The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

POPS วารสาร สป.กษ. ISSUE NO.50-2022- Learn from the past. Think of the future.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sumeth Penrang, 2022-03-31 12:32:13

POPS วารสาร สป.กษ. ISSUE NO.50-2022- Learn from the past. Think of the future.

POPS วารสาร สป.กษ. ISSUE NO.50-2022- Learn from the past. Think of the future.

SAY - H วนั ที่ 1 เมษายน 2565
I. เป็นวนั ครบรอบวันสถาปนากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กา้ วเขา้ สู่

ปีที่ 130 POPS ฉบบั น้ี ไดเ้ รยี บเรยี งเรอื่ งราวความเปน็ มาตลอด “130 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สร้าง เสรมิ เตมิ รกั ษ”์ ต้ังแตม่ กี ารจัดต้งั “กรมนา” ขึน้ เปน็ “กระทรวงเกษตรพนชิ การ” จวบจนถึงปจั จบุ ัน
แบง่ เป็น 4 ยุค ไดแ้ ก่ ยุคที่ 1 สร้าง : Establish สร้างรากฐานทรัพยากรการเกษตรมน่ั คง ยุคที่ 2 เสรมิ :
Education เสรมิ ความรู้ วางระบบรอบดา้ นเท่าทนั การเปลย่ี นแปลง ยคุ ท่ี 3 เตมิ : Enhance
เติมเต็มการพัฒนาศกั ยภาพให้เขม้ แขง็ จากภายใน และ ยุคท่ี 4 รักษ์ : Environment รกั ษ์เกษตร
สมยั ใหมใ่ ช้นวัตกรรมนำ�การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื รายละเอียดตดิ ตามได้ในฉบับนะครับ
ในปนี เ้ี ปน็ อกี หนง่ึ ปที เ่ี ราตอ้ งฉลองเทศกาลสงกรานตภ์ ายใตส้ ถานการณโ์ ควดิ -19 ขอใหท้ กุ ทา่ น
รักษาสขุ ภาพและดูแลตัวเองตามมาตร D-M-H-T-T ในการทอ่ งเท่ยี ว การทำ�กิจกรรมต่าง ๆ รว่ มกับคน
จำ�นวนมาก ถึงแมว้ ่าสายพันธุโ์ อมคิ อนจะมีอาการไมร่ นุ แรง แตเ่ ราไมส่ ามารถรู้ได้เลยว่าเมอื่ เราหายจาก
โควิด-19 แล้ว จะมอี าการหลงเหลือหลงั ตดิ เชอ้ื โควิด-19 ในระยะยาว หรือ Long COVID หรอื ไม่ ซงึ่ จะส่ง
ผลเสียตอ่ สขุ ภาพของเราในระยะยาวได้ เพราะฉะน้นั เราควรดูแลตวั เองใหป้ ลอดภัยจากเชอ้ื โควดิ -19

นดีทสี่ ุดครบั

โยบายการกำ�กับดูแลองค์การท่ีดี
ของสำ�นักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2565
นโยบายหลักด้านท่ี 1 นโยบายดา้ นรัฐ สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำ�นกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยคณะกรรมการกำ�กับติดตาม
การดำ�เนนิ การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐเหน็ ชอบให้ดำ�เนนิ มาตรการ/โครงการ/กิจกรรม
เพ่ือรองรับนโยบายการกำ�กบั ดูแลองค์การทดี่ ีของสำ�นักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท้ัง 4 นโยบายหลกั
จำ�นวนท้งั ส้ิน 32 มาตรการ/โครงการ/กิจกรรม โดย นโยบายหลกั ดา้ นท่ี 1 นโยบายดา้ นรัฐ สงั คมและ
ส่ิงแวดลอ้ ม ประกอบด้วย 6 มาตรการ/โครงการ/กจิ กรรม อนั เป็นการสนบั สนุนนโยบายของรัฐบาล และ
สง่ เสริมผลักดันการดำ�เนินงานท่มี คี วามสำ�คัญและเป็นประโยชนต์ อ่ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ิ ดังนี้

1 ส ร้ า ง ก ล ไ ก ก า ร 2 ส่งเสริมการดำ�เนิน 3 ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ

