The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสาร ม.2 เทอม 2 WR1.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suphajit.chan, 2021-06-05 03:44:34

สังคมพื่นฐาน ม.2

เอกสาร ม.2 เทอม 2 WR1.2

22104

SOCIAL STUDIES
2




เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา สังคมพื้นฐาน ( ส 22104 ) ผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้
พฒั นาการเรียนการสอนรายวิชา ส 22104 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวชั รวิทยา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และสาระ
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้จัดทาได้ใช้ความเพียรพยายามในการ
จัดทาเอกสารประกอบการเรียนจากประสบการณ์การสอนและการค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทาเป็นรูปเล่ม
พร้อมภาพประกอบที่สวยงาม เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมพื้นฐาน ( ส 22104 ) ที่จัดทาขึ้นมีเนื้อหาครอบคลุม
ในสาระการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม และ สาระการเรียนรู้
เศรษฐศาสตร์ ประกอบไปด้วยเนื้อหาทั้งหมด 9 บท ได้แก่ การเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
กฎหมายในชีวิตประจาวัน การเมืองการปกครอง วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย
การออมและการลงทุน การผลิตสินค้าและบริการ เศรษฐกิจพอเพียง การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
และความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ

ผู้จัดทาหวังว่าเอกสารประกอบการเรยี นรายวิชา สังคมพนื้ ฐาน ( ส 22104 ) เลม่ นจี้ ะมีประโยชน์
ต่อนกั เรียน ได้เรยี นรู้อยา่ งมีความสขุ เต็มศักยภาพของผู้เรยี น และสามารถพฒั นาการเรียนการสอนให้
มีคุณภาพ ตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร

ศุภจติ จันทรี
ครูผู้ช่วย โรงเรยี นวัชรวิทยา

คานา ก
สารบญั ข
สาระ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม
1
บทที่ 1 พลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธิปไตยในศตรวรรษที่ 21 1
เราอยู่ในสถาบันทางสังคมที่หลากหลาย 6
11
บทที่ 2 รู้กฎหมายใช้ให้เปน็ 15
รอบรกู้ ฎหมายเพือ่ การเปน็ พลเมืองทีด่ ี 25
32
บทที่ 3 การเมืองเรือ่ งของพวกเรา 37
ประชาธิปไตยบนเสน้ ทาง 86 ปี
43
บทที่ 4 เข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรม 55
สาระ เศรษฐศาสตร์ 65
71
บทที่ 5 การจดั การเงินและการหารายไดจ้ ากการลงทนุ 79
บทที่ 6 การจดั สรรทรัพยากรในฐานะผปู้ ระกอบการ
บทที่ 7 สร้างสมดุลชีวิต ดว้ ยเศรษฐกิจพอเพียง 91
บทที่ 8 ฉลาดรู้ผู้บริโภคยุคไทยแลนด์ 4.0
บทที่ 9 ระบบเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ
บรรณานกุ รม






วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2 ชื่อ..........................................................
ชั้น.................................เลขที่.................
Chapter 1.1

ในศตวรรษท่ี 21 โลกทุกอย่างเปลี่ยนไปเพราะเทคโนโลยีดิจิทลั อินเทอร์เน็ต
เปิ ดโอกาสมากมายอย่างไม่เคยเป็ นมาก่อน แต่ก็มาพรอ้ มกบั อนั ตรายรปู แบบใหม่
ที่หลายคนไม่คุน้ เคย การเรียนรูใ้ นเรื่องของ พลเมืองดิจทิ ลั ’ จะช่วยใหเ้ ราเท่าทนั
ความเปลี่ยนแปลงทจ่ี ะเกดิ ข้ นึ เพือ่ การเป็ นพลเมอื งทดี่ ีตามวิถีประชาธิปไตย

เคารพศกั ด์ศิ รี เคารพสทิ ธิ เสรภี าพ รบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง เคารพกตกิ า
ของสงั คม
ความเป็ นมนุษย์ ของผูอ้ ืน่ ผูอ้ ืน่ และสงั คม

การใชส้ ทิ ธิ เสรภี าพ เคารพหลกั ความ มเี หตผุ ล เคารพ ยอมรบั และเขา้ ใจ

อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม เสมอภาค ความคิดเหน็ ของผูอ้ ืน่ ในความแตกตา่ ง

Citizen = พลเมอื ง Digital Citizenship = พลเมอื งดจิ ิทลั Democracy = ประชาธปิ ไตย

Human Dignit = ศกั ดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ Right = สิทธิ Freedom = เสรีภาพ
Responsible = รับผดิ ชอบ Equal = เสมอภาค Reason = เหตผุ ล Opinion = ความคิดเห็น

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

ใหน้ ักเรียนวาดแผนผังของโรงเรียนวชั รวิทยา พรอ้ มระบุตาแหน่งที่นักเรียนสามารถแสดงพฤติกรรมตาม
หลกั ประชาธิปไตยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสมในบทบาทฐานะนักเรียน ใหค้ รบ 10 พฤติกรรม ตามสถานที่
ในโรงเรียนที่กาหนดใหด้ งั น้ ี

1. หอ้ งน้า
2. หอ้ งเรียน
3. โรงอาหาร
4. สวนสตั บรรณ
5. โรงจอดรถ
6. ลานไทร
7. หอประชุมโรงเรียน
8. หอ้ งกลุ่มสาระสงั คมศึกษา
9. สนามฟุตบอล
10. ระเบยี งทางเดนิ

พลเมืองดิจิทัล คือ พลเมืองที่เกิดและเติบโต
ข้ ึนมาในยุคที่เทคโนโลยีเขา้ มามีบทบาทสาคญั ในชวี ิต
เช่น กา ร ส่ือสา ร กับผู้คนทั่วทุกมุมโล กโดยใช้
แพลตฟอร์มอย่าง Skype, Facebook รวมไปถึงการ
เข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีมีอยู่มากมาย เช่น
Youtube Wikipedia , เป็ นตน้

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

การตระหนักถึง การเปน็ ผสู้ ง่ สาร การใชเ้ ทคโนโลยี เรยี นรวู้ ิธีการสรา้ ง
และรับสารที่ ที่เหมาะสม ความปลอดภยั
ความสามารถใน มีมารยาท
ในการใช้เทคโนโลยี
กกาารรเขา้ ถึงเทคโน
สาสราสรนสเทศของผูอ้ ื่น

ใหน้ ักเรียนตอบคาถามและวเิ คราะหส์ ถานการณจ์ ากท่คี รูกาหนดให้

“โ พ ส ต์ ด่ า ผู้ อื่ น ส่งิ ใดเป็ นสิ่งท่ีไมค่ วรกระทาในฐานะพลเมืองดิจิทลั
ในเฟสบุ๊คท้งั ๆ ที่เขา ..............................................................................................
กไ็ มเ่ คยทาอะไรให้ ..............................................................................................
ในฐานะพลเมืองดิจิทลั เราควรแกไ้ ขและรบั มอื อยา่ งไรบา้ ง
..............................................................................................
..............................................................................................

โพสตเ์ น้ ือหาคุกคาม สิ่งใดเป็ นสงิ่ ที่ไมค่ วรกระทาในฐานะพลเมืองดิจิทลั
ห รื อ มุ่ ง ท า ใ ห้ผู้อ่ื น ..............................................................................................
อับ อ า ย ใ น โ ซ เ ชี ย ล ..............................................................................................
มเี ดีย ในฐานะพลเมืองดิจิทลั เราควรแกไ้ ขและรบั มืออยา่ งไรบา้ ง
..............................................................................................
..............................................................................................

ถ่ า ย วิ ดี โ อ ก า ร ท า ส่งิ ใดเป็ นสิ่งที่ไมค่ วรกระทาในฐานะพลเมืองดิจิทลั
รา้ ยร่างกายผูอ้ ่ืนผ่าน ..............................................................................................
มือถือ แลว้ นาไปแชร์ ..............................................................................................
ตอ่ ใหค้ นเหน็ ซ้าๆ ในฐานะพลเมืองดิจิทลั เราควรแกไ้ ขและรบั มอื อยา่ งไรบา้ ง
..............................................................................................
..............................................................................................

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

สถานภาพ ( status )
หมายถงึ ตาแหน่งของบคุ คลทสี่ งั คมกาหนดข้ ึน
แบง่ เป็ น 2 ประเภทดงั น้ ี

>>สถานภาพโดยกาเนิด เชน่ .........................................
>>สถานภาพทไ่ี ดม้ าภายหลงั เชน่ .................................

บทบาท ( Role )
หมายถึง พฤตกิ รรมทเ่ี ป็ นแนวทางในการปฏบิ ตั ติ น
ตามทสี่ งั คมกาหนดและคาดหมายใหก้ ระทาตามสถานภาพ
เช่น นาย ก มสี ถานภาพเป็ นพอ่ มบี ทบาทในการเล้ ยี งดู
เดก็ ชาย ข ซ่ึงบทบาทจะก่อใหเ้ กิดการกระทาตามสิทธิ
และหนา้ ทีใ่ นสถาบนั ทางสงั คมของสมาชิกตามมา

สทิ ธิ (Rights)
หมายถงึ อานาจหรือประโยชน์ของบคุ คลท่ีกฎหมาย
ใหก้ ารคุม้ ครอง เช่น บคุ คลมสี ทิ ธิในชีวติ และร่างกาย
ของตนเอง มีสทิ ธิในทรพั ยส์ นิ ของตนเอง หรือ สทิ ธิ
ในการเขา้ ถึงบริการต่าง ๆ ท่ีรฐั จดั ให้

เสรภี าพ (Freedom)
หมายถึง ความมอี ิสระของบุคคลท่สี ามารถทาอะไร
ก็ไดต้ ามสิทธทิ ี่ตนมอี ยภู่ ายใตข้ อบเขตของกฎหมาย
เชน่ บคุ คลมเี สรีภาพในการชุมนุมโดยปราศจากอาวุธ
หรือเสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นและการเขา้ ถึง
ขอ้ มลู การเลือกนับถอื ศาสนา การประกอบอาชีพ

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

ใหน้ ักเรียนพิจารณาขอ้ ความในแตล่ ะขอ้ ว่า เป็ น สทิ ธิ เสรีภาพ หรือบทบาท
หนา้ ท่ี โดยทาเคร่ืองหมาย  ในช่องที่กาหนดให้

