The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานระบบสารสนเทศโรงเรียนวัชรวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-13 01:04:49

คู่มือการปฏิบัติงานระบบสารสนเทศโรงเรียนวัชรวิทยา

คู่มือการปฏิบัติงานระบบสารสนเทศโรงเรียนวัชรวิทยา

คูม่ อื การปฏิบัติงานระบบสารสนเทศ
โรงเรียนวัชรวทิ ยา

งานสารสนเทศ กลุ่มงานนโยบายและแผน
โรงเรียนวชั รวิทยา อาเภอเมือง จงั หวัดกาแพงเพชร
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 41 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา

คูม่ อื การปฏิบตั ิงานระบบสารสนเทศโรงเรียนวัชรวิทยาฉบบั น้ี เปน็ เอกสารท่ีจดั ทาข้นึ เพอื่ เป็นแนวทาง
ขั้นตอน และขอบข่ายในการปฏิบัติงานของงานสารสนเทศ เพื่อให้งานสารสนเทศมีประสิทธิภาพและ
สอดคล้องกับมาตรฐาน

เนอ้ื หาของระบบสารสนเทศประกอบด้วย Flow Chart แสดงขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน วิธกี ารมาตรฐาน
ของระบบสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยวิธีมาตรฐาน ตัวช้ีวัด บันทึกเอกสาร ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานและ
ตวั ชี้วัดของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และผู้เกี่ยวข้อง

ขอขอบคณุ ทุกคาแนะนาและข้อเสนอแนะ ระบบสารสนเทศจะนาไปปรับปรงุ ในโอกาสตอ่ ไป

ระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

สารบญั หนา้
1
ความเปน็ มา 2
หลักการของระบบสารสนเทศ 2
องคป์ ระกอบของสารสนเทศ 3
ระบบข้อมลู ของสถานศกึ ษา 3
ความสัมพนั ธ์ของระบบสารสนเทศกบั การประเมินคณุ ภาพการศึกษา 4
จดุ ประสงคร์ ะบบ 5
นิยามศพั ท์ 6
Flow Chart ระบบสารสนเทศ 7
วธิ ีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวชั รวิทยา หน้า 1

คู่มือการปฏิบตั ิงานระบบสารสนเทศ
โรงเรียนวัชรวทิ ยา

ความเป็นมา

ปัจจุบันกล่าวได้ว่าเป็นสังคมแห่งยุคข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ตลอดจน ความ
เจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีท่ีเข้มามีบทบาทกับมนุษย์เป็นอย่างมาก ดังน้ันระบบสารสนเทศจึงเป็นส่ิง
สาคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรสามารถดาเนินการไปได้อย่างมีประสิทธภิ าพเพราะนอกจากจะใช้ข้อมูล
สารสนเทศในการวางแผนการดาเนินการ และประกอบการตัดสินใจแล้ว ยังสามารถเป็นเคร่ืองช้ีนาในการ
ดาเนนิ งานดา้ นตา่ งๆ ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์

ในการบริหารงานประกอบด้วยกิจกรรมสาคัญ 3 กิจกรรม คือ การวางแผนการดาเนินงาน การ
ดาเนินงานตามแผน และการประเมินผลการดาเนินงาน ซ่ึงในการดาเนินงานตาละขั้นตอนจะมีความจาเป็น
อย่างยิง่ ทต่ี ้องใชส้ ารสนเทศเป็นเคร่ืองมอื ชว่ ยในการตดั สนิ ใจ

ดงั นนั้ สารสนเทศจึงตอ้ งมีคณุ ภาพ ซ่งึ สารสนเทศควรมีคุณสมบัติ 3 ประการคอื
1.ความถูกต้อง สารสนเทศท่ีมีคุณภาพจะต้องมีความถูกต้องสมบูรณ์มากที่สุด เพื่อเป็นสารสนเทศทม่ี ี
คุณค่าสาหรับผู้บริหาร ความไม่ถูกต้องของสารสนเทศอาจมีสาเหตุมาจากความผิดพลาดของคน หรือ
เครื่องจักรเช่น การไดข้ อ้ มูลมาผิดพลาด การเตรยี มข้อมูลผิดพลาด เป็นตน้
2.ตรงตามความต้องการ สารสนเทศจะต้องตรงกับเร่ืองท่ีผู้ใช้แต่ละคนต้องการใช้ โดยมีรายละเอียด
ตา่ งๆเหมาะสม ชัดเจน และเพยี งพอ
3.ทันต่อการใช้งาน สานสนเทศควรจะรวดเร็วทันต่อเวลาและการใช้งาน การจัดเตรียมสารสนเทศให้
ทันต่อเวลาและการใช้งาน อาจทาได้ 2 ลักษณะ คือ การจัดทาสารสนเทศล่วงหน้า กับ การจัดทาสารสนเทศ
ตามกาหนดเวลาที่เหตุการณน์ ้ันๆ กาลังเกดิ ขึ้น การจดั ทาสารสนเทศต้องมีความยืดหยุ่น สามารถรองรับความ
จาเปน็ เร่งด่วนในการใช้สารสนเทศ

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวัชรวิทยา หน้า 2

หลักการของระบบสารสนเทศ

หลกั การการของการจัดทาและพัฒนาระบบสารสนเทศ ควรคานงึ ถึงองค์ประกอบตอ่ ไปนี้
1.สอดคล้องกับการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา
2.จะต้องมคี ุณภาพคือ มีความถกู ต้อง ครบถว้ นตรงกบั ความต้องการในการใช้งานหรือปัญหา และทัน
ต่อการใช้งาน
3.ผู้บริหารต้องเห็นความสาคัญของสารสนเทศ และใช้สารสนเทศเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ การ
กาหนดนโยบาย และการวางแผนการดาเนินการ
4.จะตอ้ งเข้าใจงา่ ยและสะดวกพรอ้ มท่ีจะใชง้ าน
5.ความสามารถในการเช่ือมโยงสารสนเทศกับปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหา

