะของกระบวนการ (Process) มีขั้นตอนที่มุ่งหมายจะให้เกิดการเรียนรู้
(Learning) อย่างต่อเนื่อง มีพลวัต(Dynamic) กล่าวคือ มีการเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ มี
การแก้ปัญหา การร่วมกันกาหนดแผนงานใหม่ๆ เพ่ือสร้างความยั่งยืนในความสัมพันธ์ของทุกฝ่ายท่ีเข้าร่วม
ดาเนินการ การมีส่วนร่วมก่อให้เกิดผลดีต่อการขับเคลื่อนองค์กรหรือเครือข่าย ผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วมย่อมเกิดความ
ภาคภูมิใจท่ีได้เป็นส่วนหน่ึงของการบริหาร และที่สาคัญผู้ที่มีส่วนร่วมจะมีความรู้สึกเป็นเจ้าของเครือข่ าย
ความรู้สกึ เป็นเจ้าของจะเป็นพลังในการขบั เคล่ือนเครือข่ายที่ดที ่ีสดุ

4.1 ขั้นตอนการดาเนนิ งาน/วางแผน (Plan) P
ขั้นตอนที่ 1 ศกึ ษาสภาพปญั หาความต้องการ

ครู กศน.ตาบล ได้จัดการศึกษาตามหลักสูตราการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้กับผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นผู้เรียนให้มีส่วนในการเรียนการสอน โดยใช้การจัดการศึกษาโดยมีผู้สูงอายุเป็นต้นแบบในการเรียนรู้ ของ
นักศกึ ษาท้ัง 3 ระดบั คือ ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาค

เรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 ซึ่ง นักศึกษาแต่ละคนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้แตกต่างกัน นักศึกษาบางคน
อาจจะมเี วลาการเรยี นรไู้ มพ่ ร้อมกัน ครผู ู้สอนจึงหารปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม โดยใช้การจัดการศึกษา
โดยการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ เพ่ือเป็นแรงผลักดันและเป็นแบบอย่างให้กับกลุ่มนักศึกษาวัยรุ่น มีความ
กระตอื รือรน้ มีความตั้งใจในการมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนและมีความสนใจใฝ่เรียนรู้มากขน้ึ
ขนั้ ตอนท่ี 2 การศึกษาวเิ คราะห์ความต้องการ

ครูกศน.ตาบล มีการประชุมวางแผนร่วมกบั นกั ศกึ ษาความสุข เพอ่ื วิเคราะห์ความต้องการในการจัดการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสม และเปน็ แบบอย่างท่ีดใี ห้กับนักศกึ ษา โดยการจดั การศกึ ษาโดยการมีสว่ นร่วมของผู้สงู อายุ
ขน้ั ตอนท่ี 3 กาหนดกลุ่มเป้าหมาย

กาหนดกลุ่มเป้าหมาย นักศกึ ษาระดบั ประถม จานวน 21 คน
ข้นั ตอนที่ 4 ศกึ ษาข้อมลู กจิ กรรม กศน.และวางแผนการจดั กิจกรรมรว่ มกนั ดงั น้ี

1. ครูกศน.ตาบล ได้มีการประชมุ ช้แี จงรายละเอยี ดของการจดั การศกึ ษาโดยการจดั การศึกษาโดยมีผสู้ ูงอายเุ ป็น
ตน้ แบบในการเรียนรู้ โดยมีผู้สูงอายุ และองค์กรนักศึกษา เพอื่ เปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรมการมีสว่ นร่วมท่ี
สอดคลอ้ งและเหมาะสมกับความต้องการกับนกั ศกึ ษา

2. ครู ลงพ้ืนทปี่ ระสานงานและมีการประชาสมั พนั ธ์ โดยการมสี ว่ นร่วมของผสู้ ูงอายุ ผูน้ าชมุ น ในรูปแบบ
ตา่ งๆ เช่น ข่าวประชาสมั พันธ์ เสยี งตามสาย อย่างทัว่ ถึงในพ้นื ทชี่ ุมชน

4.2 การดาเนินการจดั กจิ กรรม / ทา (DO) D
มกี ารดาเนินการจัดกิจกรรมดงั นี้
การจดั การศึกษาโดยมีผสู้ งู อายุเปน็ ต้นแบบในการเรยี นรู้ โดยมี ครูกศน.ตาบล เป็นผู้บริหารจัดการการ

เรียนรู้ตามแผน การเรยี นรูห้ ลากหลายใหก้ ับนักศึกษา เช่น การจัดการศึกษา การอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการดูแล
สขุ ภาพ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสงั คม การศึกษาแหล่งเรียนรู้โดยภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามี
ส่วนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยมีผู้สูงอายุเป็นต้นแบบในการเรียนรู้ และเป็นวิทยากรในการให้ความรู้การปลูกพืช
สมุนไพร มีส่วนในการประชุมวางแผนพัฒนา กศน.ตาบล การมีส่วนร่วมประชุมวางแผนในการพัฒนาชุมชน การลงพ้ืนท่ี
เยย่ี มบา้ นของนกั ศึกษา ซึง่ กลุ่มผ้สู งู อายุเข้ามามีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้เรยี น

4.3 การตรวจสอบและการประเมนิ ผล/(Check) C

1. ประเมนิ จากสภาพจริง โดยครู กศน.ตาบล ไดจ้ ัดการเรียนการสอนตามแผนการจดั การเรียนการสอน โดยมี
ผสู้ งู อายเุ ป็นต้นแบบในการเรยี นรู้ ซึ่งมีการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนพบกลุ่มทุกวันอังคารโดยมมี าตรการ