ขอ้ ที่ ขอ้ ความ สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหน้าที่

1. การเป็ นเจา้ ของทรพั ยส์ นิ และไดร้ บั คุม้ ครองตามกฎหมาย

2. การเสนอเร่ืองราวรอ้ งทุกขแ์ ละไดร้ บั แจง้ ผลการพจิ ารณา

ภายในเวลาที่สมควร

3. การพทิ กั ษ์รกั ษาไวซ้ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตย

4. การไดร้ บั การศึกษาขน้ั พ้ นื ฐานและการเลือกศึกษาในสาขาท่ี

ตนเองสนใจ

5. การเลือกนับถือศาสนารวมถงึ การเขา้ ร่วมและปฏิบตั ิตาม

พิธีกรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ

6. การประกอบกิจการหรือการประกอบอาชพี และการแข่งขนั

โดยเสรีอยา่ งเป็ นธรรม

7. การไดร้ บั บริการสาธารณสขุ ทีไ่ ดม้ าตรฐาน รวมถงึ สวสั ดิการ

ในการรกั ษาพยาบาลจากรฐั

8. การไปใชส้ ิทธิออกเสยี งเลือกตง้ั เมื่ออายุครบ 18 ปี บริบรู ณ์

9. การแสดงความคดิ เห็น การพดู การเขยี น การพมิ พ์

การโฆษณา

10. การพทิ กั ษ์ ปกป้อง และร่วมสบื สานศิลปวฒั นธรรมของชาติ

11. ด.ญ. ใหม่ ไป ถอนฟันที่โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล

12. นายกรฐั มนตรีลงตรวจพ้ นื ทวี่ นอทุ ยานถ้าหลวงขุนน้า

นางนอน เพอื่ ตดิ ตามการดูแลชว่ ยเหลือทีมหมูป่ าทตี่ ดิ ถา้

13. การเขา้ ถึงขอ้ มลู ขา่ วสารในอนิ เทอรเ์ น็ตตามท่รี ฐั จดั สรรให้

14. การเสยี ภาษีอากรตามทก่ี ฎหมายกาหนด

15. การเขา้ ร่วมชุมนุมอย่างสงบโดยปราศจากอาวธุ

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2 ชือ่ ..........................................................
ช้ัน.................................เลขที.่ ................
Chapter 3

• ภาพบคุ คลดงั กล่าวเกย่ี วขอ้ งกบั สถาบนั ใด
• ใครเป็ นคนกาหนดรูปแบบหรือแบบแผนของกิจกรรมในสถาบนั สงั คมตา่ ง ๆ กาหนดข้ นึ มาเพอ่ื อะไร

>> กระบวนการของสงั คมทม่ี นุษยจ์ ดั ต้งั ข้ ึนอย่างเป็ นระเบียบแบบแผน

• สถาบนั ทางสงั คมเกิดจากการยอมรบั ของสมาชกิ ในสงั คม เป็ นผลมาจากความตอ้ งการหา
แนวทางปฏิบตั ทิ ่ีจะทาใหส้ งั คมเกิดความเป็ นระเบียบ และอย่รู ่วมกนั อยา่ งเป็ นสุข

• สถาบนั ทางสงั คมเป็ นนามธรรม เพราะสถาบนั ทางสงั คมเป็ นแบบแผนที่สงั คมกาหนดข้ นึ
เป็ นแนวทางในการปฏบิ ตั ขิ องสมาชิกในสงั คม ไมใ่ ชบ่ ุคคลหรือสถานที่

• สถาบนั ทางสงั คมมคี วามมนั่ คงถาวร แต่กส็ ามารถเปลี่ยนแปลงได้
• สถาบนั ทางสงั คมตอ้ งประกอบดว้ ยสญั ลกั ษณ์ เพื่อใหส้ มาชิกไดเ้ ขา้ ใจร่วมกนั
• สถาบนั ทางสงั คมยอ่ มประกอบดว้ ยบุคคลทมี่ ีสถานภาพและบทบาทตา่ ง ๆ เพือ่ ดาเนินงาน

ตามแบบแผนของสถาบนั

สรุป ในแต่ละสังคม จะมีการกาหนดแนวทางหรือแบบแผนเพ่ือใช้ในการดาเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ในสังคม แบบแผนเหล่านี้สังคมได้ร่วมกันกาหนดขึ้นมาเพื่อให้เกิดความ
สงบเรียบร้อยและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เราเรียกว่า “สถาบันสังคม ” โดยแต่ละ
สถาบนั ล้วนมคี วามสัมพนั ธแ์ ละสาคัญตอ่ วิถชี ีวิตของคนในสังคม

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

สถาบนั ทางสงั คม ตัวอย่างสมาชิก หน้าท่ี
สถาบนั ครอบครวั พ่อ แม่ ลกู ญาติพ่นี อ้ ง • ผลิตสมาชกิ ใหม่
• อบร ม เล้ ี ย ง ดู ใ ห้คว า ม รัก
สถาบนั การศกึ ษา ครู อาจารย์ นักเรียน นิสิต
นักศกึ ษา ความอบอนุ่
• ถา่ ยทอดวฒั นธรรม
สถาบนั เศรษฐกิจ ผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค
หน่วยธุรกจิ ไดแ้ ก่ รฐั บาล • ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์
เอกชน และ ครวั เรือน และวฒั นธรรม

สถาบนั การปกครอง รั ฐ บ า ล นั ก ก า ร เ มื อ ง • ผลิตแรงงานใหส้ งั คม
ศาลยุติธรรม
• ผลิตและบริโภคสินค้าและ
สถาบนั ศาสนา ผูน้ ับถือศาสนา ผูส้ ืบทอด บริการ
ศาสนา
• สร้างความมัง่ คัง่ และความ
สถาบนั สื่อสารมวลชน ส่ือสารมวลชน ทุกประเภท เป็ นอย่ทู ีด่ ี
เ ช่ น โ ท ร ทั ศ น์ วิ ท ยุ
หนังสอื พมิ พ์ นิตยสาร • ออกกฎหมาย สรา้ งระเบียบ
กฎเกณฑ์
สถาบนั นันทนาการ กฬี าและการละเล่น
• แ ก้ไข ปั ญหา คว า ม ขั ด แ ย้ง
ระหวา่ งสมาชกิ

• จดั บริการและสวสั ดิการ
• ควบคุมสมาชิกใหป้ ฏิบัติตาม

บรรทดั ฐานทางสงั คม
• เป็ นทพี่ ึ่งพงิ ทางจติ ใจ

• สอ่ื กลางระหว่างสมาชกิ
• ให้ข่าวสารข้อมูลและสาระ

ความรู้
• ใหค้ วามบนั เทิง

• เสริมสรา้ งความสามคั คี
• ปลกู ฝังระเบยี บวินัยใหส้ มาชกิ
• สรา้ งเสริมสขุ ภาพที่แข็งแรง
• ฝึกทกั ษะความชานาญต่าง ๆ

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2 ความสมั พนั ธท์ างออ้ ม
ความสมั พนั ธท์ างตรง

เป็ นความสัมพันธท์ ี่มีลักษณะเกี่ยวขอ้ งกัน เป็ นความสมั พนั ธท์ ไ่ี มไ่ ดเ้ กยี่ วขอ้ งกนั โดยตรง

โดยตรง มีการพบปะพดู คุยกนั ตัวอย่างเช่น การเป็ นคนไทยเช่นเดียวกัน

การนับถือศาสนาเดยี วกนั กบั คนอนื่ ๆ ในสงั คม

>> ใหน้ ักเรียนเลือกสถาบนั ทางสงั คม มา 1 สถาบนั และวาดภาพท่สี ะทอ้ นใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์
ของผคู้ นในสถาบนั โดยแบ่งเป็ นปัจจุบนั และ อนาคต

ปจั จบุ นั สถาบนั ทเี่ ลือก...........................................
อนาคต
ภาพสือ่ ถึง
......................................................................
......................................................................
......................................................................
......................................................................
......................................................................

ภาพสอื่ ถึง
......................................................................
......................................................................
......................................................................
......................................................................
......................................................................

วิชาสงั คมพืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

Check point 1

ให้นักเรยี นนาเสนอสถาบนั ทางสังคมในยุคใหมท่ ่ีควรเพิ่มเข้ามาในอนาคต
1. ใหน้ ักเรยี นวาดรูปพรอ้ มระบายสแี ละตง้ั ชอ่ื สถาบนั ทางสงั คมในยุคใหม่ในความคิดนกั เรียน

ควรมีสถาบนั อะไรทค่ี วรเพิ่ม
เขา้ มา 1 สถาบัน
2. ให้นักเรียนเขียนอธิบายถึงสถาบันทางสังคมที่นักเรียนเขียนมาว่าทาไมถึงควรมี และสถาบัน
ดังกลา่ วควรมบี ทบาทอย่างไร

สถาบนั ทางสงั คมมชี ่ือวา่ ...................................................................

สถาบันที่นกั เรียนสรา้ งข้ึนมามีบทบาทอยา่ งไร
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................




วิชาสงั คมพืน้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2 ชื่อ..........................................................
ช้ัน.................................เลขที่.................
Chapter 2.1

>> ใหน้ ักเรยี นใช้ ตรวจสอบขอ้ มูลจากส่ิงที่ครูกาหนดให้ วา่ สิง่ ใดจัดเป็นกฎหมายหรอื ไมเ่ ป็นกฎหมายบา้ ง

พร้อมท้งั ระบเุ หตุผลในส่ิงท่ตี นเองได้เลือกให้ถูกต้อง

ประเด็น ตัวเลือก เหตผุ ล

เปน็ กฎหมาย ไม่เป็นกฎหมาย

หา้ มท้ิงขยะลงบนถนน ฝา่ ฝืน

ได้รบั โทษปรบั

ห้ามนาอาหารมารบั ประทาน

ในห้องเรียน

ห้ามจอดรถขวางประตูเข้า-ออก

ลงโทษ จาคกุ กับสุนขั ทที่ าร้าย

ผ้อู ่ืน

กรุณาแต่งกายให้สุภาพกอ่ นมา

ตดิ ต่อราชการ

บุคคลท่ีมอี ายุ 18 ปบี รบิ ูรณ์

มสี ทิ ธิเ์ ลือกตัง้

ณเดชน์ ออกกฎหมายเก็บภาษี

คนโสด

ใส่หมวกกนั น็อคทุกครัง้ ท่ขี บั ข่ี

การรณรงค์ให้เลิกสูบบุหร่ี
ในที่สาธารณะ
ห้างสรรพสินค้าโลตัส ประกาศวา่
ผใู้ ดขโมยของ โดนปรบั 30 เท่า

สรปุ ลักษณะของกฎหมาย
1) …………………………………………………………………………………………………………
2) …………………………………………………………………………………………………………
3) …………………………………………………………………………………………………………
4) …………………………………………………………………………………………………………
5) …………………………………………………………………………………………………………

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

ผู้มีอานาจสูงสุดในการออกกฎหมาย
........................................................................................................
โทษตา่ ง ๆ ของกฎหมายท่ีดาเนนิ การกบั ผู้ที่ฝา่ ฝืนกฎหมาย
.........................................................................................................
ประหารชวี ติ จาคกุ กกั ขัง ปรบั ริบทรพั ยส์ นิ
........................................................................................................
การบงั คบั ชาระหน้ี การชดใช้คา่ เสียหาย การเรียกเบยี้ ปรบั
........................................................................................................
กฎหมายท่ีว่าดว้ ยความผดิ และโทษทก่ี าหนดไวส้ าหรบั ความผดิ
........................................................................................................
กฎหมายทว่ี ่าด้วยความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลกบั บคุ คล บุคคลกับรัฐ
........................................................................................................