กำ�กับดูแลการดำ�เนินการ งานท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ ผ ลั ก ดั น ก า ร อ นุ รั ก ษ์
ตามภารกิจตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็น ตอ่ สงั คม ผา่ นกจิ กรรมการ ทรัพยากรธรรมชาติและ
ไปตามนโยบายของรัฐบาล พัฒนาฟ้ืนฟูอาชีพลูกหน้ี สิ่งแวดล้อมผ่านมาตรการ
ผ่านกิจกรรมการติดตาม กองทุนหมุนเวียนเพ่อื การกู้ ประหยัดพลังงาน, โครงการ
ผลการดำ�เนินงานตามแผน ยมื แกเ่ กษตรกรและผยู้ ากจน ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ป ร ะ จำ � ปี แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร และโครงการใบไม้สีเขียว
และแผนการใช้จ่ายเงินงบ กองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกร (Green for HOPE) ของ
ประมาณ สำ�นักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์

นโยบายการกำ�กับดูแลองค์การที่ดี กำ�หนดขึ้นเพื่อแสดงความมุ่งมั่นต่อการบริหารราชการตามแนว
ธรรมาภบิ าล ดงั นัน้ บุคลากร เจ้าหนา้ ทีใ่ นสงั กดั สำ�นกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทุกภาคสว่ น ต้อง
ร่วมแรงร่วมใจกันปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำ�งานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
จนเกิดการยอมรบั ความนา่ เช่ือถอื ความม่ันใจและศรทั ธาตอ่ ประชาชนทั่วไป รวมถงึ ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ทั้ง
ภายในและภายนอกองคก์ าร สว่ นนโยบายหลักอกี 3 ด้านที่เหลือจะมแี นวทางปฏิบัติอยา่ งไร และมีมาตรการ/

2 โครงการ/กจิ กรรมอะไรบา้ ง โปรดตดิ ตามใน POPS ฉบบั ต่อไป

3

4

5

6

ก้าวต่อไปของ NEXT

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในยุค NORMAL
ในปี 2565 น้ี เป็นปที ีก่ ระทรวงเกษตรและสหกรณค์ รบรอบ 130 ปี (พ.ศ. 2435-2565) ซ่งึ เม่ือ
“เหลียวหลัง” จากอดีตจนถึงปัจจบุ ัน กระทรวงไดด้ ูแลขบั เคลอื่ นการพัฒนาและแกไ้ ขปญั หาในพ้นื ที่เกษตรกรรมกวา่
149 ล้านไร่ ขยายพ้นื ท่ีชลประทานแลว้ กว่า 35 ลา้ นไร่ ดูแลเกษตรกร 8,037,722 ล้านครัวเรอื น พัฒนาเกษตรกรเป็น
Smart Farmer รวม 506,078 ราย Young Smart Farmer รวม 18,215 ราย ผลักดนั ใหเ้ กษตรกรมรี ายไดเ้ งินสดรวม
เฉลี่ย 394,168 บาท/ครวั เรอื น และผลติ ภณั ฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพ่ิมขึ้นเป็น 1.38 ลา้ นล้านบาทในปี 2564
“เข้าใจปจั จบุ นั ” ภาคเกษตรยังคงประสบปัญหารมุ เรา้ และมจี ดุ ออ่ นในหลายดา้ น โดยเฉพาะเกษตรกร
มอี ายุเฉลยี่ สูงขึน้ เข้าสู่สังคมผสู้ ูงอายอุ ย่างสมบูรณ์ ยังคงมกี ระบวนการผลติ แบบพ่ึงพาธรรมชาติและประสบปัญหาไป
ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ รวมทง้ั ผลติ สินค้าแบบเดมิ จนเปน็ วฒั นธรรมทเี่ ปลย่ี นแปลงไดย้ าก มกั ประสบปญั หา
ดา้ นราคาจากการผลติ ทยี่ ังไม่ได้มาตรฐานและการจำ�หนา่ ยผลผลติ เปน็ วตั ถุดบิ ขาดการแปรรูปเพ่ิมมูลค่า ซึ่งภาครัฐตอ้ ง
ชว่ ยเหลือ ชดเชย เยียวยาด้วยงบประมาณจำ�นวนมากในแตล่ ะปี
อย่างไรกต็ าม เมือ่ “แลหน้า” การขบั เคล่ือนภาคเกษตร ยังคงต้องม่งุ เน้นเปา้ หมายยุทธศาสตร์ชาติ
ทต่ี ้องการให้ “ประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้เลน่ สำ�คัญด้านการผลิตและการคา้ สินค้าเกษตรในเวทโี ลก” รวมทั้งเปา้ หมาย
นโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตแิ ละแผนอ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับดา้ นการเกษตร เพอื่ ความอยู่ดมี ีสุขของ
เกษตรกร โดยพจิ ารณาสถานการณแ์ ละแนวโน้มทีเ่ กี่ยวข้องในทกุ ระดบั ให้มากทีส่ ดุ ทัง้ สถานการณ์โลกท่ีเกีย่ วข้องกับ
ดา้ นการเกษตร โอกาสและภยั คุกคามของภาคเกษตรจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 ที่เรง่ ใหโ้ ลกเขา้ สู่ยุค
Next Normal อย่างรวดเร็ว
ปี 2565 จดุ เปลี่ย นสำ�คัญ ภาคเก ษตรไทย ปี 2565 ถอื เปน็ ชว่ งเวลาทีม่ ีความสำ�คญั อย่างยิง่ ในการปรับแนวทางการ
ทำ�งานของกระทรวงเพื่อปรับปรุง เปลี่ยนแปลง วางรากฐานการพัฒนา
ภาคการเกษตรให้สอดคลอ้ ง สอดรับกบั ทศิ ทางการเปล่ยี นแปลงของโลก โดยนำ�ปจั จัยแหง่ การเปลี่ยนแปลงมาเป็นพลังขับ
เคลือ่ นการพัฒนาและแสวงหาความร่วมมือทกุ ภาคสว่ นเพ่ือยกระดบั ภาคเกษตรในยคุ Next Normal เปน็ จุดคานงัดเพือ่
ให้เกิดการพัฒนาอยา่ งกา้ วกระโดด ขบั เคลื่อนไปในทิศทางท่ถี ูกตอ้ ง และบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาภาคเกษตรท่มี ุ่งหวงั

