The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกษตรบอกข่าว ฉบับที่ 31 วันที่ 18 ต.ค. 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sumeth Penrang, 2021-10-26 21:47:52

เกษตรบอกข่าว ฉบับที่ 31 วันที่ 18 ต.ค. 64

เกษตรบอกข่าว ฉบับที่ 31 วันที่ 18 ต.ค. 64

วารสารออนไลน โดย ดร.ทองเปลว กองจนั ทร
“เกษตรบอกขา ว”
ฉบบั ท่ี 31 วนั ที่ 18 ตุลาคม 2564

กรมพัฒนาทด่ี ิน เรง ฟน ฟูดนิ ชวยเหลอื เกษตรกรประสบภัยอุทกภยั

กรมพฒั นาท่ดี ิน วางแนวทางแกไขปญ หาสถานการณอ ทุ กภยั ในพ้นื ที่การเกษตรท่ไี ดร บั ความเสยี หาย

1เพือ่ ฟนฟูดินและชว ยเหลอื เกษตรกรท่ไี ดรบั ความผลกระทบ โดยแบง ความชว ยเหลอื เปน 2 ระยะ คือ
ระยะประสบอทุ กภยั โดยใหส ำนกั งานพฒั นาทดี่ นิ เขตและสถานีพฒั นาท่ดี นิ
จังหวัด ประเมนิ สถานการณ จัดชุดเฉพาะกจิ ลงพน้ื ทปี่ ระสบอุทกภัย สำหรบั
พ้ืนท่นี ้ำทว มขงั นาน อาจทำใหน ำ้ เนา เสยี เกดิ ลกู นำ้ และยุงรำคาญ แนะนำให
ใชผลติ ภัณฑเ ทคโนโลยีชีวภาพ สารเรง ซปุ เปอร พด.6 ซ่งึ มีประสทิ ธภิ าพในการ
ยอยสลายขยะสด ชวยบำบดั นำ้ เนาเสยี และขจัดกลิ่นเหมน็ จากเศษอาหารเหลอื ท้งิ ในครวั เรอื น
โดยนำเศษอาหารจากครวั เรอื นมาหมักผสมลงในสารละลายกากน้ำตาลที่ใสสารเรง ซุปเปอร
พด. 6 ไวแ ลว ใชเวลาหมัก 20-30 วัน ในกรณเี รง ดว นใหนำสารเรง ซุปเปอร พด. 6 ขยายเชื้อ
ในกากนำ้ ตาลที่เจอื จางกับนำ้ 1: 10 ใชเ วลาขยายเช้อื 4 วนั ในระหวางการหมักใหค นวนั ละ
1 ครง้ั จุลินทรียย อ ยโปรตนี และไขมัน จะชว ยยอ ยสารอนิ ทรียลดกล่นิ เหม็นในน้ำเนา เสียได
โดยใชจำนวน 1 ลิตร ในน้ำเสีย 10 ลกู บาศกเ มตร หรอื พ้ืนที่ 1 ไร ระดบั นำ้ สงู 30 เซนตเิ มตร
ใชจำนวน 50 ลติ ร

กรมพฒั นาทีด่ ิน เรง ฟน ฟดู ิน ชวยเหลอื เกษตรกรประสบภยั อุทกภยั

ระยะหลังน้ำลดหรือหลังจากสถานการณคลคี่ ลาย เตรียมความพรอ มชวย
เหลือและกำหนดแนวทางโดยใหห นวยพัฒนาท่ีดินจงั หวัดเรง สำรวจพื้นทข่ี อง