กฎหมายท่ไี มม่ ีลายลักษณอ์ ักษร กฎหมายท่มี ีลายลกั ษณอ์ ักษร กฎหมายท่อี า้ งอิงจากหลักศาสนา
ตัดสินคดีความจากสงิ่ ท่ีเขียนใน
ใชค้ าพิพากษาท่ีวางหลักไว้เป็นเกณฑ์ ตัดสินคดีความจากการสบื คน้ คัมภรี ์ของศาสนาอ่นื ๆ

ในการพจิ ารณาและให้อานาจผพู้ ิพากษา และตีความตามหลักกฎหมายท่ี

ในการใช้ดลุ พนิ ิจตัดสินคดีความ เป็นลายลักษณอ์ ักษร
ประเทศทมี่ ีการบังคับใช้
ประเทศท่ีมกี ารบังคบั ใช้ ประเทศในภาคพ้นื ทวีปยุโรป
ประเทศในเครอื จกั รภพ สหรัฐอเมรกิ า
ญปี่ นุ่ ไทย เป็นตน้
เป็นต้น

เนื้อความภาคทฤษฎี วธิ ีการว่าความคดี
วิธดี าเนนิ คดภี าคปฏิบัติ

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

เอกชน เอกชน เอกชน รัฐ รัฐ รฐั

เป็นกฎเกณฑ์ท่ีเกยี่ วกบั “ความสมั พนั ธ์”

ระหว่างบคุ คล โดยมงุ่ ประโยชน์ทีเ่ ป็นของ

เฉพาะบคุ คลโดยยุตธิ รรม

1. รัฐธรรมนูญ แผนกคดีบุคคลระหว่างประเทศ

2. กฎหมายปกครอง เกย่ี วกับเรอื่ งสถานะ หรอื

3. กฎหมายอาญา ความสัมพันธข์ องบุคคลสญั ชาติต่างกนั

4. กฎหมายว่าด้วย เชน่ เรือ่ งสญั ชาติ การสมรส การหย่า
พระธรรมนญู ศาลยตุ ิธรรม แผนกคดอี าญาระหว่างประเทศ

5. กฎหมายวา่ ด้วย กาหนดอานาจกฎหมายตอ่ ชาวตา่ งชาติ
วิธพี จิ ารณาความอาญา/แพง่ เชน่ การสง่ ตวั ผู้ร้ายข้ามแดน

รัฐธรรมนญู ** กฎหมายสูงสุด กฎหมายอ่ืนจะขดั หรอื แย้งไมไ่ ด้

ออกกฎหมายโดย พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญ *พิเศษ ออกกฎหมายโดย
ฝา่ ยนิติบญั ญัติ ฝา่ ยบริหาร - คณะรัฐมนตรี

- รฐั สภา พระราชบญั ญัติ – พรบ. พระราชกาหนด – พรก.

ออกกฎหมายโดย พระราชกฤษฎีกา – พรฎ.
ฝ่ายบรหิ าร กฎกระทรวง ประกาศ คาสงั่
- คณะรัฐมนตรี
ออกกฎหมายโดย
รฐั มนตรีกระทรวงนนั้ ๆ

ออกกฎหมายโดย กฎหมายขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

- องค์กรพิเศษ / สสร.---- ................................. .................................
- ฝ่ายนิติบญั ญตั ิ ----- .......................................
- ฝ่ายบรหิ าร ---- ................................... ......................................
- องค์กรท้องถน่ิ --- ................................ ......................................

กฎหมายทบี่ งั คบั ใช้กับประชาชนได้นนั้ จาต้องผ่านกระบวนการร่างกฎหมาย พิจารณารา่ งกฎหมาย
โดยสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

กฎหมาย
(พระราช
บญั ญตั )ิ

ร่างตวั บท เสนอรา่ งน้นั ................... ตราเป็นกฎหมาย ประกาศใชใ้ น
กฎหมาย ราชกิจจานเุ บกษา

บังคบั ใชก้ ฎหมาย ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา พระมหากษัตรยิ ์ทรง
ลงพระปรมาภไิ ธย

ทูลเกล้าฯ ถวาย

คณะรัฐมนตรี / เสนอ รา่ งพระราชบัญญตั ิ เห็นชอบนายกรฐั มนตรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร/ ร่างพระราชบญั ญัติ
ศาล และองคก์ รอสิ ระตาม รัฐสภา (ประกอบด้วย
รัฐธรรมนญู ส.ส. และ ส.ว.)

ประชาชนผูม้ สี ทิ ธเ์ิ ลอื กตั้ง เสนอ
(จานวนไมน่ ้อยกวา่
10,000 คน )

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2 ชือ่ ..........................................................
ชั้น.................................เลขที.่ ................
Chapter 2.2

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนทาเครอ่ื งหมาย  หน้าข้อที่ถกู ต้อง และทาเครื่องหมาย × หน้าขอ้ ทไ่ี ม่ถูกต้อง
จากสถานการณ์ท่กี าหนดให้
....................1. ผเู้ ยาว์ คอื บคุ คลท่ีมีอายตุ ่ากวา่ 18 ปีและยงั ไม่บรรลุนติ ิภาวะ
....................2. ผูเ้ ยาว์สามารถบรรลุนิติภาวะได้ดว้ ยการแต่งงานเมือ่ มีอายุ 17 ปีบรบิ รู ณ์

โดยได้รับความยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม หรอื ศาลอนญุ าตให้สมรสได้
....................3. บคุ คลมีสัญชาตไิ ทยต้ังแตอ่ ายุ 15 ปบี ริบรู ณ์ ถงึ 70 ปีบรบิ รู ณ์ และมชี ือ่ อย่ใู น

ทะเบียนบา้ นตอ้ งยื่นคาขอมบี ตั รประจาตัวประชาชน
....................4. ผู้ขอรับบุตรบญุ ธรรมตอ้ งมีอายุไมต่ า่ กว่า 25 ปี และมีอายมุ ากกว่าบุตรบญุ ธรรม 15 ปี
....................5. หา้ มมิใหจ้ า้ งเดก็ อายุต่ากว่า 18 ปี ทางานในระหวา่ งเวลา 24.00 ถงึ 06.00 น.

บคุ คล – บุคคลธรรมดา

ผ้เู ยาว์ ความสามารถของผเู้ ยาว์ ผู้บรรลุนิตภิ าวะ
บุคคลผ้มู ีอายุต่ากว่า 20 ปี ถอื เป็น - การสมรสเมื่ออายุครบ เป็นผมู้ ีสทิ ธสิ มบรู ณ์
ผู้ อ่ อ น อ า ยุ แ ล ะ ข า ด ก า ร ค ว บ คุ ม 17 +ขอ+จด อายุ 20 ปบี รบิ ูรณ์
สภาพจิตใจ ผู้เยาว์ต้องมี ผู้แทน - การทานิติกรรม ต้องได้รับ
โดยชอบธรรม อายุ 17 ปี บริบูรณ์สามารถบรรลุ
ความยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบ นิติภาวะโดยสมรส ซึ่งต้องได้รับ
อายุ 15 ปีบริบรู ณ์ ทาพินัยกรรมเองได้ ธรรมเสมอ ยกเว้น นติ ิกรรมโดย ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบ
เสน่หา , นิติกรรมต้องทาเอง ธรรม แตห่ ากต่ากว่า 17 ปี จะตอ้ ง
เฉพาะตัว และจาเป็นต่อการ ได้รับอนุญาตจากศาล
ดารงชีพ

NOTE : …………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………............................................……
………………………………………………………………………………………………………............................................…
6) …………………………………………………………………………………………………………
7) …………………………………………………………………………………………………………

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

ใหน้ กั เรียนใชเ้ ครื่องหมาย  หรือ × วเิ คราะห์สถานการณ์
จากสง่ิ ที่ครูกาหนดให้

ทาพินัยกรรมยกบา้ นใหม้ ลู นิธสิ ายใจไทย แต่งงานเมื่อายุครบ 15 ปี โดยผปู้ กครอง
ตอนอายุ 15 ปี โดยชอบธรรมใหก้ ารยินยอม

รบั นาฬกิ าจากคุณย่า เชา่ บา้ น

ปลดหน้ ีใหเ้ พือ่ น 10,000 บาท ขาย Iphone

ซ้ ือ สอบชิงทนุ

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

คนเกิด • แจง้ ตอ่ นายทะเบยี นท้องท่ีภายใน ..........วนั นับแตว่ นั เกิด
คนตาย • หลกั ฐานการแจ้งเกิดไดแ้ ก่ ......................

ยา้ ยทีอ่ ยู่ • คนตายในบ้านแจ้งต่อนายทะเบียนท้องที่ภายใน....................
บตั รประชาชน • คนตายนอกบา้ น ให้.........................แจ้งตอ่ เจ้าพนกั งานปกครองหรอื

ตารวจภายใน....................
• หลักฐานในการแจง้ ตาย ไดแ้ ก่ ........................

• แจง้ ต่อนายทะเบียนทอ้ งท่ภี ายใน.............วนั นับแตว่ ันยา้ ยเขา้ หรือ
ยา้ ยออก

• การแจ้งย้ายจะถูกระบไุ วใ้ นทะเบยี นบา้ นเป็นหลกั ฐาน

• บุคคลผูม้ ีสญั ชาติไทยอายุ ...........ปีบริบูรณ์ แต่ไมเ่ กิน.............ปี
• บตั รประชาชนมีอายุ 8 ปี นบั จากวนั เกดิ ของผู้ถือบัตรถึงกาหนดที่ระบุ

ไว้บนบัตร
• กรณีบัตรหมดอายุ ชารดุ หรอื เสียหาย หรอื เปลย่ี นช่ือนามสกุลใหมต่ ้อง

มบี ตั รใหม่ภายใน................วัน
• ผูท้ ีไ่ ดร้ บั การยกเว้น ได้แก่.....................................................................