องคป์ ระกอบของสารสนเทศ

องคป์ ระกอบของสารสนเทศ ประกอบด้วยสว่ นสาคญั 5 ส่วน ดงั แผนภาพ

1.ข้อมลู ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเลข ข้อความ เสยี ง ภาพ เป็นข้อมลู ป้อนเขา้ (Input)
2.การประมวลผล เป็นการกาหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลการจัดระบบข้อมูลเพ่ือให้เหมาะสมต่อการ
นาไปใช้
3.การจัดเก็บ เป็นวิธีการท่ีจะเก็บข้อมู,ให้เป็นระบบ สะดวกต่อการนามาใช้ และสามารถแก้ไขและ
ปรับปรุงขอ้ มูลให้เปน็ ปจั จุบัน
4.เทคโนโลยี เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยในการเก็บข้อมูลการประมวลผลข้อมูล ทาให้เกิดผลผลิต ได้แก่
คอมพิวเตอร์ ระบบเครือขา่ ย อนิ เตอร์เน็ต โทรศพั ท์ เปน็ ตน้
5.สารสนเทศ ผลผลตขิ องระบบสารสนเทศจะต้องถูกต้อง ตรงกับความต้องการใช้งาน และทันต่อการ
ใช้งาน

ค่มู อื การปฏิบตั ิงานระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวิทยา หน้า 3

ระบบข้อมูลของสถานศกึ ษา

ในการจัดการข้อมูลหรือมีระบบข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพของสถานศึกษานั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะความ
ต้องการ และการเลือกสรรใช้ข้อมูลที่จาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
และควรจะครอบคลุมองค์ประกอบพ้ืนฐานของการจดั การศึกษา

1.โครงสรา้ งพื้นฐาน
2.นักเรยี น
3.ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
4.หลักสูตร
5.กระบวนการจดั การเรยี นการสอน
จดุ ม่งุ หมายในการเก็บรวบรวมข้อมูลและสานสนเทศ ก็เพือ่ ประเมินสภาพทางกายภาพของโรงเรยี น
ในการจดั การศกึ ษา และศกึ ษาผลกระทบท่ีมตี ่อคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น

ความสมั พันธข์ องระบบสารสนเทศกับการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา

ในระบบการปรันคุณภาพการศึกษา สารสนเทศนับว่ามีความสาคัญอย่างย่ิงตั้งแต่การกาหนด
มาตรฐานการศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในแต่รายการ และขั้นตอนการ
ตรวจสอบคณุ ภาพของสถานศึกษา ซงึ่ ในการดาเนินงานเพ่ือประเมนิ ความก้าวหนา้ ของการจัดการศึกษาโดยให้
สถานศึกษาประเมินตนเอง (School Self Evaluation) เพื่อปรับปรุงและพัฒนาแล้วจัดทารายงานผลการ
ดาเนินงานประจาปี (Self Study Report) เพ่ือเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
สาธารณชนนั้น หากไม่มีสารสนเทศท่ีดีแล้ว ก็จะทาให้ไม่สามารถสรุปผลการดาเนินงาน และสถานศึกษาใดมี
การจัดทาข้อมลู และสารสนเทศไวเ้ ปน็ ระบบกจ็ ะสามารถนามาใช้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพทนั ที

คู่มือการปฏบิ ตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวิทยา หน้า 4

จดุ ประสงค์ระบบ

สารสนเทศเปน็ สิ่งท่ีมีความจาเป็นในการบริหารงาน โดยเฉพาะถ้าข้อมูลมีระบบการจดั การที่ดี มี
ความชดั เจน และสะดวกในการเรียกใช้ ก็สามารถใช้เป็นข้อมลู ในการตดั สินใจท่ีถูกต้อง ช่วยในการวางแผนทดี่ ี
ชว่ ยในการดาเนินงานและประเมนิ ผลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การจดั และพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีมีคุณภาพ จึง
เป็นสง่ิ ที่สถานศึกษาควรจัดกระทา

การสรา้ งระบบสารสนเทศให้มีคุณภาพ (Information Quality) ควรคานงึ ถงึ ปัจจยั ต่อไปนี้

แนวทางการพฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา แบ่งเป็นขัน้ ตอนตา่ งๆ ดังนี้
1.การวางแผนเพื่อจดั ระบบ เปน็ การเตรียมการเพ่ือให้การพัฒฯระบบมีประสทิ ธภิ าพ สงิ่ ทีผ่ รู้ ับผิดชอบ
ควรเตรยี มการ มดี ังนี้

1.1 ศึกษานโยบายของสถานศึกษา โดยเฉพาะระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาและการ
ประเมินคุณภาพของสถานศึกษา

1.2 ศึกษาความต้องการ และความจาเปน็ ใช้สารสนเทศเพื่อการประกันคณุ ภาพการศึกษา
1.3 ศกึ ษาลักษณะและประเภทของข้อมลู ทจี่ ะนามาใชใ้ นการจดั ระบบสารสนเทศ
1.4 ศึกษาความเปน็ ไปได้ของการพัฒนารวมทง้ั จุดเด่น และข้อจากดั ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ดาเนนิ งาน ในดา้ นความพร้อมของบคุ ลากร ผู้ปฏบิ ตั ิ การสนับสนุนจากฝ่ายบริหาร ความเปน็ ไปได้ในแง่ของ
เวลาและการบรหิ ารงาน
2.การพัฒนาระบบ เป็นการศึกษาวเิ คราะห์งานและโครงสร้างเพื่อความกระจา่ งในการกาหนด
ขอบเขตของข้อมลู มีความครอบคลมุ ครบถ้วนในแตล่ ะสายงาน และเพื่อความร่วมมือในการจัดเกบ็ ข้อมลู ใน
สายงานนัน้ ๆ การดาเนินการในการพฒั นาระบบ มีดังนี้
2.1 กาหนดวัตถปุ ระสงค์ และรปู แบบของการพัฒนาระบบ
2.2 การวิเคราะหโ์ ครงสร้างองค์กร รวมทงั้ หน้าทขี่ องแตล่ ะหน่วยงาน เพ่ือศึกษาสายการ
ดาเนินงานการสื่อสารข้อมูล โดยวเิ คราะหจ์ ากสภาพการบริหารงาน เพอื่ ความสะดวกในการจัดเกบ็ และนา
สารสนเทศไปใช้งาน

