The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-14 08:34:14

2562-2

2562-2

2-2-17

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/ท้องถน่ิ

กษะกระบวนการ P คุณลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถ่นิ /
อาเซยี น/พอเพยี ง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คุณลักษณะอยา่ งไร

นทกั ษะ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ • วัตถุทีเ่ คล่ือนทีเ่ ป็นวงกลม

กษะกระบวนการทาง 1. ความซอ่ื สตั ย์ หรอื ส่วนของวงกลมเรยี กว่า

ทยาศาสตร์ 2. ความมุง่ มน่ั อดทน วตั ถุน้นั มกี ารเคลอ่ื นที่แบบ

การวัด (คาบการ 3. ความรอบคอบ วงกลม ซ่ึงมีแรงลัพธ์ทกี่ ระทา

กว่งของวัตถุ) 4. ความอยากรู้อยากเหน็ กับวตั ถใุ นทศิ เขา้ ส่ศู นู ยก์ ลาง

การทดลอง เรียกว่า แรงส่ศู ูนยก์ ลาง ทา

การใช้จานวน ใหเ้ กิดความเรง่ สู่ศูนย์กลางท่ี

ริมาณต่าง ๆ ที่ มขี นาดสมั พันธ์กับรศั มีของ

ยวขอ้ ง การเคลือ่ นทีแ่ ละอตั ราเรว็ เชิง

บการเคลอ่ื นทแ่ี บบ เส้นของวตั ถซุ ่ึงแรงสู่

กลม) ศนู ยก์ ลางคานวณไดจ้ าก

การจัดกระทาและ สมการ

อความหมายข้อมลู • นอกจากนีก้ ารเคลือ่ นทีแ่ บบ

ขยี นกราฟที่เก่ยี วข้อง วงกลมยังสามารถอธิบายได้

บแรงสศู่ ูนย์กลาง ดว้ ยอัตราเรว็ เชิงมุม ซง่ึ มี

มกี ารเคลอื่ นท่ีและ ความสมั พนั ธ์กบั อตั ราเรว็ เชิง

บ) เสน้ ตามสมการ v = ωr และ
การตีความหมาย
แรงส่ศู ูนย์กลางมี
อมลู และลงขอ้ สรปุ
ความสมั พนั ธก์ ับอัตราเร็ว
ารสรุปผลการ
เชิงมมุ ตามสมการ Fc =
ดลอง)

ทกั ษ

1. ก
สาร
รเู้ ท
(กา
แล
2. ค
ทา
ภา

ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 2-2-18

การส่ือสาร mω2r
รสนเทศและการ • ดาวเทียมที่โคจรในแนว
ทา่ ทนั สอื่ วงกลมรอบโลกมแี รงดงึ ดูดท่ี
ารอภปิ รายรว่ มกัน โลกกระทาตอ่ ดาวเทยี มเปน็
ละการนาเสนอผล) แรงสูศ่ นู ยก์ ลางดาวเทยี มที่มี
ความรว่ มมอื การ วงโคจรค้างฟา้ ในระนาบของ
างานเปน็ ทมี และ เส้นศนู ยส์ ูตรมคี าบการโคจร
าวะผ้นู า เทา่ กับคาบการหมนุ
รอบตัวเองของโลก หรอื มี
อัตราเร็วเชงิ มมุ เทา่ กับ
อัตราเร็วเชิงมมุ ของตาแหน่ง
บนพน้ื โลก ดาวเทียม
จงึ อยตู่ รงกบั ตาแหนง่ ที่
กาหนดไว้บนพ้นื โลก
ตลอดเวลา