มงุ่ มนั่ ผลักดนั เปา้ หมายยุทธศาสตร์ชาติ “ประเทศไทยเป็นหน่ึงในผู้เลน่ สำ�คัญดา้ นการผลติ และการคา้ สนิ ค้า
เกษตรในเวทโี ลก” โดย ผลักดนั ใหไ้ ทยเป็น 1 ใน 7 ประเทศสำ�คัญของผ้สู ง่ ออกสนิ คา้ เกษตรและเกษตรแปรรูปมลู ค่าสูง
ของโลกภายในปี พ.ศ. 2580 (ครบ 20 ปี ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละครบ 145 ปกี ระทรวงเกษตรและสหกรณ์)

ทา้ ทายให้ภาคเกษตรตอ้ งปรบั ตัวในยุค Next Normal 7
การผลิตตอ้ งเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม ต้องสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจัดการทรัพยากรการผลิตใหเ้ กดิ ความย่ังยืน หมนุ เวยี น
ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ และเป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม เพ่อื ให้เกดิ ความคมุ้ คา่ ในการใชท้ รพั ยากรในระยะยาว ลดการปลอ่ ย
ก๊าซเรอื นกระจกสทุ ธิเปน็ ศูนย์ ผลกั ดนั การใชร้ ะบบฟารม์ อัจฉริยะและฟาร์มอัจฉรยิ ะในเมอื งใหเ้ พิ่มมากขนึ้ เพ่ือเพม่ิ ความ
แมน่ ยำ�ในการผลติ ให้ไดผ้ ลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐาน สร้างความมัน่ คงทางอาหาร ยกระดบั สินค้าเกษตรใหไ้ ด้รับการ
รับรองมาตรฐาน GAP/อินทรีย์ ทงั้ หมด พรอ้ มเข้าสมู่ าตรฐาน Regenerative Organic ระดบั โลก
ผลักดันการแปรรูปมูลค่าสงู ผลกั ดนั เกษตรกร กล่มุ เกษตรกร สหกรณ์ ผปู้ ระกอบการ แปรรูปสินคา้ เกษตรแทน
การจำ�หน่ายแบบวตั ถุดบิ ทมี่ มี ูลคา่ ต่ำ�เปน็ ผลิตภัณฑ์มลู ค่าสูงและต่อยอดตามแนวทาง BCG Model ยกระดับมาตรฐาน
ความปลอดภยั สนิ ค้าเกษตรแปรรูปและอาหาร (GMP HACCP ฯลฯ) ให้เป็นท่ยี อมรบั ของตลาดทงั้ ภายในและต่างประเทศ
ใช้การตลาดสมยั ใหม่ หรือ “การตลาด 5.0” เนน้ ข้อมลู Big Data ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Blockchain
เพื่อมาบรกิ ารลกู คา้ อย่างเขา้ ใจ รวดเรว็ ตอบโจทย์ สร้างประสบการณท์ ี่ดแี ละความผกู พันต่อลกู ค้า ซึง่ ตอ้ งเรง่ พัฒนา
โครงสรา้ งพืน้ ฐานทเี่ กี่ยวข้อง พัฒนาองคค์ วามรู้ รวมทั้งยกระดบั ประสิทธภิ าพของระบบโลจิสติกส์การเกษตรเพอ่ื ลดต้นทนุ
และเพิ่มคณุ ภาพการบรกิ ารแก่ผบู้ รโิ ภค