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานระบบสารสนเทศ โรงเรียนวชั รวิทยา หน้า 5

นยิ ามศัพท์

ขอ้ มลู (Data) หมายถึง ข้อเท็จจรงิ ต่างๆ ท่ีเปน็ ตวั เลข สัญลักษณ์และตัวหนังสอื แทนปรมิ าณ หรือการ
กระทาตา่ งๆ ซึง่ ยังไมผ่ า่ นการประมวลผลหรือวเิ คราะห์ผล

สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ข้อมลู ท่ีไดผ้ ่านการประมวลผล หรอื การวิเคราะห์แลว้ อยใู่ น
รูปแบบทม่ี ีความหมาย สามารถนาไปประกอบการตัดสนิ ใจในเรือ่ งตา่ งๆ ได้ตามวัตถปุ ระสงค์

ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถงึ ระบบท่ีจดั ต้ังขึ้นเพ่อื รวบรวม จดั เก็บ และใช้
สารสนเทศสนองความตอ้ งการของหนว่ ยงาน ทง้ั นโ้ี ดยมกี ารจัดเก็บอยา่ งเป็นระบบ

โครงสรา้ งพ้นื ฐาน หมายถึง ข้อมลู ทวั่ ไปของโรงเรียนและชุมชน อาคารเรียน อาคารประกอบและส่ิง
อานวยความสะดวกทมี่ ีอยู่ในโรงเรียน เช่น ห้องเรียน หอ้ งปฏิบตั ิการ วสั ดุอปุ กรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด
ตลอดถงึ แหลง่ เรยี นรู้ในและนอกสถานศึกษา เป็นต้น

นกั เรียน หมายถงึ ผู้ทีเ่ รียนอยู่ในสถานศกึ ษา เปน็ องค์ประกอบทสี่ าคัญของโรงเรยี นในการเก็บ
รวบรวมข้อมลู นอกจากตวั นักเรยี นแลว้ ยงั ต้องเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั ภมู หิ ลงั ทางครอบครัวและชุมชนท่ี
นกั เรยี นอาศยั อยู่

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา หมายถงึ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีอย่ใู นสถานศึกษา การเกบ็
รวบรวมขอ้ มูลของครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ จานวนครู คุณวฒุ ิ การศกึ ษา ตาแหนง่ หนา้ ที่ วิชาที่
สอน ผลงานทางวิชาการ และผลการปฏิบัติงาน รวมถึงบคุ ลากรภายนอกท่ีมีความร้คู วามสามารถพเิ ศษในดา้ น
ตา่ งๆ สามารถเป็นวทิ ยากร ผู้ทรงคุณวฒุ ิ เป็นตน้

หลกั สตู ร หมายถึง ตัวหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ คูม่ ือการพัฒนาหลักสูตร การสารวจความ
ตอ้ งการของชมุ ชน และการใช้เอกสารประกอบการเรียนของครูและนักเรียน เป็นต้น

คู่มือการปฏบิ ตั ิงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา หน้า 6

Flow Chart ระบบสารสนเทศ

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวชั รวิทยา หนา้ 7

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนุน : ระบบสารสนเทศ มกี ารจดั การข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทันต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วิธกี าร ตัวชว้ี ดั บันทึก สอดคล้องกับมาตรฐาน แหล่งข้อมลู

มาตรฐาน ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรียน

1. วางแผน 1.โรงเรียนมี 1.คาสั่งแตง่ ตัง้ 8.1- 10,11,12 8.1- - ผู้บรหิ าร

1. วเิ คราะห์ P โครงสรา้ งและ คณะกรรมการ 8.6 8.6 - ครทู ุกคน

ระบบ 1.1 ประชุม คณะกรรมการ งาน - ระบบ

สารสนเทศ ฝายบรหิ าร ระบบ สารสนเทศ สารสนเทศ

และ เพื่อกาหนด สารสนเทศ โรงเรียน -

มาตรฐาน โครงสร้างและ โรงเรียนที่ 2.โครงสรา้ ง ผู้รบั ผิดชอบ

เพ่อื กาหนด แต่งตั้ง ครอบคลมุ ทั้ง แผนผงั ระบบทกุ

ขอบเขตของ คณะกรรมการ องค์กรชัดเจน การดาเนินงาน ระบบ

งาน ดาเนนิ การ และเป็น ของโรงเรียน

สารสนเทศ ระบบ ปจั จบุ นั ไม่ 2. แบบ

สารสนเทศ น้อยกวา่ รอ้ ย กาหนด

1.2. ศึกษา ละ 80 ขอบข่าย

วิเคราะหก์ าร 2. ครูมี ของระบบ

จดั การ ความรูค้ วาม สารสนเทศ

ดาเนินงานของ เข้าใจ 3. แบบ

ระบบ ความสาคญั วเิ คราะห์

สารสนเทศ ของ ตามเกณฑ์

และระบบตา่ ง ระบบ มาตรฐาน

ๆ สารสนเทศ ของโรงเรยี น

1.2.1 ศกึ ษา และ 4. แบบ

หาความรู้ พรอ้ มใหค้ วาม ประเมิน

เก่ียวกับ รว่ มมือ ความร้คู วาม

รูปแบบการ ในการ เข้าใจ

จัดทา ดาเนินการ ความสาคญั

ระบบ ไม่น้อยกวา่ ของระบบ

สารสนเทศ รอ้ ยละ 80 สารสนเทศ

1.2.2 5.คู่มอื ระบบ

วเิ คราะห์ สารสนเทศ

จุดมุง่ หมาย

ของระบบ

สารสนเทศ

โรงเรยี น

เพอ่ื ให้

สอดคล้องกับ

มาตรฐาน

คู่มอื การปฏิบัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา หนา้ 8

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มีการจดั การขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลมุ และทนั ตอ่