2-2-19

2-3-1

2.3 คำอธบิ ำยรำยวิชำ

2-3-2

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพมิ่ เติม

รำยวิชำ ฟสิ ิกส์ 2 รหัสวิชำ ว30202 กลุม่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์
ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ่ี 4 ภำคเรยี นท่ี 1 เวลำ 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษา วเิ คราะห์ ทดลอง อธิบาย สารวจตรวจสอบ อธิบาย และคานวณเก่ียวกบั สมดุลกล
ของวตั ถุ โมเมนต์และผลรวมของโมเมนตท์ ี่มีตอ่ การหมุน แรงค่คู วบและผลของแรงคูค่ วบท่ีมีต่อสมดุล
ของวตั ถเุ ขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุอิสระเมื่อวตั ถอุ ยูใ่ นสมดลุ กล และคานวณปริมาณตา่ ง
ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องรวมท้งั ทดลองและอธิบายสมดลุ ของแรงสามแรง สภาพการเคลื่อนทขี่ องวตั ถเุ มอ่ื แรงที่
กระทาต่อวตั ถผุ า่ นศนู ย์กลางมวลของวัตถุ และผลของศนู ย์ถว่ งทม่ี ตี ่อเสถียรภาพของวตั ถุ งานของแรง
คงตัว จากสมการและพื้นท่ีใต้กราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งแรงกับตาแหนง่ รวมทงั้ อธบิ าย และคานวณ
กาลงั เฉลี่ย พลงั งานจลน์ พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ทดลองหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานกับพลังงาน
จลน์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งงานกบั พลังงานศกั ยโ์ น้มถ่วง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขนาดของแรงทใ่ี ชด้ งึ
สปรงิ กบั ระยะท่สี ปริงยดื ออกและความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุน่ รวมทัง้ อธบิ าย
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานของแรงลัพธแ์ ละพลังงานจลน์ และคานวณงานท่เี กิดขนึ้ จากแรงลัพธ์ กฎการ
อนรุ ักษ์พลงั งานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การเคลื่อนทขี่ องวตั ถุ
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ โดยใชก้ ฎการอนุรกั ษพ์ ลงั งานกล การทางาน ประสทิ ธิภาพและการไดเ้ ปรยี บ
เชงิ กลของเคร่อื งกลอยา่ งง่ายบางชนิดโดยใชค้ วามรเู้ ร่อื งงานและสมดลุ กล รวมทงั้ คานวณ
ประสิทธิภาพและการไดเ้ ปรยี บเชงิ กล โมเมนตมั ของวัตถุและการดลจากสมการและพื้นท่ีใตก้ ราฟ
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งแรงลพั ธ์กบั เวลา รวมทัง้ อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงดลกบั โมเมนตมั
ปริมาณตา่ ง ๆ ที่เก่ียวกบั การชนของวัตถุในหน่ึงมิติ ทงั้ แบบยืดหยุ่น ไมย่ ดื หยนุ่ และการดดี ตวั แยกจาก
กันในหนง่ึ มิติซ่งึ เปน็ ไปตามกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตมั ปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการเคลือ่ นทแ่ี บบ
โพรเจกไทล์และทดลองการเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของ
การเคล่ือนที่อตั ราเร็วเชิงเสน้ อตั ราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคล่ือนท่แี บบวงกลมในระนาบ
ระดบั รวมท้งั คานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องและประยุกต์ใช้ความรกู้ ารเคล่อื นที่แบบวงกลมในการ
อธิบายการโคจรของดาวเทียม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ขอ้ มลู
และการอธิบาย ความสามารถในการใชท้ ักษะการคดิ ข้นั สูง ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใชท้ ักษะการสอ่ื สารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั ความสามารถในการแสวงหา
ความรู้ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเทยี บเคียง
มาตรฐานสากล

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ มีความสามารถใน
การตัดสนิ ใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน อย่างเหน็ คุณค่าตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสมตามคณุ ลักษณะของโรงเรยี น

สุจริต

2-3-3

ผลกำรเรียนรู้ วชิ ำ ฟิสกิ ส์ 1รหัสวชิ ำ ว30201 ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 1

1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์และผลรวมของโมเมนต์ทมี่ ีต่อการหมุน แรงคคู่ วบและ
ผลของแรงคคู่ วบทีม่ ีต่อสมดุลของวัตถเุ ขยี นแผนภาพของแรงทีก่ ระทาต่อวัตถุอสิ ระเม่ือวัตถุอยู่ใน
สมดลุ กล และคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องรวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง

2. สังเกต และอธบิ ายสภาพการเคลอ่ื นท่ีของวตั ถเุ ม่ือแรงท่ีกระทาตอ่ วัตถุผ่านศูนย์กลางมวล
ของวัตถุ และผลของศนู ย์ถ่วงท่มี ีตอ่ เสถียรภาพของวตั ถุ

3. วเิ คราะห์ และคานวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพ้นื ทใี่ ต้กราฟความสัมพันธ์
ระหว่างแรงกับตาแหน่ง รวมทงั้ อธบิ าย และคานวณกาลงั เฉลีย่