การปรบั ตวั ของกระทรวงเกษตรและสหกรณส์ ่ยู ุค “Next Normal”

พฒั นาบุคลากรกระทรวงท้ังระบบครบวงจร เรง่ ยกระดับการพฒั นาบคุ ลากรของกระทรวงให้เป็น
“Smart Officer” ซ่ึงเป็นหัวใจของการพัฒนาภาคการเกษตรในทุกมติ ิ เพื่อเชอ่ื มโยงทุกกลุ่มคนภาคเกษตร
ทัง้ บุคลากรภาครัฐของหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ผปู้ ระกอบการภาคเอกชน สถาบนั การศกึ ษา รว่ มพฒั นาเกษตรกร
ใหเ้ ปน็ Smart Farmer/Young Smart Farmer ยกระดับการผลิต การแปรรปู และการตลาด เพ่อื สรา้ งความเข้มแขง็

ให้กบั ภาคการเกษตร โดยเรง่ พัฒนาการบริหารและพัฒนาบคุ ลากรของกระทรวง ดังนี้
1.1 เปิดรบั คนรุ่นใหมท่ ่มี ที กั ษะทนั สมยั โดยกำ�หนดคณุ สมบัติของข้าราชการทีจ่ ะบรรจแุ ต่งต้ังใหม่เนน้ การรับคนเพื่อ
อนาคตของกระทรวง ซงึ่ ควรมที ักษะพื้นฐานทส่ี ำ�คญั โดยเฉพาะกล่มุ ทักษะ Digital Skill ความสามารถดา้ นภาษา และใน
วิชาชีพทม่ี ีแนวโนม้ ขาดแคลนในอนาคตจากการเกษียณอายุราชการ
1.2 ผลักดันให้บุคลากรเรง่ พฒั นาตนเองใหม้ ที ักษะและความรทู้ ีท่ นั สมยั (Re-skill/Up-Skill/New-Skill) ปจั จุบนั
แต่ละคนสามารถเข้าถงึ องคค์ วามรตู้ า่ ง ๆ ไดม้ ากมาย สามารถศึกษาเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง โดยเฉพาะทักษะด้านดจิ ิทลั
ทักษะดา้ นภาษา หรอื ทกั ษะอนื่ ๆ ท่จี ำ�เป็นตอ่ การทำ�งาน ให้มีองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะทีห่ ลากหลาย รวมทง้ั กลมุ่ ทกั ษะ soft skills
ซงึ่ จำ�เปน็ อย่างมากในการทำ�งานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกดิ ผลลัพธท์ ่ีดี
1.3 พัฒนาบุคลากรใหส้ อดคลอ้ งกบั เส้นทางความก้าวหน้าในอาชพี (Career Path) ทกุ สว่ นราชการได้จดั ทำ�
เสน้ ทางความก้าวหนา้ ในอาชีพ (Career Path) ครบถ้วนแลว้ ดังนน้ั ขอใหท้ ุกหน่วยงานวางแผนการพัฒนาบคุ ลากร
เป็นรายบคุ คล เพ่ือใหท้ ุกคนมคี ณุ สมบตั พิ ร้อมทจ่ี ะเติบโตตาม Career Path ทก่ี ำ�หนด
1.4 วางแผนทดแทนตำ�แหน่ง (Succession Plan) ใหต้ ่อเนือ่ ง คดั เลือกและพัฒนาศักยภาพของผูท้ ่ีมีความสามารถ
โดดเดน่ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการเข้าสตู่ ำ�แหนง่ เป้าหมายท่ีจะมาทดแทนตำ�แหนง่ สำ�คญั ๆ หรือตำ�แหน่งหลกั (Key Position)
เพ่อื ใหอ้ งคก์ รไม่ขาดบคุ ลากรทีเ่ หมาะสมกับตำ�แหน่งเป้าหมาย โดยขอใหจ้ ัดทำ�ฐานข้อมูลกำ�ลงั คนคุณภาพ (Talent In-
ventory) เพือ่ ชว่ ยให้การบรหิ ารกำ�ลงั คนคุณภาพของกระทรวงมีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้
1.5 พฒั นาวัฒนธรรมการทำ�งานให้สอดคลอ้ งกับยคุ Next Normal ในลกั ษณะการทำ�งานแบบผสมผสาน (Hybrid)
สอดประสานการทำ�งานแบบเก่าทต่ี ้องการสถานที/่ พื้นที่ในการทำ�งาน รว่ มกับเทคโนโลยสี มัยใหม่ทเี่ ปลย่ี นแปลง เอือ้ ใหเ้ กดิ
การทำ�งานได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา เน้นใช้เทคโนโลยแี พลทฟอร์มท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสนับสนนุ การทำ�งาน ตอบสนองความตอ้ งการ
ขบั เคล่ือนการพัฒนาและการแกไ้ ขปัญหาภาคเกษตรได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