การหมน้ั (การสัญญาวา่ จะสมรส) การสมรส (การตกลงใช้ชวี ิตคู่ การรับมรดก แบง่ เป็นทายาทโดย
+ จดทะเบยี นตามกฎหมาย) พนิ ัยกรรม /ทายาทโดยธรรม
เง่อื นไข ช + ญ 17 ปีข้ึนไป -ทายาทโดยธรรม เรยี งตามลาดับดังนี้
เง่ือนไข ช + ญ 17 ปีขึ้นไป
ไดร้ ับความยินยอมจาก 1) ……………………………….
หากอายุต่ากว่า 17 ปี ตอ้ ง........... 2) บิดามารดา
ผแู้ ทนโดยชอบธรรม - หญิงหมา้ ยสมรสใหม่ได้ตอ่ เมือ่ ........ 3) พี่น้องรว่ มบิดามารดาเดียวกัน
โดยฝา่ ยชาย จะมอบสนิ สอด - ทรพั ยส์ ินท่ีไดม้ าระหว่างสมรส 4) พีน่ ้องรว่ มบิดาหรือมารดาเดยี วกนั
เรยี กว่า “สินสมรส” 5) ปูย่ าตายาย
ให้กับ......................... 6) ลุง ปา้ น้าอา
สว่ น ของหม้นั มอบให้กับ

...................................

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

>> มรี ายละเอียดทีส่ าคญั ดังตอ่ ไปนี้ พระราชบัญญตั ิป่าไม้ 2484

พระราชบญั ญตั ิปา่ สงวนแหง่ ชาติ2507

เป็นกฎหมายที่ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เป็นกฎหมายที่ควบคุมการทาไม้หวงหา้ ม
ป้องกันการบกุ รกุ และทาลายป่าไม้ โดยในเขต และเก็บของป่าหวงห้าม โดยไม้หวงห้าม
ป่าสงวนแห่งชาติห้ามบุคคลใด ยึดถือและ มี 2 ประเภท คือ ไม้หวงห้ามธรรมดา /
ครอบครองใชป้ ระโยชน์ป่าสงวนแหง่ ชาติ ไมห้ วงห้ามพิเศษ ซึง่ ไมอ่ นุญาตให้ทาไม้

พระราชบัญญัติสงวนและคมุ้ ครองสตั ว์ปา่ สัตว์ปา่ สงวน (สตั วห์ ายาก ใกล้สญู พนั ธ)ุ์

เ ป็ น ก ฎ ห ม า ย ที่ ก า ห น ด มิ ใ ห้ ผู้ ใ ด ล่ า สั ต ว์ เช่น แรด กระซู่ กรูปี ควายป่า ละองหรือ
2 ประเภท ได้แก่ สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่า ละมั่ง สมัน เนื้อทราย เลียงผา และกวางผา
คุ้มครอง โดยห้ามทาอันตรายหรือมีไว้ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร นกแต้วแล้วท้องดา
ครอบครองโดยเด็ดขาด นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ
เก้งหมอ้ พะยูน เป็นตน้
สตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง(สัตว์ปา่ ห้ามล่า หา้ มครอบครอง)

เช่น กระทงิ กวาง เกง้ ชะมด นกยูง นกเงือก

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

ภาษีอากร คือ สิ่งท่ีรัฐบาลบังคับจัดเก็บจากประชาชน เพื่อนามาเป็นรายได้ของรัฐบาล และรัฐบาลจะนา
รายได้ดังกลา่ วมาพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ โดยภาษอี ากรที่มกี ารจัดเก็บในปจั จุบันมี 2 ประเภท ดังน้ี

1) ภาษที างตรง คอื ภาษีท่ผี ู้เสียภาษีเสยี เอง ไม่สามารถผลักภาระภาษีให้ผอู้ ่ืนได้ ได้แก่ ภาษีเงนิ ได้บุคคล
ธรรมดา ภาษีเงินไดน้ ติ ิบคุ คล และภาษเี งนิ ได้ปิโตรเลยี ม

2) ภาษีทางอ้อม คือ ภาษีที่ผู้เสียภาษีไม่ได้เป็นผู้แบกภาระของภาษีไว้ท้ังหมด แต่สามารถผลักภาระให้
ผูอ้ ืน่ ได้ ได้แก่ ภาษสี นิ คา้ เขา้ ภาษสี นิ ค้าออก ภาษสี รรพสามิต ภาษมี ลู ค่าเพมิ่
NOTE : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เป็นภาษีซึ่งบุคคลธรรมดาทั่วไปที่มีรายได้ มีหน้าท่ีต้องเสียภาษี
หากผู้เยาว์และมีรายได้ตามกฎหมายกาหนด ก็จาเป็นต้องเสียภาษี โดยผู้ท่ีมีเงินได้สุทธิกว่า 150,000
บาทต่อปี ต้องเสยี ภาษี และตอ้ งยื่นเสยี ภาษีเงินได้ภายในวนั ที่ 31 มีนาคม ของทุกๆปี ท่ีสานักงานกรม
สรรพการพื้นท่ีหรอื ทางเว็ปไซตข์ องกรมสรรพากร www.rd.go.th

เวลาทางาน การใช้แรงงานเด็ก

- ไม่เกิน 8 ช่ัวโมงต่อวัน เม่ือรวมท้ังสัปดาห์ต้องไม่ - ห้ามจา้ งเด็กท่ีมีอายุต่ากว่า 15 ปเี ปน็ ลูกจ้าง

เกนิ 48 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ โดยไมร่ วมเวลาพกั - ห้ามจ้างลูกจ้างเด็กมาทางานช่วงเวลา 22.00 น .

-นายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดประจาสัปดาห์ไม่น้อย ถงึ เวลา 6.00 น. ไม่ได้

กว่า 1 วัน วันหยุดพักผ่อนประจาปีไม่น้อยกว่า - ห้ามจ้างลกู จ้างเดก็ มาทางานทีอ่ าจเปน็ อนั ตรายต่อ

6 วันทางานต่อปี สุขภาพและความปลอดภัย หรือมีอันตรายต่อจิตใจ

และความประพฤติของเด็ก

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายท่ีกาหนดรายละเอียดในการปกครองลดหล่ันลงมา โดยแบ่งการจัดระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดินไว้ 3 ส่วน ได้แก่ ระเบียบริหารราชการส่วนกลาง ระเบียบบริหารราชการส่วน
ภมู ิภาค ระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถิ่น

1) ระเบียบบรหิ ารราชการส่วนกลาง 1.1 สานกั นายกรัฐมนตรี
(รวมอานาจ ) มฐี านะเปน็ กระทรวง นายกรฐั มนตรเี ป็นผบู้ ังคับบญั ชา

2) ระเบียบบริหารราชการส่วนภมู ิภาค 1.2 กระทรวง
(แบง่ อานาจ) แต่ละกระทรวงจะมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็น
ผู้บงั คับบัญชา
3) ระเบียบบรหิ ารราชการส่วนท้องถิน่
(กระจายอานาจ) 1.3 กรม
เป็นส่วนราชการที่รองลงมาจากกระทรวง มีอธิบดีเป็น
ผูบ้ ังคบั บญั ชา

2.1 จงั หวดั
เป็นหนว่ ยการปกครองท่ีรวมหลายอาเภอขึน้ เปน็
จังหวัด มีผวู้ า่ ราชการจังหวัดเปน็ ผู้บงั คับบัญชา

2.2 อาเภอ
เป็นหนว่ ยราชการรองลงมาจากจงั หวดั โดยอาเภอหน่งึ
ประกอบไปดว้ ยหลายตาบล มีนายอาเภอเป็นหัวหนา้
การปกครอง

3.1 อบจ
มีหน้าที่ดาเนนิ กการพฒั นา ดูแล ราชการส่วนท้องถ่นิ
มนี ายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดเป็นหัวหน้า

3.2 อบต
เปน็ หนว่ ยการปกครองทพ่ี ฒั นามาจากสภาตาบล
มนี ายกองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นหัวหนา้

3.3 เทศบาล
แบ่งออกเป็น เทศบาลตาบล เทศบาลเมอื ง เทศบาล
นคร มีนายกเทศมนตรีเปน็ หัวหน้า

3.4 กทม.
เปน็ การจัดระเบียบบริหารสว่ นทอ้ งถ่นิ แบบพเิ ศษ มีผู้ว่า
ราชการจังหวัดกรุงเทพมหานครเปน็ ผูบ้ งั คับบัญชา

3.5 เมืองพทั ยา
เปน็ การบริหารราชการส่วนทอ้ งถิ่นรปู แบบพเิ ศษ
มีนายกเมอื งพัทยาเป็นหวั หน้า

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2




วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2 ชือ่ ..........................................................
ชั้น.................................เลขที่.................
Chapter 3.1

>> คาตอบ ก็เพราะว่า มนุษยต์ อ้ งอยู่ร่วมกันในสังคม ซ่ึงตอ้ งมีผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น โรงเรียน
โรงพยาบาล ถนนหนทาง ไฟฟ้า น้าประปา โทรศพั ท์ และสาธารณูปโภคอีกมากมาย รวมถึงที่ดิน ป่ าไม้
แหล่งน้า แร่ธาตุ น้ามนั กา๊ ซธรรมชาติ คลื่นความถวี่ ิทยุโทรทศั น์และโทรคมนาคม ตลอดจนความมนั่ คง
ปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ ิน สิทธิเสรีภาพ ความยุตธิ รรมและความเสมอภาค ฯลฯ

• เมอื่ มผี ลประโยชน์ร่วมกนั กต็ อ้ งมี “การใชอ้ านาจจดั สรรผลประโยชน์ของคนในสงั คม ”
• ซึ่ง “การใชอ้ านาจจดั สรรผลประโยชน์ของคนในสงั คม” ก็คือ “การเมือง”นัน่ เอง !!