การใชง้ าน

กระบวนการ วธิ ีการ ตวั ชวี้ ดั บันทกึ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรยี น

2. การ 3. โรงเรียนมี

ดาเนินงานตาม ขอบข่ายงาน

แผน D สารสนเทศ

2.1. จัดทา โรงเรยี น

โครงสร้างและ อยา่ ง

แตง่ ตง้ั ครอบคลมุ ทง้ั

คณะกรรมการ ขอ้ มลู พนื้ ฐาน

ดาเนนิ การระบบ ของโรงเรยี น

สารสนเทศ และขอ้ มลู

2.2 กาหนด ของแตล่ ะ

ขอบเขตงาน ระบบ

ระบบ ไมน่ อ้ ยกวา่

สารสนเทศ รอ้ ยละ 80

เพื่อให้เขา้ เกณฑ์

มาตรฐาน

โรงเรียน เพือ่ ให้

ได้ข้อมลู ท่ี

ครอบคลมุ ทง้ั

ข้อมูลพืน้ ฐาน

ของโรงเรยี น

และ

ขอ้ มลู ของแต่ละ

ระบบ

3. ประเมนิ ผล

การดาเนินงาน

C

3.1 สรปุ

ขอบเขตของงาน

ระบบ

สารสนเทศ

คมู่ อื การปฏิบัตงิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวชั รวทิ ยา หนา้ 9

วิธกี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนนุ : ระบบสารสนเทศ มีการจดั การข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทนั ต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วิธกี าร ตวั ชี้วดั บันทกึ สอดคล้องกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑโ์ รงเรียน
พ.ฐ. สากล

3.2 ประเมนิ

ขอบเขตงาน

ระบบ

สารสนเทศ

เพ่ือให้

เขา้ เกณฑ์

มาตรฐาน

โรงเรยี น

เพอื่ ใหไ้ ด้

ข้อมูลท่ี

ครอบคลมุ ทง้ั

ขอ้ มลู พ้นื ฐาน

ของโรงเรยี น

และ

ข้อมูลของแต่

ละระบบ

4. นาผลการ

ประเมินมา

พัฒนา

ปรับปรุง A

4.1 นา

ข้อมูลจากการ

ประเมนิ

ขอบเขตงาน

ระบบ

สารสนเทศ

มาแกไ้ ข

ปรบั ปรุง เพือ่

เปน็ แนวทาง

ในการพฒั นา

คู่มอื การปฏบิ ัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา หนา้ 10

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนุน : ระบบสารสนเทศ มกี ารจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลมุ และทันต่อ

การใช้งาน

กระบวนการ วธิ กี าร ตัวช้วี ดั บนั ทึก สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรียน

1. วางแผน P 1. มี 1. บนั ทกึ - ระบบสารสนเทศ
2. ออกแบบเครื่องมอื การ 1.1. ประชุม เคร่ืองมอื ใน การ
คณะกรรม 8.1- 10,11,12 8.1- - ผูร้ บั ผิดชอบระบบทกุ ระบบ
การระบบ
จัดเกบ็ ข้อมลู สารสนเทศ สารสนเทศเพอื่ การจัดเก็บ ประชุม 8.6 8.6
ของโรงเรียนและระบบ ออกแบบการ ขอ้ มลู 2.
ตา่ งๆ สารสนเทศที่ เครือ่ งมอื

บนั ทกึ การ ครอบคลมุ ท้งั การ

จดั เก็บข้อมูล ขอ้ มลู จัดเก็บ
พืน้ ฐานของ พน้ื ฐานของ ขอ้ มลู
โรงเรียนและ โรงเรยี นและ พื้นฐาน
ระบบตา่ ง ๆ ระบบ ของ
2. การ ตา่ ง ๆ โรงเรียน
ดาเนนิ งานตาม สามารถ และ
แผน D

2.1. ออกแบบ รวบรวม ระบบต่าง
เคร่อื งมือ ขอ้ มลู ท่ี ๆ
การจัดเก็บ ตอ้ งการได้
คดั เลือกขอ้ มลู ไมน่ ้อยกว่า
พื้นฐานของ ร้อยละ 80
โรงเรียนและ

ระบบตา่ งๆ ให้

ครอบคลุม

ขอ้ มูลพนื้ ฐาน

ของโรงเรยี น

และของระบบ

ต่าง ๆ

2.2 เลอื กแบบ

เคร่อื งมอื

การจัดเก็บ

คัดเลอื กข้อมูล

พน้ื ฐานของ

โรงเรยี นและ

ระบบต่าง ๆ

คู่มือการปฏบิ ัตงิ านระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา หนา้ 11

วธิ ีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มีการจดั การข้อมูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลุมและทนั ตอ่

การใชง้ าน

กระบวนการ วิธกี าร ตวั ช้วี ัด บนั ทกึ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑโ์ รงเรียน
พ.ฐ. สากล

3.