พฒั นากระบวนการขับเคลือ่ นภารกจิ ของกระทรวง
2.1 เชื่อมโยงการวางแผนทกุ ระดบั โดยผลกั ดนั ให้แผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ระดบั จังหวัดใหเ้ ป็นแผนหลกั
ดา้ นการเกษตรของกระทรวงในจงั หวดั เชื่อมโยงทรพั ยากรท่สี ำ�คญั ของพ้ืนท่ี วางแผนโดยมี “น้ำ�นำ�” ซ่งึ แผนพฒั นาการ
เกษตรและสหกรณ์ระดบั จงั หวัดจะเป็นกรอบการจัดทำ�คำ�ของบประมาณระยะปานกลาง (MTEF) และการจัดทำ�งบประมาณ
ประจำ�ปขี องทุกหนว่ ยงานของกระทรวงในจงั หวดั เพ่อื ใหก้ ารเสนอของบประมาณของกระทรวงและจังหวัดมีเป้าหมายการ
พฒั นาภาคเกษตรที่ชดั เจน
2.2 บูรณาการขอ้ มลู ภาคเกษตรทกุ มิติ ผลักดันให้การเชื่อมโยงบูรณาการข้อมูลด้านการเกษตรจากหน่วยงานตา่ ง ๆ
ทุกภาคสว่ นทเ่ี กีย่ วข้อง ใหส้ ามารถใช้ประโยชน์ไดท้ ้งั ข้อมลู สำ�หรบั เกษตรกรและผปู้ ระกอบการเพอ่ื การพัฒนาในเชงิ ธุรกิจ
และการบรหิ ารจดั การเชิงนโยบาย โดยขับเคล่ือน Big Data และการบูรณาการฐานขอ้ มลู ด้านการเกษตรทุกมติ ิ
2.3 พฒั นาโครงการใหม่ทีต่ อบโจทย์ สร้างการมีส่วนรว่ มในการออกแบบโครงการใหมท่ ี่ตอบโจทย์ความตอ้ งการของ
พนื้ ที่ ทรัพยากร ศักยภาพความโดดเดน่ และอตั ลักษณพ์ ้นื ถิ่น และใช้เทคนิคและวธิ ีการพัฒนาใหม่ๆ ทัง้ ในมติ ิเสรมิ ความ
สามารถในการแข่งขัน และมติ ิความยั่งยนื
2.4 สร้างความเขม้ แขง็ กลไกขบั เคลอ่ื นในพ้ืนที่ (Single Command) เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพและเอกภาพการทำ�งานในระดบั
พืน้ ท่ี สร้าง “ทมี เกษตร” ทเ่ี ข้มแข็ง เกือ้ กูล บรู ณาการ ทำ�งานสอดประสานกนั อยา่ งลงตัว บนพน้ื ฐานความเชี่ยวชาญและ
ภารกิจของแตล่ ะหน่วยงาน ร่วมแก้ไขปญั หาและพฒั นาภาคการเกษตรในพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบโดยเชอื่ มโยงกลไกการบรหิ าร
และการตรวจราชการของกระทรวง