2 เกษตรกร/หมอดนิ อาสา ทไี่ ดร บั ความเสียหาย เพือ่ ปรับพน้ื ทีใ่ หส ามารถใช
ประโยชนท ่ดี ินไดโ ดยเร็วทีส่ ุด โดยในพนื้ ท่ีนาขา วทีไ่ ดร บั ผลกระทบ กรณีท่ี
นาขา วไดรับความเสียหายทง้ั แปลงใหใ ชสารเรงซุปเปอร พด.2 ราดเพ่อื ใหตอซงั ยอ ยสลาย
ไดเ รว็ ขึน้ ชว ยใหเ กษตรกรสามารถเตรียมพืน้ ท่ใี นการทำนานฤดกู าลตอไปไดและสง เสริม
การปลูกพืชปุยสด เพือ่ ปรับปรุงดินและเพ่มิ ธาตุอาหารในดิน หรือผลิตเมลด็ พนั ธุไวใ ชเ อง
หรือจำหนายเพ่ือเปนรายไดเสรมิ สำหรบั ในพืน้ ท่ีไมผ ลแนะนำใหใ ชส ารเรงซุปเปอร พด.3
ลดปญหารากเนาโคนเนา สว นในพื้นทพี่ ืชไรท ีไ่ ดร ับความเสียหายทั้งหมดใหปลกู พชื ปยุ สด
เพื่อผลติ เมลด็ พันธุ

ทั้งน้ี ประชาชนท่สี นใจสามารถขอรับบรกิ ารสารเรงซุปเปอร พด.6 ไดท่ีสำนักงานพฒั นาทด่ี ิน
ในเขต 1-12 สถานีพัฒนาที่ดนิ ทุกจงั หวดั หมอดินอาสาประจำหมบู า นในชุมชน

กรมประมงไดรับรางวัล “หนวยตรวจสอบรบั รองสน คาเกษตรและอาหารดเี ดน

กรมประมงเปนหนว ยงานทีไ่ ดร ับการรับรองความสามารถตามมาตรฐานระบบคุณภาพสากล ในการตรวจรบั รอง
มาตรฐานดานการเพาะเลย้ี งสัตวนำ้ มาตงั้ แตป 2556 ซึ่งเกษตรกร ผูบ รโิ ภค และประเทศคคู า สามารถมั่นใจไดว า
การรบั รองจากหนวยงานภาครฐั มคี วามเปน กลาง โปรง ใส เปน ธรรมและถกู ตองตามหลักวิชาการ โดยปจจบุ นั มี
ฟารม เพาะเลยี้ งสัตวน้ำท่ไี ดรับการรบั รองมาตรฐานจากกรมประมงไปแลว กวา 25,000 ฟารม และในปนไ้ี ดม กี าร
เพม่ิ ระบบการแจง เตอื นเกษตรกรผาน SMS และเพม่ิ ชองทางการติดตอผา น Line Official Account เพ่อื อำนวย
ความสะดวกใหแกเ กษตรกรและผปู ระกอบการในชวงสถานการณการแพรร ะบาดของโควิด-19

กรมประมงไดรบั รางวลั “หนว ยตรวจสอบรบั รองสน คา เกษตรและอาหารดเี ดน

โดยลาสุด กรมประมงไดร ับรางวัลระดับมาตรฐานสากล คือ รางวลั “หนว ยตรวจสอบรบั รองสนิ คา เกษตรและ
อาหารดีเดน ประจำป 2564” ซึ่งนบั เปนความเชอื่ มนั่ ดานคณุ ภาพและความปลอดภัยอาหารใหแกผ บู รโิ ภค
ภายในประเทศและประเทศคคู า วาสนิ คา สตั วน ้ำทไี่ ดร บั การรับรองมาตรฐานจากกรมประมงผา นการควบคุม
ระบบการผลติ อยา งมีประสิทธภิ าพ
นอกจากน้ี ยงั ไดม กี ารออกมาตรฐานการทำประมง
พ้นื บา นยัง่ ยนื สำหรบั รับรองมาตรฐานใหชาวประมง
พื้นบา น 2 ประเภทคอื ประเภททำการประมงและ
ประเภทแปรรปู สตั วน ้ำ ใหกบั กลุมท่ไี ดจ ดทะเบยี น
เปน องคกรชุมชนประมงทอ งถ่นิ และทำการประมง
โดยเรอื ประมงทจ่ี ดทะเบียนตามกฎหมายเพอ่ื ยก
ระดับวิถแี ละสินคาประมงพน้ื บานของไทยใหม ีความ
ปลอดภัยและรับผดิ ชอบตอสังคมกอใหเ กดิ ความ
ยั่งยนื ของทรพั ยากรประมง