ประเมินผล

การ

ดาเนินงาน C

3.1

ตรวจสอบ

เครอื่ งมอื

การจัดเกบ็

คดั เลือกขอ้ มลู

พน้ื ฐานของ

โรงเรยี นและ

ระบบตา่ ง ๆ

4. นาผลการ

ประเมินมา

พัฒนา

ปรบั ปรงุ A

4.1 นาผล

จากการ

ตรวจสอบ

เครื่องมือการ

จัดเกบ็

คดั เลือกข้อมลู

พ้นื ฐานของ

โรงเรียนและ

ระบบตา่ ง ๆ

มาแกไ้ ข

ปรับปรงุ เพ่ือ

เป็นแนวทาง

ในการพัฒนา

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวทิ ยา หนา้ 12

วิธีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มกี ารจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลุมและทนั ตอ่

การใชง้ าน

กระบวนการ วธิ กี าร ตวั ช้วี ัด บันทึก สอดคล้องกับมาตรฐาน แหล่งขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรยี น

1. วางแผน P 1. ขอ้ มลู 1. บนั ทึก - ระบบ
1.1 ระบบ การประชมุ 8.1- 10,11,12 8.1- สารสนเทศ
คณะกรรมการ สารสนเทศ 2. ตาราง 8.6
3. จดั เกบ็ ระบบ ทไ่ี ด้ 8.6 -
รวบรวม
ข้อมลู สารสนเทศ กาหนดเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ
ถกู ต้อง ประชุมวางแผน
ครบถ้วน กาหนดเวลาใน ดาเนินการ การ ระบบทุก
ครอบคลมุ การแจก คดั เลือก ดาเนนิ งาน ระบบ
และเป็น และการจดั เก็บ จัดเก็บ ของ - ครู และ
ปจั จุบนั รวบรวม รวบรวม ระบบ นกั เรยี นท่ี
เครอื่ งมอื การ สง่ กลบั คนื มา สารสนเทศ ไดร้ ับ
ไม่น้อยกวา่ 3. แบบ มอบหมาย

จัดเก็บขอ้ มูลที่ รอ้ ยละ 90 บนั ทกึ การ
มอบหมาย
ไดอ้ อกแบบไว้
งานจัดเกบ็
และกาหนด ผูม้ ี

หน้าท่ีจัดเกบ็ ขอ้ มูลของ

ขอ้ มูล ระบบ
สารสนเทศอาจ สารสนเทศ
เป็นครูหรอื

นักเรียน

2. การ

ดาเนนิ งานตาม

แผน D

2.1

คณะกรรมการ

ระบบ

สารสนเทศ

กาหนดเวลา

ในการแจก

และการจัดเกบ็

รวบรวม

เคร่อื งมอื การ

จดั เกบ็ ขอ้ มลู ที่

ไดอ้ อกแบบไว้

และกาหนด ผู้มี

หนา้ ทีจ่ ดั เกบ็

ขอ้ มูล

สารสนเทศอาจ

เปน็ ครู

คมู่ ือการปฏิบัตงิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวทิ ยา หนา้ 13

วิธกี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนุน : ระบบสารสนเทศ มีการจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลมุ และทันต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วธิ กี าร ตัวช้วี ดั บันทึก สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหลง่ ข้อมลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรยี น

หรอื นักเรยี น

2.2

คณะกรรมการ

ระบบ

สารสนเทศแจก

และเก็บรวบรวม

ข้อมลู ตาม

กาหนดเวลา

โดยแจกและเกบ็

รวบรวมข้อมลู

ท่ไี ด้จากครูหรอื

นกั เรียน

ที่ไดร้ ับ

มอบหมาย

3. ประเมนิ ผล

การดาเนินงาน

C

3.1. ฝ่ายระบบ

สารสนเทศ

ดาเนินการ

ตรวจสอบว่า

ข้อมูล

ทไี่ ดร้ ับถกู ต้อง

ครบถว้ น

ครอบคลมุ และ

เปน็ ปจั จบุ ัน

หรอื ไม่ และ

ตรวจสอบ

ความสมบรู ณ์

ของข้อมลู

ในเครอื่ งมอื การ

จัดเก็บขอ้ มลู

ทีไ่ ดอ้ อกแบบไว้

และแจกไป

คู่มอื การปฏบิ ัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวิทยา หนา้ 14

วธิ ีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนนุ : ระบบสารสนเทศ มีการจดั การขอ้ มูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทนั ต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วธิ ีการ ตวั ชีว้ ัด บันทกึ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหล่งขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑโ์ รงเรยี น
พ.ฐ. สากล

3.2 สรุป

จานวน

เคร่ืองมือ

ในการจดั เก็บ

คัดเลอื ก

ข้อมูล

ทีไ่ มถ่ กู ต้อง

ครบถว้ น

สมบรู ณ์ นา

กลับไปจดั เกบ็

เพ่ิมเตมิ

หรือพัฒนา

ปรับปรุง

เครื่องมือ การ

จัดเกบ็ ขอ้ มลู

ถา้ ข้อมลู ทไ่ี ด้

มีความถกู

ต้อง

ครบถ้วน

สมบูรณ์

เพียงพอแลว้

นาไป

ดาเนนิ การ

วิเคราะห์

ขอ้ มลู ต่อไป

คู่มอื การปฏิบัตงิ านระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา หนา้ 15

วิธีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนนุ : ระบบสารสนเทศ มกี ารจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทันตอ่

การใช้งาน

กระบวนการ วิธีการ ตัวชว้ี ัด บันทกึ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหล่งขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์โรงเรยี น
พ.ฐ. สากล