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

จริงๆแลว้ เด็ก นักเรียน นักศึกษา เสียภาษีแลว้ ทุกคน และ
เสียภาษีมากกว่าท่ีตัวเองคิดไวเ้ ยอะมาก ซึ่งภาษีน้ันก็คือ
“ภาษีมูลค่าเพิ่ม ” ซึ่งพวกเราทุกคนเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ทุกๆคร้ังท่ีเราซ้ ือสินคา้ ไม่ว่าจะเป็ น สมุด ดินสอ ปากกา
เส้ อื ผา้ รองเทา้ ของกนิ ของใชเ้ ราตอ้ งเสียทุกคร้งั

• ทุ ก ๆ 100 บ า ท จ ะ บ ว ก
ภาษีมูลค่าเพ่ิม 7 บาท เป็ น
107 บาท

• ห า ก โ ท ร ศัพ ท์มื อ ถื อ ร า คา
20,000 บาท ก็ตอ้ งขายเรา
21,400 บาท

• ซึ่งรายไดข้ องรัฐบาลส่วนใหญ่
มาจาก ภาษีมูลค่าเพ่ิม และ
ภาษีสรรพสามิต ที่เรียกเก็บ
จากผบู้ ริโภคสินคา้

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

>> พ.ศ. 2555 เป็ นเงิน 2,380,000,000,000 บาท

>> พ.ศ. 2556 เป็ นเงนิ 2,400,000,000,000 บาท

>> พ.ศ. 2557 เป็ นเงนิ 2,525,000,000,000 บาท

เราทราบหรือไม่วา่ เงิน 2,525,000,000,000 บาท (สองลา้ นหา้ แสนสองหมืน่ ลา้ นบาท

มากแค่ไหน)

- คิดเป็ น ธนบัตรใบละ1,000 บาท

ได้ (ยสี บิ หา้ ลา้ นสองแสนหา้ หมื่นปึ ก)

- สามารถนามาบรรจุไว้ในห้องเรียน

ได้ 20 หอ้ งเรียน

- และถา้ เราเลือก ส.ส. แลว้ ส.ส. ไปเลือก

นายก ซ่ึง นายกฯ ก็จะไปตง้ั คณะรฐั มนตรี

ซึ่งมีหน้าที่ดูแลงบประมาณปี ละกว่า

2,525,000,000,000 ซ่ึงมีวาระดารง

ตาแหน่งเกอื บ 4 ปี

ถา้ เราไม่สนใจการเมือง ไมต่ ิดตามตรวจสอบการเมืองอย่างจริงจงั และเลือกนักการเมือง
ทซี่ ้ ือเสียงใหเ้ ขา้ มามอี านาจ

• ถา้ นักการเมืองท่ีไม่ดีเขา้ มาเป็ นรัฐบาล 1 ปี เขาก็จะมีอานาจบริหารจัดการ
งบประมาณที่มาจากภาษีของพวกเราปี ละ 2,525,000,000,000 บาท

หากคอรับชัน่ 1% งบประมาณก็จะหายไป 25,250,000,000 (สองหม่ืน

หา้ พนั สองรอ้ ยหา้ สิบลา้ นบาท)

• หากนางบประมาณท่ีไดจ้ ากการจดั เก็บภาษีมาเฉลี่ยคืนคนไทยทุกคน จะไดส้ ่วน
แบง่ คนละ 39,173 บาทตอ่ คนต่อปี

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

การเมืองในที่น้ ีจึงหมายถีง ระบบการใชอ้ านาจบริหารจดั การใหพ้ วกเราทุกคนมชี ีวิตทด่ี ี
มีคุณค่า มนั่ คงปลอดภยั และไดร้ ับความยุติธรรม ซ่ึงในวนั ๆหน่ึงท่ีเราทากิจกรรมต่าง ๆ
ลว้ นมีการเมอื งเขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง เชน่

• อาบน้า ลา้ งหนา้ แปรงฟัน ก็ตอ้ งมีการเมืองเขา้ มาจดั การใหม้ ีน้าประปาท่ีสะอาด
สะดวกและไม่แพงเกนิ ไป ตอ้ งมีการควบคุมคุณภาพของสบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม
และเคร่ืองมอื เคร่ืองใชต้ ่าง ๆ

• รับประทานอาหาร ก็ตอ้ งมีการเมืองเขา้ มาควบคุมดูแลอาหารใหส้ ะอาด ไม่มี
สารปนเป้ ื อน มคี ุณภาพ ราคาไมแ่ พง

• เดินทางไปเรียนหนังสือ หรือไปทางาน ก็ตอ้ งมีการเมืองเขา้ มาจดั การใหม้ ีถนน
หนทาง การคมนาคมขนส่งท่ีสะดวก ปลอดภัย ราคาไม่แพง และดูเรื่อง
การจราจร

• เรียนหนังสือก็ตอ้ งมกี ารเมืองเขา้ มาจดั การศกึ ษา โรงเรียน ครู หลกั สตู ร หนังสือ
เรียนใหม้ คี ุณภาพและประโยชน์สาหรบั ทกุ คน

• เล่นกฬี าก็ตอ้ งมีการเมืองเขา้ มาจดั การใหม้ ีสนามกีฬา อุปกรณก์ ฬี า
• ดูโทรทศั น์ ก็ตอ้ งมีการเมืองเขา้ มาจดั การใหม้ รี ายการทีด่ ี มโี ฆษณาไมม่ ากเกิน
• ใช้อินเทอร์เน็ ต ก็ต้องมีการเมืองเข้ามาจัดระบบโครงข่ายให้มีคุณภาพ

ครอบคลุม และราคาไม่แพง

กิจกรรมที่ 1 ใหน้ ักเรียชว่ ยกนั วิเคราะหก์ รณีศกึ ษาจากสง่ิ ที่
ครูกาหนดให้ พร้อมท้ังช่วยกันบอกถึงผลกระทบที่จะ
ตามมาต่อชวี ติ ความเป็ นอยขู่ องพวกเรามาใหม้ ากทสี่ ดุ
>> 1) การไมไ่ ปเลือกตง้ั
>> 2) การรบั เงินจากการซ้ ือสิทธ์ิขายเสยี ง
>> 3) การไม่สนใจตดิ ตามขา่ วสารการเมอื ง
>> 4) การปล่อยใหน้ ักการเมอื งทีค่ อรปั ชนั่
เขา้ มาบริหารบา้ นเมือง

วิชาสงั คมพืน้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

1) เลิกเบอ่ื การเมือง หนั มาสนใจการเมอื งใหม้ ากข้ นึ
2) ศึกษาหาความรเู้ รื่องการเมอื งใหถ้ ูกตอ้ ง
3) ไปใชส้ ทิ ธิเลือกต้งั อย่างมีวจิ ารณญาณท่ดี ี
4) สนับสนุนและใหค้ วามร่วมมือกบั นโยบาย กฎหมายและการทางานทดี่ ี
5) คดั คา้ นนโยบาย กฎหมายและการทางานทไี่ ม่ดี
6) เม่ือพบนักการเมืองทุจริต แจง้ เบาะแสให้ ป.ป.ช.ไตสว่ น
7) ประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลือกตง้ั 20,000 คน

เขา้ ชอ่ื กนั ยน่ื ต่อประธานวฒุ ิสภาใหถ้ อดถอนนักการเมอื ง

เลือกรับข่าวสารท่ี รับข้อมูลข่าวสาร รั บ ข ้อ มู ล ข่ า ส า ร หมนั่ ตรวจสอบ
มีสาระ น่าเช่ือถอื จากหลายๆแหล่ง โดยปราศจากอคติ แหล่งท่ีมาของ
ขอ้ มลู

1) ก่อนอ่นื เลย ลอง Google ดขู า่ วน้ันๆ ก่อน ถา้ ขา่ วดงั จริง ตอ้ งคน้ เจอสิ
2) ตอ้ งดูกอ่ นว่าขา่ วสารน้ันมาจากแหล่งข่าวที่น่าเชอื่ ถือแคไ่ หน
3) สาหรบั เวบ็ ข่าวสมคั รเล่น หรือ บล็อก ใหเ้ ราตามไปดแู หล่งทขี่ า่ วอา้ งอิง
4) ในกรณีที่เป็ นภาษาองั กฤษ แลว้ เราอ่านไม่ออกจริงๆ อย่าเพิ่งเชื่อข่าว

ในทนั ที ลองอา่ น Comment ของคนอ่นื ๆ ก่อน
5) ตระหนักเอาไวเ้ สมอว่าบางคร้งั เว็บดงั ก็ผิดกนั ได้ ควรตรวจสอบข่าวจาก

หลายแหล่งควบคดู่ ว้ ย

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

>> ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ ี
นักเรียนคิดว่า “การเมอื ง” คืออะไร.....................................................................................
“การเมือง”เก่ยี วขอ้ งกบั เรื่องอะไรบา้ ง ......................................................................................

>> คาถาม ถามว่า “การเมืองเกี่ยวขอ้ งกบั ตัวฉันอย่างไรบา้ ง ” ใหน้ ักเรียนยกตวั อย่างมา 3 ประเด็น
พรอ้ มท้งั วาดภาพระบายสใี หส้ วยงาม และอธิบายจากภาพทวี่ าดใหช้ ดั เจน

ภาพน้ ีคอื ................... ภาพน้ ีคือ................... ภาพน้ ีคอื ...................

อธบิ ายคอื .............................. อธบิ ายคอื .............................. อธิบายคอื ..............................
................................................. ................................................. .................................................
................................................. ................................................. .................................................
................................................. ................................................. .................................................
. . .

1) การไปใชส้ ทิ ธิ์เลือกตง้ั โดยคุณสมบตั ิผูม้ สี ิทธ์เิ ลือกตง้ั มดี งั น้ ี
• มสี ญั ชาติ.............. ในกรณีที่มีการแปลงสญั ชาติตอ้ งไดส้ ญั ชาติไทยมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ......ปี
• มีอายุไมต่ า่ กว่า........ ปี บริบรู ณ์ ในปี ท่มี กี ารเลือกตง้ั
• มีช่อื อยใู่ นทะเบียนบา้ นในเขตทตี่ นมีสทิ ธ์ิเลือกต้งั ไมน่ ้อยกวา่ ........ วนั นับถึงวนั เลือกตง้ั
• ไมเ่ ป็ นบุคคลตอ้ งหา้ มไปใชส้ ทิ ธ์เิ ลือกต้งั ไดแ้ ก่ ………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

วิชาสงั คมพืน้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

หากเราไม่ไปใชส้ ทิ ธ์เิ ลือกตง้ั เราจะเสยี สทิ ธิดงั น้ ี
• ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2) การไปออกเสียงประชามติ
• การออกเสยี งประชามติ คอื ...............................................................................................
• ผทู้ ีม่ ีสทิ ธ์อิ อกเสียงประชามติ คือ......................................................................................
• วิธีการออกเสียงประชามติทาไดโ้ ดย.................................................................................

3) การรวมกลมุ่ ทางการเมือง
• การรวมกลุ่มทางการเมือง คอื ...............................................................................................
• ยกตวั อย่างการรวมกลุ่มทางการเมอื ง เชน่ ...........................................................................
.............................................................................................................................................