8

ผลกั ดนั การวิจัยและนวตั กรรมเกษตร
3.1 สร้างและพัฒนานกั วิจยั ด้านการเกษตร ของกระทรวงรว่ มกับสถาบนั การศกึ ษา ผลักดันการ Up-Skill Re-Skill
และ New-Skill ให้มีโอกาสไดเ้ รียนรูแ้ ละทำ�วจิ ยั เก่ยี วกับเทคโนโลยีและนวตั กรรมท่ีทันสมัยและฟาร์มอจั ฉรยิ ะโดยเรว็ และ
เนน้ การวจิ ัยแบบ On-Farm Research
3.2 ผลักดนั การศึกษาวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมทางการเกษตรทุกด้าน ทัง้ การวิจยั พน้ื ฐาน ทรัพยากร ดิน นำ้ � การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ภยั พิบตั ิ การผลิตดา้ นพชื ปศุสตั ว์ ประมง ผลกั ดนั การวิจยั การแก้ปัญหาภาคการเกษตร
เพ่ือนำ�ไปสู่การเปล่ียนแปลงโครงสร้างภาคเกษตรกรรมของประเทศ มงุ่ เน้นแนวทางการแกไ้ ขปัญหาในรูปแบบใหม่ ๆ รวมทั้ง
การวจิ ยั ทเี่ พิ่มความสามารถในการแข่งขนั
3.3 พัฒนาเครอื ข่ายนกั วจิ ัยและการทำ�วจิ ยั รว่ มกนั พัฒนาเครอื ข่ายนกั วิจยั และผลักดันการพัฒนางานวจิ ัยร่วมกนั
ระหวา่ งกระทรวง หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และมหาวทิ ยาลยั รว่ มกนั ศึกษาวิจัยในมติ ิทกี่ ว้างขวางมากข้นึ เพื่อการสนับสนุน
องคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ ให้กับเกษตรกร
3.4 พัฒนาหนว่ ยบรกิ ารจบั คนู่ ักวจิ ัยดา้ นการเกษตรกับผูป้ ระกอบการทค่ี รบวงจร โดยเปน็ หน่วยงานที่ทำ�หนา้ ที่
เปน็ ศนู ยก์ ลางการจบั คู่นกั วิจัยทม่ี ผี ลงานวิจยั ดา้ นการเกษตรทีส่ ามารถต่อยอดในเชงิ พาณิชยไ์ ด้ นำ�เสนอต่อผู้ประกอบการ
ท่ีสนใจและกลมุ่ สตาร์ทอพั ด้านการเกษตร ทีจ่ ะเปน็ ผนู้ ำ�การเปล่ียนแปลงในการมาชว่ ยสนับสนุนการเพ่ิมประสิทธภิ าพการ
ผลติ ลดตน้ ทุน และเพมิ่ ผลิตภาพให้กับภาคการเกษตร เพอื่ ต่อยอดงานวจิ ยั สกู่ ารเพิม่ มูลคา่ ตามแนวทาง BCG Model