4. นาผล

การประเมิน

มาพัฒนา

ปรับปรุง A

4.1 นาผลท่ี

ได้จากการ

ตรวจสอบ

ขอ้ มลู ใน

เครือ่ งมือการ

จดั เกบ็

คัดเลอื ก

ข้อมลู พ้นื ฐาน

ของโรงเรียน

และระบบ

ต่าง ๆ

มาแกไ้ ข

ปรบั ปรงุ เพอ่ื

เปน็ แนวทาง

ในการพัฒนา

ค่มู อื การปฏิบตั ิงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา หนา้ 16

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มกี ารจดั การข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทนั ตอ่

การใช้งาน

กระบวนการ วิธีการ ตัวชีว้ ัด บนั ทึก สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหล่งข้อมลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรยี น

1. วางแผน P 1. ข้อมลู ท่ี 1. แบบสรุป - ระบบ

4. วิเคราะห์ 1.1. ผา่ นการ ตัวช้ีวัด 8.1- 10,11,12 8.1- สารสนเทศ

ข้อมลู คณะกรรมการ วิเคราะห์ ความสาเรจ็ 8.6 8.6

ตรวจสอบ ระบบ ตรวจสอบ แต่ละระบบ

คุณภาพ สารสนเทศวาง ความถูกตอ้ ง 2. ข้อมลู

ขอ้ มูล แผนการ และคณุ ภาพ แสดง

สารสนเทศ วเิ คราะห์ข้อมลู ไม่นอ้ ยกวา่ รายละเอยี ด

ของโรงเรียน ทไ่ี ด้รับ เพื่อให้ รอ้ ยละ 80 ในรปู สถติ ิ

และระบบ ไดข้ อ้ มลู 2. ข้อมลู ที่

ตา่ ง ๆ นามา ทีม่ คี ุณภาพ ผา่ นการ

จดั ทาเป็น ครอบคลมุ วิเคราะห์

สถิติ และ ตรวจสอบ

ตรงตามความ ความถกู ต้อง

ต้องการของ และคณุ ภาพ

บคุ ลากรใน แลว้ นามา

โรงเรียนและ จัดทาเปน็ สถติ ิ

นอกโรงเรยี น ไม่นอ้ ยกวา่

2. การ รอ้ ยละ 80

ดาเนินงานตาม

แผน D

2.1.

คณะกรรมการ

ระบบ

สารสนเทศ

ดาเนินการ

วิเคราะห์ข้อมูล

จากเครอ่ื งมือใน

การจดั เกบ็

คัดเลือกขอ้ มลู

ทไ่ี ด้รับกลบั คนื

มาจากครู หรือ

นกั เรียน

2.2 นาผลจาก

การวิเคราะห์

ขอ้ มูลที่ไดไ้ ป

จดั ทาเป็นสถิติ

คมู่ ือการปฏิบัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา หนา้ 17

วิธีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนุน : ระบบสารสนเทศ มีการจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทนั ต่อ

การใชง้ าน

วิธีการ ตัวช้ีวัด บนั ทกึ สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

กระบวนการ มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์โรงเรยี น
พ.ฐ. สากล

3.

ประเมนิ ผล

การ

ดาเนินงาน C

3.1 ตรวจสอบ

คณุ ภาพ

ความถูกต้อง

ของการ

ดาเนินการ

วเิ คราะห์ข้อมลู

และข้อมูล

ที่จดั ทาเปน็

สถิติ

ถา้ มคี วาม

ถกู ต้องแลว้ นา

ผลจาก

การวเิ คราะห์

และสถิติทีไ่ ด้

ไปจัดทาระบบ

สารสนเทศ

ถ้าคณุ ภาพยัง

ไมด่ ี นา

กลบั ไปพฒั นา

ปรับปรุง

เครอื่ งมอื

การจดั เกบ็

ขอ้ มลู

4. นาผลการ

ประเมินมา

พัฒนา

ปรับปรุง A

4.1 นาผลท่ีได้

จากการ

วิเคราะหข์ อ้ มูล

ตรวจสอบ

คุณภาพข้อมูล

มาแก้ไข

ปรบั ปรุงเพ่ือ

เป็นแนวทางใน

การพัฒนา

คู่มอื การปฏิบัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรียนวชั รวิทยา หนา้ 18

วิธกี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนนุ : ระบบสารสนเทศ มีการจดั การขอ้ มูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทนั ตอ่

การใชง้ าน

กระบวนการ วิธีการ ตวั ชวี้ ัด บันทึก สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหล่งขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรียน

1. วางแผน P 1. ข้อมลู จาก 1. เอกสาร - ระบบ
1.1. การวิเคราะห์ ระบบ 8.1- 10,11,12 8.1- สารสนเทศ
คณะกรรมการ นามาจัดทา สารสนเทศ 8.6
5. จัดทา สารสนเทศ เปน็ เอกสาร 2. แบบ 8.6

ระบบ วางแผนการ สารสนเทศ บันทกึ
สารสนเทศ จดั ทาระบบ โรงเรยี นไม่ การเผยแพร่
สารสนเทศ นอ้ ยกวา่ ร้อย และ
เพือ่ เป็น ละ 80 การ
ประโยชนใ์ นการ 2. ข้อมูลที่ ใหบ้ รกิ าร
วางแผนของ ปรากฏอยู่ ขอ้ มลู
ผู้บริหารและ
การตัดสินใจ ในสารสนเทศ ของระบบ
อีกทง้ั ยงั ใชเ้ ป็น โรงเรียน สารสนเทศ