4) การเขา้ ชอื่ เสนอรา่ งกฎหมาย
• ประชาชนที่มีสิทธ์ิเลือกต้งั ไมน่ ้อยกวา่ ........................... คน เขา้ ชอ่ื เสนอร่างพระราชบญั ญตั ิ
เก่ียวกบั กฎหมายตามบทบญั ญตั ิรฐั ธรรมนูญหมวด 3 ว่าดว้ ย...............................................
และ หมวด 5 ว่า ดว้ ย ...............................................................................................................
• ประชาชนที่มีสิทธ์ิเลือกต้ังไม่น้อยกว่า .......................... คน เขา้ ชื่อเสนอแกไ้ ขเพิ่มเติม
รฐั ธรรมนูญ

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2 ชื่อ..........................................................
ชั้น.................................เลขที.่ ................
Chapter 3.2

ใหน้ ักเรียนเรียงลาดบั เหตุการณท์ างการเมอื ง จากภาพท่คี รกู าหนดใหโ้ ดยใหใ้ ส่หมายเลข
1 -5 ก่อนและหลงั ตามลาดบั

หมายเลข............ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติ ข้ นึ รบั ตาแหน่งนายกรฐั มนตรี

หมายเลข............ รัชกาลท่ี 5 ทรงปฎิรูปประเทศสยามใหม้ ีความ
ทนั สมยั มากข้ ึน เช่น สรา้ งถนน โทรเลข รถไฟ เพ่ือ
ป้องกนั การรุกรานจากชาติตะวนั ตก

หมายเลข............ คณะราษฎร ไดท้ าการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงการ
หมายเลข............ ป ก ค ร อ ง จ า ก ร ะ บ อ บ ส ม บู ร ณ า ญ า สิ ท ธิ ร า ช ย์
หมายเลข............ เป็ นระบอบประชาธิปไตย

ป ร ะ ก า ศ ใ ช้รัฐ ธ ร ร ม นู ญ ฉ บับ ที่ 20 ห รื อ
รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2560 ใหเ้ ป็ นกฎหมายสูงสุด
ของประเทศ

รัชกาลที่ 7 ทรงพระราชทานธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินสยามชวั่ คราว 2475 เป็ นรฐั ธรรมนูญฉบบั แรก

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

สมบรู ณาญาสิทธริ าชย์

ประชาธปิ ไตย ฝ่ ายทหาร ฝ่ ายพลเรือน

ปฏิวตั ิ 2475

24 มิ.ย. 2475 เกิดการ โ ด ย ก ลุ่ ม ข อ ง
เปลี่ยนแปลงการปกครอง “คณะราษฎร”

การชุมนุมเรยี กรอ้ งรฐั ธรรมนูญท่ี 14 ตลุ าคม 2516 รัฐบาลจอมพล
เป็ นประชาธิปไตยของกลุม่ นักศึกษา วนั มหาวิปโยค ถนอม กติ ตขิ จร
เพื่อขบั ไลร่ ฐั บาล

พฤษภาทมิฬ 2535 พลเอกสุจนิ ดา คราประยูร

บรรดานิ สิตนักศึกษาและประชาชนได้ หนึ่ งในคณะผู้นา รสช.
รวมตัวกันเพ่ือประทว้ งรฐั บาลเพื่อต่อตา้ น ทข่ี ้ นึ เป็ นนายกณัฐมนตรี
การสบื ทอดอานาจเผด็จการ คณะ รสช.

การชุมนุมทางการเมืองของกลุ่มคน ทหารเขา้ ยึดอานาจ
เส้ อื เหลือง – เส้ อื แดง
รฐั ประหาร กนั ยายน
2549 รฐั บาล พ.ต.ท. ทกั ษิณ ชินวตั ร

ก า ร ชุ ม นุ ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง ข อ ง ทหารเขา้ ยดึ อานาจ
กลุ่ม กปปส.เพ่ือต่อตา้ นรฐั บาลจาก
กรณี การออก พ.ร.บ.นิรโทษกรรม รฐั ประหาร พฤษภาคม รฐั บาลนางสาวย่ิงลกั ษณ์ ชนิ วตั ร

2557

วิชาสงั คมพืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

เหตกุ ารณ์ ความเปล่ียนแปลงทเี่ กดิ ข้ ึน

การเปลยี่ นแปลงการ 1) เกดิ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทางการเมอื งจากเดมิ ท่อี านาจอยูท่ ่ี

ปกครอง 2475 พระมหากษตั ริย์ มาส่ปู ระชาชน
2) อานาจของพระมหากษตั ริย์ จากทเี่ คยมีอานาจสทิ ธ์ิขาดอยทู่ ่อี งค์

พระมหากษตั ริย์ เปล่ียนเป็ นสถาบนั ตอ้ งอยู่ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ

3) เกิดสภาผแู้ ทนราษฎรข้ นึ ซ่ึงเปิ ดโอกาสใหป้ ระชาชนไดม้ ีส่วนร่วม

ทางการเมอื ง เน่ืองจากสภาผแู้ ทนราษฎรเป็ นตวั แทนทป่ี ระชาชนเลือกต้งั

เขา้ มา

4) มีการใชร้ ฐั ธรรมนูญเป็ นกฎหมายสงู สุดของประเทศ

5) เกดิ พรรคการเมือง การเลือกตง้ั และการกระจายอานาจการปกครอง

เหตกุ ารณว์ นั มหา 1) พฒั นาระบอบประชาธปิ ไตย ภายหลงั ท่ีเหตุการณย์ ุติลง เหตุการณน์ ้ ี

วปิ โยค เป็ นการแสดงถึงพลังมวลชนที่สามารถโคน้ ล่มอานาจเผด็จการทางทหาร

14 ตลุ าคม 2516 ได้ นามาซึ่งระบอบประชาธปิ ไตยทป่ี ระชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง
2) ประชาชนมีความต่นื ตวั ทางการเมือง เช่น การรวมตวั กนั ดาเนิน

กิจกรรมทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆ มีการจดั ต้งั สภานักเรียน สภาครู

เรียกรอ้ งการบริหารงานท่ีเป็ นประชาธิปไตย มีการจดั ต้งั กลุ่มนักศึกษา

ปฏบิ ตั ิงานเพื่อแกไ้ ขความเดือดรอ้ นของประชาชนและการพฒั นาประเทศ

3) ประชาชนมสี ทิ ธิและเสรภี าพดา้ นอุดมการณ์

เหตกุ ารณพ์ ฤษภาทมฬิ 1) ประชาชนมีสทิ ธิและเสรีภาพดา้ นการส่ือสารเพม่ิ มากข้ ึน เพราะมี

2535 การอนุญาตใหเ้ อกชนมีกรรมสิทธ์ิในสถานีวิทยุและโทรทศั น์ได้ รัฐมิได้

ผูกขาดอีกต่อไป

2) สื่อมวลชนถูกใชเ้ ป็ นเครื่องมือทางการเมืองเพิ่มมากข้ ึน กลุ่ม

การเมอื งใชส้ ือ่ สารมวลชนเป็ นเคร่ืองมือในการใชป้ ระโยชน์ทางการเมอื ง

3) เกิดกระแสเรียกรอ้ งใหม้ ีการปฏิรูปทางการเมือง ซ่ึงนาไปสู่การ

ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญ 2540 ซึ่งเป็ นรฐั ธรรมนูญฉบบั แรกที่เปิ ดโอกาส

ใหป้ ระชาชนมสี ทิ ธิเสนอเรื่องราว ถอดถอนนักการเมอื งได้

เหตกุ ารณร์ ฐั ประหาร 1) การกลบั มามีอานาจทางการเมืองอีกคร้งั ของกลุ่มทหาร เนื่องจาก

กนั ยายน 2549 และ ความแตกแยกทางการเมอื งของประชาชนในกลุ่มตา่ ง ๆ

พฤษภาคม 2557 2) เกิดรัฐธรรมนูญใหม่ฉบับใหม่ ในปัจจุบันเป็ นฉบับที่ 20 นับแต่

ประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองมาเป็ นระบอบประชาธิปไตย

พ.ศ.2475โดยอายุเฉลี่ยของรัฐธรรมนู ญไทยน้ัน อยู่ที่เพียงฉบับละ

4 ปี เศษ

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปืที่ 2

ตลอดระยะเวลาการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย …………………………………………………………
เรามีรัฐธรรมนูญ 20 ฉบับ ในรอบ 86 ปี ในขณะท่ี …………………………………………………………
สหรฐั อเมริกามีรฐั ธรรมนูญเพียง 1 ฉบบั ในรอบ 200 ……………..…………………………………………
กวา่ ปี นักเรียนคิดเหน็ ต่อเรื่องน้ ีอย่างไร …………………………………………………………

ประเทศไท…ย…ม…ีร…ฐั ป…ร…ะ…ห…าร…ม…า…ก…ท…่สี ดุ……เป…็ น…อ…นั …ด…บั …4…ของ

โลกจากผล…ส…า…ร…วจ…ส…ถ…ิต…ิท…วั่ โ…ล…ก…เ…ร…าม…ีร…ัฐ…ป.ร...ะ..ห...า..ร..เ.ฉ. ลี่ย

ทุก ๆ 6 ปี....น..ัก...เ.ร..ี.ย..น...ม...อ..ง..เ.ห...น็…อะไรบา้ งจากส่งิ ทย่ี กมา

9) ………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………

…………10…)..…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

…………

เ ร า บ อ…ก…ว…่ า…11…เ ร)…า……เ…ป……ล……่ี ย……น……ก……า……ร……ป……ก……ค……ร…อ……ง…เ……ป…็ …น……ร…ะ บ อ บ

ประชา…ธิป…ไ…ต…ย…ป……ร…ะ……ช…า……ช…น……เ…ป……็ น……เ…จ…า…้ …ข…อ……ง…อ..….า..น…...า…..จ.….ส..…งู.ส…ุดของ

ประเท...ศ.......น..ั.ก...เ.….ร..ี…ย...…น...….ค..ิ…ดเห็นอย่างไร ในปั จจุบัน

ประชาชนเ1ป2็ น) …เจ…า้ ข…อ…ง…อ…าน…า…จ…ส…งู ส…ดุ …ม…า…กน…อ้…ย…แ…คไ่ หน

………………………………………………

……………………………………………………………………
…1…3…)…………………………………………………………………………………………………
ในฐานะที่นักเรียนเป็ นพลังสาคัญของกลุ่มคนรุ่นใหม่ ………………….….…………………………………………………………………………………
ของประเทศ นักเรียนคิดว่าในระบอบประชาธิปไตยที่ ……………………………………………………………………
เราดาเนิ นมาถึง 86 ปี มีปั ญหาตรงไหนบ้าง และ

ในอนาคตขา้ งหน้า นักเรียนมคี วามคาดหวงั อยา่ งไรบา้ ง 14) ………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……………..…...…...…...…...….

………………………………………………………………………………………………..…...…...…...…...…...…...…...…...…...……………………………………

……………………………............................................………………………………15…)…………………………………………………………………………………………………

…………………….............................................................................................…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…...…....

18) ……………………………………………………………………………………………………………………

19) …………………………………………………………………………………………16…)……………………………………………………………

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2 ชื่อ..........................................................
ชั้น.................................เลขที่.................