ยกระดับความร่วมมือเครอื ข่ายการพฒั นาภาคเกษตรจากทกุ ภาคส่วน
4.1 เช่อื มโยงทกุ เครือข่ายองค์กรเพอ่ื พัฒนาภาคเกษตร โดยเช่ือมโยงองค์กรทีเ่ ก่ยี วข้องทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ
ท้งั องคก์ รภาครัฐ เอกชน สถาบนั การศึกษา องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรระหวา่ งประเทศต่าง ๆ โดยมหี น่วยงาน
สงั กัดกระทรวงเป็นแกนสรา้ งความรว่ มมอื กับเครอื ขา่ ยต่าง ๆ
4.2 เสริมบทบาทภาคเอกชนในการพัฒนา เนือ่ งจากภาคเอกชนมีความพรอ้ มในเรอื่ งองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี แหลง่ ทุน
และระบบบรหิ ารจัดการท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถสนบั สนุนการทำ�การเกษตรในมติ ติ ่าง ๆ ให้กบั เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร
แปลงใหญ่ สหกรณ์ โดยเฉพาะการเชอื่ มโยงความต้องการของตลาดสูก่ ระบวนการผลติ ที่มีมาตรฐาน
4.3 พฒั นาเครือขา่ ยคนเกษตรเพือ่ ยกระดบั องค์ความรู้ โดยเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยบคุ คลท่ีเก่ยี วข้องกับภาคการเกษตร
ทงั้ หมด มศี ูนยเ์ รยี นรกู้ ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สินค้าเกษตร (ศพก.) 882 ศูนย์ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการพฒั นาเกษตรกร
เช่อื มโยงศนู ย์เทคโนโลยีเกษตรและนวตั กรรม (Agritech and Innovation Center : AIC) รวมทงั้ ศนู ย์ของภาครัฐ
เอกชน และสถาบันการศึกษาทเ่ี กี่ยวขอ้ ง พัฒนาระบบฐานข้อมลู ผูเ้ ข้ารับการอบรมเชือ่ มโยงกับฐานข้อมูลทะเบยี น
เกษตรกร รวมท้งั การสร้างมาตรฐานวชิ าชพี เกษตรกรรม เพ่ือจูงใจให้ลกู หลานเกษตรกร คนรุน่ ใหม่และผทู้ ส่ี นใจมาทำ�
อาชพี เกษตรกรรรมเพิ่มข้ึน

NENXOTRMAL

9

การรับของโดยธรรมจรรยา
และ การรบั สินบน แตกต่างกันอยา่ งไร ?
บ่ ายวนั หนึง่ มีตัวแทนบริษัทนำ�กระเปา๋ แบรนด์เนม มลู คา่ 50,000 บาท มามอบให้เจ้าหน้าท่ี
รฐั ผมู้ อี ำ�นาจอนุมตั ลิ งนามการจดั ซ้ือจดั จ้าง พรอ้ มจูงใจใหช้ ่วยเหลอื บรษิ ัทได้เซ็นสัญญา
ทำ�งาน ในปงี บประมาณถดั ไปแทนบริษัทคแู่ ข่ง
ชา้ ก่อน! การกระทำ�นั้นผดิ กฎหมายขอ้ หา “รบั สินบน” นะ เพราะตามประกาศคณะกรรมการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เร่อื ง หลักเกณฑ์การรับทรพั ยส์ ินหรือประโยชน์
สิน$บน อืน่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ พ.ศ. 2543 กำ�หนดว่า (1) รับทรัพย์สนิ
หรือประโยชน์อ่ืนใดจากญาตซิ งึ่ ให้โดยเสน่หาตามจำ�นวนทเี่ หมาะสมตามฐานานรุ ูป
(2) รับทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ื่นใดจากบคุ คลอื่นซงึ่ มใิ ชญ่ าติมีราคาหรือมูลค่าในการ
รับจากแตล่ ะบคุ คล แตล่ ะโอกาสไม่เกินสามพนั บาท (3) รับทรพั ยส์ ินหรอื ประโยชนอ์ ่นื
ใดทีก่ ารให้น้นั เป็นการใหใ้ นลกั ษณะใหก้ ับบุคคลท่วั ไป
ทั้งน้ี การรบั ทรัพย์สินหรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดมีมูลคา่ เกินกวา่ สามพนั บาท ให้เจา้ หน้าที่ของรัฐ
รายงานผบู้ งั คับบญั ชาทราบโดยเร็ว หากมคี ำ�สั่งว่าไม่สมควรรับทรพั ยส์ นิ หรือประโยชน์
ดงั กลา่ วก็ให้คืนแกผ่ ใู้ หท้ ันที ในกรณีท่ไี ม่สามารถคนื ใหไ้ ด้ ให้สง่ มอบทรพั ย์สนิ หรอื ประโยชน์
ดังกล่าวเปน็ สิทธขิ องหนว่ ยงานที่เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐสังกัดโดยเร็ว
สนิ บน คือ สิง่ ท่ีไมช่ อบธรรมตามกฎหมายทกุ ประการ ไมใ่ ชเ่ พยี งแต่ผรู้ ับสินบนเท่าน้ันท่ีผิด ผ้ใู ห้สนิ บน
กผ็ ิดด้วยนะจะ๊ ดงั นนั้ เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐโปรดพิจารณาใหถ้ ี่ถว้ นกอ่ นการรับของจากใคร เพือ่ ให้เปน็ ไป
ตามการรับของโดยธรรมจรรยา