นอกจากนี้กรมประมงจะรว มกับสำนกั งานพัฒนารัฐบาล
ดิจทิ ัลออกใบรับรอง GAP แบบอเิ ลก็ ทรอนิกสเพือ่ ลดระยะ
เวลาในการสง มอบใบรบั รองใหแ กเกษตรกร และปอ งกัน
การปลอมแปลงรวมทั้งจะมีการถา ยโอนภารกิจดา นการ
ตรวจรับรองมาตรฐานฟารม เพาะเลย้ี งสตั วน้ำไปสหู นว ย
รับรองของภาคเอกชนตามนโยบายของกระทรวงเกษตร
และสหกรณจากการดำเนินงานดานการรับรองมาตรฐาน
ทเี่ ขมขน จนเปนท่ีเชอื่ มั่นของผูบ ริโภคในระดบั สากล

โครงการฝก อบรมผูน ำเยาวชนเกษตรกับครอบครัวเกษตรกรญีป่ นุ

โครงการฝกอบรมผูนำเยาวชนเกษตรกับครอบครวั เกษตรกรญ่ปี ุน (JAEC) เปน โครงการความรว มมือระหวาง
กระทรวงเกษตรและสหกรณแ ละสภาแลกเปลี่ยนทางการเกษตรแหงประเทศญป่ี ุน (The Japan Agricultural
Exchange Council: JAEC) โดยมวี ัตถปุ ระสงคเพือ่ พฒั นาและสงเสรมิ เยาวชนเกษตรไทย ใหมีโอกาสใน
การพัฒนาความรูและเพม่ิ พนู ประสบการณในการทำเกษตร โดยเรยี นรูจากการฝกงานในฟารม (on the job
training) กบั ครอบครวั เกษตรกรในประเทศญปี่ ุน เปน ระยะเวลา 11 เดอื น ซึง่ โครงการฝก อบรมผูน ำเยาวชน
เกษตรกับครอบครัวเกษตรกรญ่ีปุน ประจำป 2563 (รุน 38) ผเู ขา รวมจำนวน 12 ราย ไดส ำเสรจ็ การฝก งาน
ในประเทศญปี่ นุ และไดเดนิ ทางกลบั ถงึ ประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2564

โดยเมือ่ วนั ที่ 12 ตุลาคม ทผี่ า นมาปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณไ ด
พดู คุยใหโ อวาทกบั ผนู ำเยาวชนเกษตรไทย รุนท่ี 38 ผา นระบบออนไลน
พรอ มทง้ั ใหแนวคดิ แกผ ูนำเยาวชนเกษตรไทย ซงึ่ ถอื วา เปน young smar
farmer ใหน ำความรแู ละประสบการณทไ่ี ดก ลบั มาตอ ยอดและประยกุ ตใ ช
ในการประกอบอาชีพในอนาคต รวมทง้ั ถา ยทอดใหก บั ชุมชนผา นชองทาง
ตา งๆ อาทิ ทาง social media และการปฏบิ ตั ิจรงิ กบั เกษตรกรอนื่ ๆ
เพอื่ เปนการสรา งเครอื ขายกลุมyoung smart farmer ใหเ ปนกำลงั สำคัญ
ในการพฒั นาภาคเกษตรกรของประเทศ