เฝ้าระวงั ตามประกาศของ ศบค. ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
2. ครู ไดต้ ดิ ตามตรวจสอบผลการ จัดการศึกษาโดยมผี ูส้ งู อายเุ ปน็ ต้นแบบในการเรียนรู้เขา้ มามสี ่วนรว่ มใน

การจดั การศึกษาของกศน.ตาบล.
3. ครู มีการสรปุ ผลการดาเนินงาน ขอ้ คดิ เห็น ปญั หา ข้อเสนอแนะ และหาทางแก้ไขเพื่อนามาพัฒนา

ตอ่ ไป
4. มีการรายงานผลการดาเนินงาน
5. มีการเผยแพรผ่ ลงาน แนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ี เร่ืองการการจดั การศึกษาโดยมีผู้สูงอายเุ ปน็ ต้นแบบในการเรียนรู้

จัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการโครงงาน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ผา่ นสื่อออนไลน์ เพจกศน.
ตาบลบก ผา่ นเว็บไซต์ กศน.อาเภอโนนคูณ เปน็ ต้น

4.4 การปรบั ปรงุ และพฒั นาผลการปฎบิ ตั งิ าน /(Act) A

4.1 ผลที่เกดิ กับผู้รบั บริการ

- นักศกึ ษาใหค้ วามสาคญั และมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาเพิม่ ขนึ้
- นกั ศกึ ษารจู้ ักการทางานเป็นทีม มนี ้าใจช่วยเหลือเพอ่ื นและการสรา้ งความสามัคคีต่อกัน
- นกั ศกึ ษาได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด การแสดงความคดิ เห็น สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้

4.2 ผลทเี่ กดิ กับกศน.ตาบล
- กศน.ตาบล มสี ่วนรว่ มในการทากิจกรรมรว่ มกัน แสดงถึงความเป็นเอกลักษณข์ องตาบล ผลงาน

เปน็ ทร่ี จู้ กั ไดร้ บั การยอมรบั จากชุมชนภาคเี ครือข่าย

- กศน.ตาบล สามารถเปน็ แบบอยา่ งของการพัฒนาการศึกษาให้กบั หน่วยงานอน่ื ได้
- กศน.ตาบล มผี ลสมั ฤทธทิ์ ีด่ ีในการจดั การเรยี นการสอน
- กศน.ตาบล มนี ักศึกษาที่มีความรู้ความเข้าใจศึกษาและพฒั นาตนเองเพิ่มข้ึน
4.3 ผลทเ่ี กดิ กบั สถานศกึ ษา กศน.อาเภอโนนคณู

- ได้รบั การยอมรบั เชอื่ ม่ัน จากประชาชน และ หน่วยงาน และภาคีเครือขา่ ย
- สามารถเป็นแบบอยา่ งที่ดีในการมีสว่ นร่วมให้กบั บุคคลอื่นได้
4.4 ผลทีเ่ กดิ กบั ชมุ ชน สังคม

- ชมุ ชนได้รบั การพัฒนาทกั ษะชีวติ การทางานรว่ มกนั การอยู่รว่ มกนั กบั ผูอ้ ่นื
- ชุมชนมคี วามรกั สามคั คี รู้จกั แบ่งปนั เอื้อเฟือ้ เผ่ือแผ่ช่วยเหลือกนั
- ชมุ ชนภาคีเครอื ขา่ ยได้มสี ่วนรวมในการพัฒนาการศึกษา

5. กลยุทธห์ รอื ปจั จยั ที่ทาให้ประสบความสาเร็จ

5.1 การมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาโดยใชก้ ระบวนการจดั การศกึ ษาโดยมผี ู้สูงอายุเป็นต้นแบบใน
การเรียนรู้ การมีสว่ นรว่ มของผสู้ ูงอายุเพื่อใช้ในการแกป้ ัญหาในการจดั การเรียนการสอนให้มีคุณภาพดยี ง่ิ ขนึ้

5.2 สร้างความภาคภมู ิใจความสามัคคใี หก้ บั ภาคีเครือข่ายในการมีส่วนรว่ มในการพัฒนาการศึกษา
5.3 กจิ กรรมครั้งนไี้ ดด้ าเนนิ งานวงจรคณุ ภาพ เดมมง่ิ Deming Cycie (PDCA) ซึง่ มีการดาเนินการ
อยา่ งเปน็ ระบบตามแผนสามารถตรวจสอบได้ จงึ ทาให้ได้รับความรว่ มมือร่วมใจการมีสว่ นร่วมของผูส้ งู อายุและ
ภาคเี ครอื ขา่ ยเปน็ อยา่ งดี
6. ขอ้ เสนอแนะ
6.1 ควรมกี ารดาเนินการอย่างต่อเนื่องเพือ่ ใหน้ ักศึกษามกี ารใฝ่เรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง

6.2 มกี ารจดั รปู แบบการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายและพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง

7.เอกสารอา้ งอิง
สานักงานส่งเสรกิ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน
สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564. kdhttps://www.iertchaimaster.com (วันท่คี ้นหา

ขอ้ มูล 5 พฤษภาคม 2564)
7.1 เวบ็ ไซต์ หรือ Fanpage กศน.ตาบลบก
7.2 เผยแพร่ ทางเพจ facebook กศน.อาเภอโนนคูณ จงั หวัดศรีสะเกษ
7.3 เผยแพร่ ทาง LINE กลมุ่ กศน.ตาบลบก

ลงชือ่ ..........................................................ผูร้ ายงาน
(นางสาวดอกอ้อ ศิรกิ ุล)
ครู กศน.ตาบล

ลงชื่อ.............................................................ผ้รู ับรองข้อมูล
(นางสาวลลี าวดี สีหบัณฑ์)

ผู้อานวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโนนคูณ




Click to View FlipBook Version