>> ใหน้ ักเรียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากเหตุการณท์ ี่ครกู าหนดใหด้ งั ต่อไปน้ ี

เหตกุ ารณ์ สาเหตเุ กิดจาก รายละเอียดเหตกุ ารณ์ ผลทตี่ ามมา
การเปลยี่ นแปลงการ …………………………………..... ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………..... …………………………………………….. ……………………………………
ปกครอง 2475 ……………………………………… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
……………………………………. …………………………………………….. ……………………………………
………………………………..…… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………

เหตกุ ารณ์ 14 ตลุ า …………………………………..... ………………………………………………. ……………………………………
2516 …………………………………..... …………………………………………….. ……………………………………
……………………………………… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
……………………………………. …………………………………………….. ……………………………………
………………………………..…… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………

เหตกุ ารณพ์ ฤษภาทมิฬ …………………………………..... ………………………………………………. ……………………………………
2535 …………………………………..... …………………………………………….. ……………………………………
……………………………………… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
……………………………………. …………………………………………….. ……………………………………
………………………………..…… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

เหตกุ ารณ์ สาเหตเุ กดิ จาก รายละเอียดเหตกุ ารณ์ ผลทตี่ ามมา
รฐั ประหาร กนั ยายน …………………………………..... ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………..... …………………………………………….. ……………………………………
2549 ……………………………………… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
……………………………………. …………………………………………….. ……………………………………
………………………………..…… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………

รฐั ประหาร พฤษภาคม …………………………………..... ………………………………………………. ……………………………………
2557 …………………………………..... …………………………………………….. ……………………………………
……………………………………… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………
…………………………………….. ………………………………………………. ……………………………………
……………………………………. …………………………………………….. ……………………………………
………………………………..…… ………………………………………………. ……………………………………
…………………………………….. …………………………………………….. ……………………………………








วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2 ชือ่ ..........................................................
ชั้น.................................เลขที่.................
Chapter 4

>> เป็ นสิ่งทีม่ นุษยส์ รา้ งข้ นึ เกิดข้ นึ จากการเรียนรู้
และมีการสบื ตอ่ กนั มารุ่นส่รู ุ่น

>> สามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ ลอดเวลา
>> แต่ละสงั คมจะมีวฒั นธรรมเป็ นของตนเองตามสภาพแวดลอ้ ม

>> วฒั นธรรมสามารถแบง่ ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื

ประเภทของวฒั นธรรม ลกั ษณะ ตวั อยา่ ง
1) วฒั นธรรมทางวตั ถุ - เป็ นรปู ธรรม จบั ตอ้ งได้ - ถว้ ยชาม บา้ นเรือน
ใชอ้ านวยความสะดวก เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้
2) วฒั นธรรมทางจติ ใจ - เป็ นนามธรรม จบั ตอ้ ง - ความรู้ ความเชอื่ ศาสนา
ไมไ่ ด้ สง่ ผลทางจติ ใจ และอุดมการณ์

นอกจากน้ ีเรายงั สามารถแบง่ วฒั นธรรมเป็ น 4 ประเภทย่อย ๆ ไดอ้ กี ดงั น้ ี

ประเภทของวฒั นธรรม ลกั ษณะ

คตธิ รรม - คตคิ วามเชื่อท่ีไดจ้ ากหลกั ธรรมทางศาสนาหรือลทั ธติ ่างๆ

เนตธิ รรม - กฎหมาย กฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของสคั ม

วตั ถธุ รรม - เป็ นส่งิ ประดิษฐท์ ี่มนุษยส์ รา้ งข้ ึน

สหธรรม - วฒั นธรรมทีใ่ ชก้ นั ในสงั คมโดยรวม เชน่ ประเพณีต่าง ๆ
มารยาททางสงั คม (การไหว้ การเคารพ)

สรุป ในแต่ละสงั คม จะมีวฒั นธรรมที่แตกต่างกนั ไมม่ ปี ระเทศใดท่ีมวี ฒั นธรรมบริสุทธ์ิ
อยา่ งแทจ้ ริง แต่จะมีวฒั นธรรมท่ีมีพ้ ืนฐานมาจากความรู้ ประสบการณท์ ่ีสงั คมตกทอดมา
รวมถึงมีวฒั นธรรมจากแหล่งอ่ืนเขา้ มาผสมปะปนดว้ ย โดยวฒั นธรรมเกิดข้ ึนจากการเรยี นรู้
เช่น คนไทยภาคกลางนิยมปลูกบา้ นทรงไทยใกลแ้ หล่งน้า เป็ นเพราะอิทธิพลทางลักษณะ
ทางกายภาพ เพ่ือการคมนาคม หรอื อินเดียไมฆ่ ่าววั เน่ืองจากอิทธิพลทางศาสนา

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

1) เป็ นวฒั นธรรมแบบเกษตรกรรม
2) ยึดถือระบบเครือญาตแิ ละพิธีกรรม
3) ไดร้ บั อิทธิพลจากพุทธศาสนา
4) นิยมความสนุกสนาน

1) สภาพแวดลอ้ มทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากพ้ ืนที่ของประเทศไทย
ส่วนใหญม่ ีสภาพภมู ิศาสตร์เป็ นทรี่ าบลุ่มแม่น้า คนไทยจึงมคี วามผูกพนั กบั
แม่น้าลาคลอง ทาใหเ้ กิดวิถชี ีวิตริมน้าและประเพณีต่าง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั น้า
ที่สาคญั เช่น ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต์

2) อิ ท ธิ พ ล ท า ง ศ า ส น า แ ล ะ ค ว า ม เ ช่ื อ เ ช่ น ใ น ป ร ะ เ ท ศ
ไทย พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่เขา้ มาในประเทศไทยเป็ นเวลานาน โดยคน
ไทยไดน้ าหลักคาสอนมาใชใ้ นการดาเนินชีวิต มีประเพณีและพิธีกรรม
ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั ศาสนาอีกเป็ นจานวนมาก เช่น การทอดกฐิน การ
ทอดผา้ ป่ า การบวชเพ่ือสืบทอดศาสนา เป็ นตน้

3) การรับวัฒนธรรมอื่นมาปรับใช้ เช่น การแต่งกายตามแบบ
สากล การผูกเนคไท การสวมเส้ ือนอก การสรา้ งบา้ นเรือนรูปทรงต่าง ๆ
เป็ นตน้

4) การประดิษฐค์ ิดคน้ สรา้ งสรรค์ เช่น ในอดิตเราใชจ้ ดหมายในการ
ตดิ ตอ่ สื่อสารกนั แต่ในปัจจุบนั มีการประดิษฐโ์ ทรศพั ทม์ าใชเ้ ป็ นเครื่องมือใน
การส่อื สารแทนเพือ่ เพ่มิ ความสะดวกสบายมากข้ นึ

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

วฒั นธรรม รายละเอยี ด
การแตง่ กาย - ส่วนใหญแ่ ต่งกายตามสมยั นิยม
- ภาคเหนือ สวมใสผ่ า้ ฝ้าย นุ่งผา้ ซ่ินยาว
ภาษา - ภาคกลาง สวมใส่เส้ อื แขนสน้ั หรือยาว คาดผา้ ขาวมา้
ความเชอ่ื - ภาคอีสาน นุ่งกางเกงยาวครึ่งน่องหรือนุ่งโสร่ง สวมใสผ่ า้ ซ่ินเลยเขา่
อาหาร เล็กน้อย
- ภาคใต้ ถา้ เป็ นเช้ อื สายมุสลิมจะแตง่ กายคลา้ ยชาวมาเลเซีย
- ใชภ้ าษาไทยกลางในการส่ือสารและภาษาพ้ นื ถน่ิ ของตนเอง
- ความเชื่อเร่ืองผีสางเทวดา การนับถอื ผีบรรพบรุ ุษ ความเชื่อเร่ืองขา้ ว
และโลกจกั รวาล กาเนิดคนหรือสตั ว์
- ภาคเหนือ นิยม ทานขา้ วเหนียวกบั น้าพริกตา่ ง ๆ เช่น น้าพริกหนุ่ม
แกงฮงั เล แกงโฮะ๊ แหนม ไสอ้ วั่
- ภาคกลาง นิยมทานขา้ วสวยและกบั ขา้ วชนิดตา่ ง ๆ เช่น แกงสม้ แกงจืด
- ภาคอสี าน นิยมทานขา้ วเหนียว รบั ประทานร่วมกบั ลาบไก่ ลาบหมู ลาบ
เน้ ือ ไกย่ ่าง สม้ ตา ปลารา้
- ภาคใต้ นิยมทานขา้ วสวยทานคู่กบั แกงชนิดต่าง ๆเช่น แกงเหลือง แกง
ไตปลา

>> ประเทศตา่ ง ๆ ท่ีอยใู่ นภมู ภิ าคน้ ีมี 11 ประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย มาเลเซีย สงิ คโปร์ อนิ โดนิเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
บรไู นดาลุสซาลาม เวยี ดนาม ลาว กมั พชู า เมยี นมา และติมอร์ – เลสเต

วฒั นธรรมโดยทวั ่ ไปของภมู ภิ าคน้ ีมคี วามหลากหลายและมเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะของตนดงั น้ ี
1) นิยมแต่งกายดว้ ยผา้ ทีม่ เี น้ ือบางเบาระบายความรอ้ นไดด้ ี
2) ภาษาทใี่ ชก้ นั ในภมู ิภาคน้ ีส่วนใหญเ่ ป็ นภาษาประจาชาตขิ องตนควบคูก่ บั ภาษาอน่ื
3) ในดา้ นของความเชือ่ คนในภมู ภิ าคน้ ีมีความเชือ่ เก่ียวกบั โชคลาง สงิ่ ลึกลบั เหนือธรรมชาติ
4) อาหารทน่ี ิยมรบั ประทานจะเป็ น ขา้ ว เน้ ือสตั ว์ พืชผกั พ้ นื เมืองทหี่ าไดง้ ่ายในทอ้ งถ่ิน

วิชาสังคมพืน้ ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปืที่ 2

>> ปัจจุบนั ในสงั คมไทยมีการรบั วฒั นธรรมจากภายนอกเขา้ มาเป็ นจานวนมาก เชน่ การรบั วฒั นธรรม
จากจนี อนิ เดีย เกาหลี และญป่ี ่ นุ โดยครูอยากชวนพวกเราสารวจดูวา่ ในสงั คมไทยเราพบวฒั นธรรม
เหล่าน้ ีในเร่ืองอะไรบา้ ง โดยใหน้ ักเรียนเขยี นยกตวั อย่าง จากตารางทค่ี รูกาหนดให้

เร่ือง วฒั นธรรมจีน วฒั นธรรมอนิ เดีย วฒั นธรรมเกาหลี วฒั นธรรมญป่ี ่ นุ
อาหารการกนิ