ขอ้ มลู เพอื่ การ ไมน่ อ้ ยกว่า 3. แบบ

แลกเปลยี่ น รอ้ ยละ 80 ประเมนิ
เรยี นรขู้ อง
บุคลากร ใน 3. มรี ะบบ ความพงึ
โรงเรยี นและ สารสนเทศ พอใจของ
นอกโรงเรยี น ทส่ี ามารถ ผทู้ เี กี่ยวขอ้ ง
1.2 เผยแพรแ่ ละ หรอื
คณะกรรมการ ใหบ้ รกิ าร ผู้ท่รี ับ
สารสนเทศ ขอ้ มลู แก่ บริการ
จัดแบ่งหนา้ ที่ บคุ ลากรใน ข้อมูล
การทางาน โรงเรยี นและ ระบบ
อย่างเป็น นอกโรงเรยี น สารสนเทศ
ขั้นตอน ไมน่ ้อยกว่า
1.3 จัดเตรียม ร้อยละ 80

เครื่องมือ 4. ผทู้ ี่

ในการจดั ทา เก่ียวขอ้ งหรอื
ระบบ
สารสนเทศ ผู้ทีร่ บั บริการ
เพอ่ื เอื้อให้การ ขอ้ มลู ระบบ
จัดทา สารสนเทศ มี
ระบบ ความพงึ พอใจ
สารสนเทศให้ ไม่นอ้ ยกวา่
ไดร้ ับ ร้อยละ 80

ความสะดวก

รวดเรว็

คมู่ อื การปฏิบัตงิ านระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา หนา้ 19

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มกี ารจดั การข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทันตอ่

การใช้งาน

กระบวนการ วิธกี ารมาตรฐาน ตัวชี้วัด บันทึก สอดคล้องกับมาตรฐาน แหล่งข้อมลู

ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑโ์ รงเรยี น
พ.ฐ. สากล

และมีคณุ ภาพ 5. ข้อมลู

เช่น ระบบ

คอมพวิ เตอร์ สารสนเทศท่ี

ปริ้นเตอร์ ได้มีการ

กระดาษ ฯลฯ นาไปใชไ้ ม่

2. การ นอ้ ยกว่าร้อย

ดาเนนิ งานตาม ละ 80

แผน D

2.1

คณะกรรมการ

ระบบสารสนเทศ

จดั รวบรวม

ข้อมูล

ท่ผี า่ นการ

วิเคราะหแ์ ลว้ มา

จดั ทาเปน็ ระบบ

สารสนเทศ

2.2 จัดทาใน

ระบบเครือข่าย

คอมพวิ เตอร์ ,

รูปเลม่ เอกสาร

สารสนเทศ

โรงเรียน , การ

เผยแพร่การตอบ

ข้อมลู ทว่ั ไป

2.2 เผยแพร่

และใหบ้ ริการ

ในระบบ

เครือข่าย

คอมพวิ เตอร์

, เผยแพรเ่ ป็น

รูปเลม่ เอกสาร

สารสนเทศ

โรงเรยี น ,

เผยแพรก่ ารตอบ

ข้อมลู ท่วั ไป

ค่มู อื การปฏิบัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวทิ ยา หนา้ 20

วิธีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มกี ารจัดการข้อมูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลุมและทนั ต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วธิ กี าร ตวั ชว้ี ดั บนั ทกึ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน แหลง่ ข้อมลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์โรงเรยี น
พ.ฐ. สากล

3.

ประเมินผล

การดาเนนิ งาน

C

3.1

ประเมินผลการ

ดาเนนิ การ

จดั ทาระบบ

สารสนเทศ

การพงึ พอใจ

ต่อขอ้ มลู ระบบ

สารสนเทศทไี่ ด้

เผยแพร่และ

ให้บรกิ ารท้ังใน

ลกั ษณะ

ระบบเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ ,

รปู เลม่ เอกสาร

สารสนเทศ

โรงเรยี น ,

การตอบขอ้ มลู

ทว่ั ไป

4. นาผลการ

ประเมนิ มา

พฒั นา

ปรบั ปรงุ A

4.1 นาผลทไี่ ด้

จากการ

ประเมนิ การ

ดาเนินการ

จัดทาระบบ

สารสนเทศมา

แกไ้ ข

ปรับปรงุ เพอื่

พฒั นาต่อไป

คู่มอื การปฏิบตั ิงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวัชรวิทยา หนา้ 21

วธิ ีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนุน : ระบบสารสนเทศ มกี ารจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลุมและทนั ตอ่

การใชง้ าน

กระบวนการ วิธกี าร ตวั ชว้ี ดั บันทกึ สอดคล้องกบั มาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรียน

1. วางแผน P - ระบบ

1.1. 1. มกี าร 1. แบบ 8.1- 10,11,12 8.1- สารสนเทศ
คณะกรรมการ
สารสนเทศ เผยแพร่ บันทกึ 8.6 8.6
วางแผนการ สารสนเทศถึง สถิติการเยยี่ ม
6. เผยแพร่ เผยแพร่ บุคลากรใน ชมเวบ็ ไซต์
สารสนเทศ

สารสนเทศ โรงเรียนและ ระบบงาน

เพอ่ื เปน็ นอกโรงเรยี น สารสนเทศ
ประโยชนใ์ น ไม่นอ้ ยกวา่ เวบ็ ไซต์
การวางแผน ร้อยละ 80 โรงเรยี นวัชรวิ
ของผู้บรหิ าร 2. ผูท้ ่ี ทยาและแบบ
และการ เกี่ยวขอ้ งหรอื บนั ทกึ ข้อมลู
ตัดสินใจ ผู้ท่ีรับข้อมลู การส่ง sms
อกี ทัง้ ยังใชเ้ ป็น

ขอ้ มูลเพือ่ การ ระบบ โรงเรยี น
แลกเปล่ียน สารสนเทศ มี 2. แบบ
เรยี นรขู้ อง ความพึงพอใจ ประเมินความ
บคุ ลากร ไมน่ อ้ ยกวา่ พงึ พอใจการ
ในโรงเรียนและ ร้อยละ 80 รับสารสนเทศ
นอกโรงเรียน 3.ผู้ที่เก่ียวขอ้ ง 3.
1.2