เดนิ ขน้ึ บนั ได แทนการใชล้ ฟิ ต์ เทรนดฮ์ ติ “Office Exercise”
ชว่ ยประหยดั พลงั งาน
พ นกั งานประจำ�ออฟฟิศหลายคนมกั มปี ัญหาสขุ ภาพ อนั เนอ่ื งมาจากการน่ังทำ�งานอยูก่ บั ท่ีเป็นระยะเวลานานโดยไม่

ได้ยืดเส้นยืดสาย อีกทงั้ ยงั ไมม่ เี วลาไปเขา้ ฟิตเนส จนทำ�ให้เป็นโรค Office Syndrome ไปโดยไมร่ ้ตู ัว ถา้ อย่างนน้ั ลองปรบั มุม
มองกันใหม่ ในเมอื่ หาเวลาไปออกกำ�ลังกายขา้ งนอกไม่ได้ กใ็ ช้วธิ ีออกกำ�ลงั กายในออฟฟศิ หรือ “Office Exercise” ซ่งึ กำ�ลงั เปน็
เทรนด์ที่กำ�ลงั มาแรงในหมพู่ นกั งานประจำ�ออฟฟศิ ไมต่ อ้ งใช้อุปกรณ์อะไรมากมาย
เพยี งแคเ่ ดนิ ขึน้ -ลงบนั ไดทุกวัน กไ็ ดห้ ่นุ สวยๆ สุขภาพดีกลับไปกันแล้วจ้า
มีข้อมลู จากคณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี ระบวุ า่ การเดินข้นึ บันได
1 นาที สามารถเผาผลาญพลงั งานได้ 10 กิโลแคลอรี นอกจากจะชว่ ยเบิร์นไขมันทีส่ ะสม
ในรา่ งกายแล้ว ยงั เป็นการออกกำ�ลงั แบบแอโรบกิ ทีช่ ่วยให้หัวใจแขง็ แรง ทำ�ให้กล้ามเนอื้ ต้นขา
น่อง และกน้ กระชับขึ้น เสริมสร้างกระดกู ให้แข็งแรง แถมยังมอี าการปวดข้อน้อยกวา่ การออก
ไปวิง่ เสียอกี ทส่ี ำ�คญั ยงั เปน็ การชว่ ยลดพลังงานการใช้
ลิฟตอ์ ีกด้วย เนือ่ งจากลิฟตเ์ ป็นเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าทีใ่ ช้
ไฟฟา้ ค่อนข้างมาก บางหน่วยงานใหค้ วามสำ�คญั กับ
เรื่องนอ้ี ยา่ งจริงจัง ถงึ กบั สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รขนึ้ มา
โดยตัง้ ค่าให้ลิฟต์หยุดเฉพาะชน้ั เลขคใู่ นวนั คู่ และหยดุ ชนั้
เลขค่ีในวนั คี่ ทำ�ให้พนักงานมโี อกาสเดนิ ขน้ึ -ลงบนั ไดใน
ระหวา่ งวนั บ้าง ซึ่งช่วยใหพ้ นักงานไดม้ ีสขุ ภาพทดี่ ี หนว่ ยงาน
ไดป้ ระหยัดพลังงาน เรียกว่าได้ประโยชน์กนั ทกุ ฝา่ ยเลยคะ่
การเดนิ ขนึ้ -ลงบันได มขี อ้ ดมี ากมายขนาดนี้ กองบรรณาธิการ POPS : กองเกษตรสารนเิ ทศ สำ�นกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รู้แลว้ ก็มาเริ่มต้นในวันพรุง่ นก้ี ันเลย ยะฮ!ู้ 3 ถ.ราชดำ�เนินนอก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กทม. 10200
Tel. 0-2281-2505 Fax. 0-2281-9416
E-mail : [email protected] Website : www.opsmoac.go.th


Click to View FlipBook Version