การแตง่ กาย

ประเพณี/
พธิ กี รรมหรอื
คตคิ วามเชอ่ื

สง่ิ ของเครอ่ื งใช้

>> จากขอ้ มูลท่ีนักเรียนที่นักเรียนไดท้ าการศึกษา จะเห็นไดว้ ่า ไม่มีประเทศใดที่มีวฒั นธรรมท่ีเป็ นของ
ตนเองท้งั หมด แต่จะมวี ฒั นธรรมพ้ นื ฐานทีม่ าจากความรู้ ประสบการณท์ ี่สงั คมน้ันตกทอดมาโดยเฉพาะ
ของสงั คมน้ัน และจากวฒั นธรรมแหล่งอื่นทเ่ี ขา้ มาผสมปะปนอยู่

ดังน้ันท่ามกลางวัฒนธรรมท่ีหลากหลายในสังคม ในฐานะที่นักเรียนเป็ นพลเมืองของสังคม
นักเรียนคดิ ว่าเราควรปฎบิ ตั ติ นอย่างไร (อธบิ ายพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ)
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศึกษาปืที่ 2

บรเิ วณวฒั นธรรม รายละเอยี ด

เอเชียตะวนั ออก วฒั นธรรมจนี

> การแตง่ กาย เคร่ืองแตง่ กายของสตรี คือ กีเ่ พา้

> ภาษา ภาษาจีนกลางเป็ นภาษาหลกั

> ความเชอ่ื เป็ นตน้ กาเนิดของลทั ธิ 2 ลทั ธิ ไดแ้ ก่ ลทั ธิเตา๋ และลทั ธขิ งจ๊อื

> อาหาร คนจีนทานขา้ วเป็ นอาหารหลกั ควบคู่กบั อาหารอื่น

วฒั นธรรมเกาหลี
> การแต่งกาย เคร่ืองแต่งกายประจาชาติ คือ “ฮันบก”โดยปัจจุบัน

จะสวมใส่ชุดประจาชาตใิ นงานสาคญั

> ภาษา ภาษาเกาหลี

> ความเชื่อ เกาหลีมีท้งั ผูท้ ่ีนับถือพุทธศาสนา คริสตศ์ าสนา ลัทธิขงจ๊ือ

ลทั ธทิ รงเจา้ บชู าผี

> อาหาร อาหารเกาหลีจะเน้นในเรื่องของผกั ดองที่เรียกว่า กมิ จิ

วฒั นธรรมญป่ี ่ ุน

> การแตง่ กาย ชุดประจาชาตขิ องชาวญปี่ ่ นุ คอื “กิโมโน” แต่ในปัจจบุ นั จะ

ใส่ชุดกิโมโนในงานพิธี

> ภาษา ภาษาญีป่ ่ นุ รบั อทิ ธพิ ลมาจากภาษาจีน

> ความเชอ่ื มอี ิทธพิ ลมาจากศาสนาชินโต และนับถือพระพทุ ธศาสนา

> อาหาร นิยมรับประทานขา้ วเป็ นอาหารร่วมกับอาหารชนิดอื่น เช่น

พืชผกั สาหร่าย เน้ ือววั เน้ ือหมู่ รวมถึงอาหารจาพวกถวั่

เอเชยี ใต้ วฒั นธรรมอินเดีย

> การแต่งกาย สตรีชาวอินเดียแต่งกายดว้ ยชุด “ส่าหรี” ส่วนผูช้ ายนุ่งผา้

ขาว ใสเ่ ส้ อื แขนยาว ไวน้ วดเครา

> ภาษา ภาษาอนิ เดยี และภาษาองั กฤษในการติดต่อสอื่ สาร

> ความเชอ่ื พราหมณ์ - ฮินดู พทุ ธ เชน เชอื่ ในระบบวรรณะ

> อาหาร นิยมใชเ้ ครื่องเทศ และแป้งแผ่นทที่ อดจนสุก เรียกว่า โรตี

เอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้ วฒั นธรรมซาอดุ อิ าระเบีย

> การแต่งกาย ผูช้ ายจะใส่ชุดสีขาว เรียกว่า โต๊ป เป็ นเส้ ือแขนยาวคลุม

จนถงึ ขอ้ เทา้ สวมหมวก เรียกว่า กุธรา มเี สวียนถกั ดว้ ยเชือกเรียก อาเจล

> ภาษา ภาษาอารบิกเป็ นภาษาราชการ

> ความเช่อื ศาสนาอสิ ลาม เป็ นรากฐานของวฒั นธรรม

> อาหาร อาหารมุสลิมเป็ นไปตามหลกั ทีศ่ าสนาอิสลามบญั ญตั ิ





วิชาสงั คมพืน้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2 ชื่อ..........................................................
ชั้น.................................เลขที.่ ................
Chapter 5

ใหน้ ักเรียนสแกนคิวอารโ์ คด เพอื่ เล่นเกมทายใจจากลกั ษณะนิสยั การใชเ้ งนิ

นักเรียนเลือกตอบขอ้ ท่ีไดก้ ่คี ะแนนเป็ นส่วนใหญ่
...............................................................................
................................................................................
จากเกมทายใจ ลกั ษณะนิสยั การใชเ้ งนิ ของนักเรียน
เป็ นแบบใด
...............................................................................
................................................................................

>>ทกั ษะที่ 1 การใชเ้ งินอย่างชาญฉลาด (Smart consuming)

สถานการณ์แรก ไปหา้ งสรรพสินคา้ A ,B และ C ตอ้ งการซ้ ือแชมพสู ระผม โดยแต่ละคนได้
เลือกซ้ ือสินคา้ ดงั น้ ี A เลือกซ้ ือ แบบที่ 1 B เลือกซ้ ือ แบบท่ี 2 และ C เลือกแบบที่ 3
อยากใหน้ ักเรียนชว่ ยพจิ ารณาว่าซ้ ือสนิ คา้ อนั ไหน คุม้ ค่าทส่ี ดุ พรอ้ มใหเ้ หตุผลสนับสนุน

ผซู้ ้ ือ แชมพแู บบ ปริมาณ ราคา ใส่ตวั เลขสินคา้ อธิบายเหตผุ ลสนับสนุน
A
B ท่ีคุม้ ค่าโดย
C
ของการเรียงลาดบั แบบ

เรียงลาดับจากมาก

ไปหานอ้ ย ดงั กล่าว

………………………………………………

70 ML 29 B. ……………………………………………..

…………………………………………….

…………………………………………….

………………………………………………

680ML 179B. ……………………………………………..

…………………………………………….

…………………………………………….

………………………………………………

340ML 139B. ……………………………………………..
…………………………………………….

…………………………………………….

วิชาสงั คมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2
สถานการณท์ ี่ 2 ไปตลาด
แม่คา้ ขายมะเขอื เทศแบบทีละกโิ ลและทลี ะกล่อง

2.75 บาท ต่อกิโลกรมั 22 บาทตอ่ กล่อง กล่องละ 10 กิโลกรมั

ซ้ ือมะเขือเทศแบบไหนคุม้ คา่ เงนิ มากกวา่ กนั

จงอธิบายและใหเ้ หตุผลสนับสนุนในคาตอบที่เลือก..................
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
.

สรุปทกั ษะที่ 1 การใชเ้ งินอยา่ งชาญฉลาด ควรมีลกั ษณะดงั น้ ี ............................................
....................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

>>ทกั ษะท่ี 2 การจดั การเงินอยา่ งคมุ้ ค่า (Smart saving)

>> ใหน้ ักเรียนเขียนบนั ทกึ คา่ ใชจ้ ่ายของตนเองในรอบ 1 สปั ดาห์ แลว้ วเิ คราะหพ์ ฤติกรรมการใชเ้ งิน
ทีน่ ักเรียนใชไ้ ปส่วนใหญ่ เป็ นค่าใชจ้ า่ ยทีจ่ าเป็ น และค่าใชจ้ า่ ยที่ไมจ่ าเป็ นมากนอ้ ยเพียงใด

ลาดบั ท่ี รายจา่ ย ราคา จาเป็ นตอ่ การ ไม่จาเป็ นตอ่ การ

ดารงชพี ดารงชพี

วิชาสังคมพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปืที่ 2

ในยุคทีก่ าลงั มาแรงดว้ ยการกระตนุ้ ของสือ่ และ โฆษณาตา่ ง ๆ ทีต่ า่ งแข่งขนั กนั อย่างรุนแรงเพือ่ กระตนุ้
ยอดขายของตน อาจทาให้ การมีเงินอยู่ในมือของเรา ตอ้ งหมดไปโดยง่ายดาย หากเราไม่รูจ้ กั วิธีการ
จดั การเงินอยา่ งคุม้ ค่า ดงั น้ันสงิ่ สาคญั ท่ีเราจะตอ้ งเรียนรนู้ ัน่ ก็คือ “ การรูจ้ กั ออมเงินใหเ้ ป็ น ”

การออม เป็ นการแบ่งรายไดส้ ่วนหน่ึงเก็บสะสมไว้

สาหรับวตั ถุประสงคต์ ่าง ๆ เช่น เพ่ือไวใ้ ชใ้ นอนาคต
เผื่อเวลาฉุกเฉิน เพื่อใชใ้ นสิ่งท่ีอยากไดห้ รืออยากทา
โดยการออมในทางเศรษฐศาสตร์ เจา้ ของเงินจะตอ้ ง
ไมเ่ ก็บเงินไวเ้ ฉยๆ แต่จะตอ้ งทาใหง้ อกเงยเพ่ิมข้ นึ เช่น
นาไปฝากธนาคาร ซ้ ือหลกั ทรพั ยป์ ระเภทตา่ ง ๆ

เงนิ ออม = รายรบั - รายจา่ ย

การออมประเภทตา่ ง ๆ

การออม ข้ ึนอยู่กบั รายรบั รายจ่าย และความจาเป็ นของแต่ละครอบครัว โดยหลกั การทวั่ ไป
เราควรออมก่อนใชจ้ ่าย และออมใหไ้ ด้ 1 ใน 4 ของรายไดแ้ ต่ละเดือน ซ่ึงการออมทาได้
หลายวิธี ดงั แผนภาพดงั ต่อไปน้ ี

ใชจ้ า่ ยเพอ่ื บรโิ ภค ผลตอบแทน ดอกเบ้ ยี

รายได้ของ ุบคคลต่าง ๆ ผลตอบแทน เงินปันผล
และดอกเบ้ ยี

ผลตอบแทน ดอกเบ้ ยี

กันไวเ้ พอ่ื เก็บออม ผลตอบแทน กาไร /ขาดทนุ
อออม

นอกจากน้ ีในลกั ษณะของการออม ยงั สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ การออมทางตรง
และการออมทางออ้ ม


Click to View FlipBook Version