คณะกรรมการ หรือผ้ทู ี่รบั แบบสอบถาม
สารสนเทศ ข้อมลู ระบบ การใช้ขอ้ มลู
จัดแบ่งหนา้ ท่ี สารสนเทศใน
การเผยแพร่ สารสนเทศ มี การตัดสนิ ใจ
สารสนเทศ
อยา่ งเปน็ การนาขอ้ มลู
สารสนเทศไป

ขน้ั ตอนและเปน็ ใช้ในการ

ระบบ ตดั สนิ ใจ ไม่
1.3 จัดเตรียม น้อยกว่ารอ้ ย
เคร่ืองมอื ละ 80
ในการเผยแพร่

ขอ้ มูล

สารสนเทศ

เพอ่ื เอื้อให้

ผู้ใช้งาน

สารสนเทศให้

ไดร้ บั

สารสนเทศที่

รวดเร็ว ตรง

ตามความ

ตอ้ งการ

ค่มู อื การปฏิบตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา หนา้ 22

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนับสนุน : ระบบสารสนเทศ มกี ารจดั การขอ้ มูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทนั ต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วิธีการมาตรฐาน ตัวชว้ี ัด บันทึก สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน แหลง่ ข้อมูล

ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์โรงเรยี น
พ.ฐ. สากล

2. การ

ดาเนินงานตาม

แผน D

2.1

คณะกรรมการ

ระบบสารสนเทศ

เผยแพร่

สารสนเทศ

ทีผ่ า่ นการ

วเิ คราะหแ์ ลว้

มาแลว้ ทาง

เวบ็ ไซตโ์ รงเรียน

2.2

คณะกรรมการ

ระบบสารสนเทศ

เผยแพร่

สารสนเทศ

ท่ผี ่านการ

วเิ คราะห์แล้ว

มาแลว้ ทางระบบ

sms ของ

โรงเรยี น

คูม่ อื การปฏบิ ัติงานระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา หนา้ 23

วธิ ีการมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนุน : ระบบสารสนเทศ มีการจดั การข้อมูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลุมและทนั ตอ่

การใช้งาน

กระบวนการ วธิ กี าร ตัวช้ีวดั บนั ทึก สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑโ์ รงเรยี น
พ.ฐ. สากล

3.

ประเมินผล

การ

ดาเนินงาน C

3.1

ประเมินผล

การดาเนนิ รับ

บรกิ ารข้อมลู

สารสนเทศ

ทางเวบ็ ไซต์

โรงเรียน

3.2

ประเมนิ ผล

การดาเนินรบั

บรกิ ารข้อมลู

สารสนเทศ

ทางทางระบบ

sms ของ

โรงเรยี น

4. นาผลการ

ประเมินมา

พัฒนา

ปรับปรุง A

4.1 นาผลที่

ได้จากการ

ประเมนิ การ

เผยแพร่

สารสนเทศมา

แกไ้ ข

ปรบั ปรงุ เพอ่ื

พฒั นาต่อไป

คู่มือการปฏบิ ตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวิทยา หนา้ 24

วิธกี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอยา่ งครอบคลุมและทนั ตอ่

การใช้งาน

กระบวนการ วธิ กี าร ตวั ช้วี ัด บันทกึ สอดคล้องกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเร็จ/ มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์ พ.ฐ. สากล
โรงเรยี น

7.สรปุ 1. วางแผน P 1. ข้อมูลใน 1. แบบ - ระบบ

ประเมนิ 1.1 การนามา รายงาน 8.1- 10,11,12 8.1- สารสนเทศ

รายงานผล คณะกรรมการ เขยี นรายงาน การ 8.6 8.6

ระบบ ไมน่ อ้ ยกว่า ดาเนินงาน

สารสนเทศ ร้อยละ 80 ของ

จัดเตรยี ม 2. มีผลการ ระบบ

รวบรวมข้อมลู ประเมิน สารสนเทศ

ในการเขยี น ตวั ชี้วัดและ

รายงาน เกณฑท์ ่ี

2. การ กาหนดใน

ดาเนนิ งานตาม คูม่ อื ระบบไม่

แผน D นอ้ ยกว่าร้อย

2.1 เขียน ละ 80

รายงานการ

ดาเนนิ งาน

ระบบ

สารสนเทศ

2.2 จดั ทา

รูปเลม่

2.3 รายงาน

ผลการ

ดาเนินงานของ

งานสารสนเทศ

3. ประเมนิ ผล

การดาเนินงาน

C

3.1 สรปุ ผล

การประเมิน

ตามตัวชี้วดั และ

เกณฑท์ ่ีกาหนด

ในคมู่ ือระบบ

ค่มู อื การปฏิบตั งิ านระบบสารสนเทศ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา หนา้ 25

วธิ กี ารมาตรฐานระบบสารสนเทศ

ระบบสนบั สนนุ : ระบบสารสนเทศ มกี ารจัดการขอ้ มูลสารสนเทศอย่างครอบคลมุ และทนั ต่อ

การใชง้ าน

กระบวนการ วธิ ีการ ตัวช้ีวัด บันทึก สอดคล้องกับมาตรฐาน แหลง่ ขอ้ มลู

มาตรฐาน ความสาเรจ็ / มาตรฐาน ส. ส.ม.ศ. ม.
เกณฑ์โรงเรียน
พ.ฐ. สากล

4. นาผลการ

ประเมินมา

พัฒนา

ปรับปรุง A

4.1 สรปุ

รายงานผล

การ

ดาเนนิ งาน

ระบุจดุ เดน่

จดุ ด้อย และ

จุดทค่ี วร

พัฒนาเพือ่

เป็นแนวทาง

ในการพฒั นา

ต่อไป


Click to View FlipBook Version