สถานการณน ำ้ และการเตรยี มพรอ มรบั มอื อทุ กภยั ในภาคใต

สภาพภูมอิ ากาศในชว งท่ผี านมามรี อ งมรสุมพาดผานภาคกลาง และภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือตอนลา งในขณะทมี่ รสมุ ตะวันตกเฉยี งใตก ำลังแรงพัดปกคลุม
ทะเลอันดามนั ภาคใต และอาวไทย ลักษณะเชน น้ที ำใหมฝี นตกหนกั มาก
บางแหง ในภาคตะวนั ออก โดยมฝี นตกหนกั บางพนื้ ท่ีในภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต พายุดีเปรสชนั “คมปาซ”ุ บริเวณ
ตอนเหนือของเมืองวิญ ประเทศเวยี ดนามตอนบน ไดอ อ นกำลังเปนหยอม
ความกดอากาศต่ำแลว

สถานการณน้ำและการเตรยี มพรอมรับมอื อทุ กภัยในภาคใต

สำหรับปริมาณนำ้ เก็บกักอา งเกบ็ นำ้ ขนาดใหญแ ละขนาดกลางทว่ั ประเทศ ปจจุบนั มปี ริมาณน้ำเก็บกกั
53,961 ลา น ลบ.ม. สามารถรบั นำ้ ไดอ ีก 22,126 ลา น ลบ.ม.

สถานการณน ำ้ 4 เขอื่ นหลกั ลุมเจาพระยา

ไดแก เขือ่ นภมู พิ ล เขอื่ นสริ กิ ติ ิ์ เขอื่ นแควนอ ยบำรงุ แดน
และเขื่อนปาสกั ชลสิทธ์ิ

มปี รมิ าณนำ้ ในอาง จำนวน 13,340 ลา น ลบ.ม. (รอยละ 54 ของความจุอา งฯ)
ปรมิ าณใชก ารได 6,644 ลาน ลบ.ม. (รอยละ 37 ของความจุอา งฯ)

ท้งั น้ี เมอื่ วันที่ 15 - 17 ตลุ าคม 2564 ดร.เฉลมิ ชยั ศรอี อ น รฐั มนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
พรอ มดวยคณะผูบรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดลงพ้นื ทีจ่ .ตรัง จ.พัทลงุ และ จ.สงขลาเพอ่ื ตดิ ตาม
สถานการณน ำ้ และความกา วหนา การดำเนินโครงการตา ง ๆ ของกรมชลประทานภายใตน โยบายของรัฐบาล
โดยไดต ดิ ตามความกา วหนา การกอ สรา งโครงการชลประทานขนาดใหญ

ความกาวหนา การกอสรา งโครงการชลประทานขนาดใหญ
เชน - โครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ (ระยะที่ 2) จ.สงขลา
- โครงการระบบระบายนำ้ แมนำ้ ตรงั จ.ตรัง
- โครงการบริหารจัดการน้ำคาบสมทุ ร สทิงพระ จ.สงขลา

สถานการณน้ำและการเตรียมพรอมรับมืออุทกภัยในภาคใต

ความกาวหนา การกอสรา งโครงการชลประทานขนาดเลก็
เชน โครงการบรรเทาอุทกภัยลมุ น้ำคลองสะพานหยี ซ่ึงหากดำเนนิ การแลวเสร็จจะสามารถบรรเทา
อุทกภัย และสามารถเก็บกกั น้ำไวใ ชเ พอ่ื การเกษตรและการอุปโภคในฤดูแลงได ตลอดจนตดิ ตามสถาน
การณน ้ำและเตรียมความพรอมรับมืออุทกภัยภาคใตรวมถงึ ตดิ ตามความกาวหนา การดำเนินงานของ
หนวยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพอ่ื เสริมสรา งศกั ยภาพดานการเกษตรของชุมชน

สามารถตดิ ตามรายการ

“เกษตรบอกขา ว”

ไดเ ปน ประจำ ทุกวันจันทร์ เวลา 09.00 น.

ทาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ผลตงาามนปกระรเดะน็ทยุทรธวศงาเสกตษรชตาตริแปรละะจำสปห 2ก56ร4ณ


Click to View FlipBook Version