4. อธบิ ายและคานวณพลงั งานจลน์ พลงั งานศักย์ พลงั งานกล ทดลองหาความสัมพันธ์
ระหวา่ งงานกับพลังงานจลน์ ความสมั พันธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานศักยโ์ น้มถ่วง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
ขนาดของแรงท่ใี ช้ดึงสปริงกับระยะทีส่ ปรงิ ยืดออกและความสัมพันธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานศักย์
ยืดหยุ่น รวมท้งั อธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งงานของแรงลัพธแ์ ละพลงั งานจลน์ และคานวณงานที่
เกดิ ขนึ้ จากแรงลัพธ์

5. อธบิ ายกฎการอนุรักษ์พลงั งานกล รวมทั้งวเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง
กับการเคลอ่ื นท่ีของวตั ถใุ นสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใช้กฎการอนรุ กั ษ์พลังงานกล

6. อธบิ ายการทางาน ประสิทธิภาพและการได้เปรยี บเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด
โดยใชค้ วามรู้เรอื่ งงานและสมดลุ กล รวมทงั้ คานวณประสทิ ธภิ าพและการได้เปรยี บเชิงกล

7. อธิบาย และคานวณโมเมนตัมของวตั ถุและการดลจากสมการและพ้ืนที่ใตก้ ราฟ
ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงลพั ธ์กับเวลา รวมทงั้ อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงดลกับโมเมนตัม

8. ทดลอง อธบิ าย และคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวกบั การชนของวัตถุในหนึ่งมิติ ท้งั แบบ
ยดื หยนุ่ ไมย่ ืดหย่นุ และการดีดตัวแยกจากกนั ในหนงึ่ มิตซิ ึ่งเปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตมั

9. อธบิ าย วิเคราะห์ และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกับการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์
และทดลองการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์

10. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงสู่ศนู ยก์ ลาง รศั มีของการเคลือ่ นที่อัตราเร็ว
เชงิ เส้น อัตราเร็วเชงิ มมุ และมวลของวัตถุ ในการเคล่ือนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดบั รวมทัง้ คานวณ
ปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องและประยุกต์ใช้ความรู้การเคล่ือนทีแ่ บบวงกลมในการอธบิ ายการโคจรของ
ดาวเทียม

รวมทั้งหมด 10 ผลกำรเรยี นรู้

2-4-1

2.4 โครงสรา้ งรายวิชา

2-4-2

โครงสร้างหน่วยรายวชิ าฟิสิกส์ 2 รหสั วชิ า ว 30202

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 1.5 หน่วยกติ เวลารวม 60 ชวั่ โมง

หนว่ ยที่ ชอ่ื แผนการ ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั / เวลา น้าหนกั
คะแนน
เรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด (ช.ม.) 8

หน่วยท่ี 1 1.สภาพสมดลุ 1. อธบิ ายสมดุลกล • สมดลุ กลเปน็ สภาพท่ีวตั ถรุ ักษาสภาพการเคลื่อนที่ให้ 5 8
ของวตั ถุ โมเมนตแ์ ละ คงเดิมคือหยุดนงิ่ หรอื เคล่ือนท่ีดว้ ยความเร็ว
สมดลุ กล ผลรวมของโมเมนต์ที่ คงตัวหรือหมุนด้วยความเร็วเชงิ มุมคงตัว 9

มีตอ่ การหมุน แรงคู่ • วัตถจุ ะสมดลุ ตอ่ การเล่อื นท่ีคอื หยดุ นิ่งหรือเคล่ือนท่ี

ควบและผลของแรงคู่ ด้วยความเรว็ คงตวั เมือ่ แรงลัพธ์ทีก่ ระทาตอ่ วัตถุเปน็ ศูนย์

ควบท่ีมีตอ่ สมดุลของ เขยี นแทนไดด้ ว้ ยสมการ F=0

วัตถเุ ขียนแผนภาพ • วตั ถุจะสมดลุ ตอ่ การหมุนคือไม่หมุนหรอื หมุนดว้ ย

ของแรงท่กี ระทาตอ่ ความเร็วเชิงมมุ คงตัวเม่ือผลรวมของโมเมนต์ที่ M=0

วตั ถอุ ิสระเมอื่ วตั ถุอยู่ กระทาต่อวตั ถเุ ป็นศนู ยเ์ ขียนแทนได้ด้วยสมการโดย

ในสมดุลกล และ โมเมนต์คานวณได้จากสมการ M = Fl

คานวณปรมิ าณต่าง ๆ • เม่ือมีแรงคคู่ วบกระทาตอ่ วตั ถุ แรงลัพธ์จะเท่ากบั ศูนย์

ที่เกยี่ วข้องรวมท้ัง ทาให้วัตถุสมดุลตอ่ การเล่อื นท่ีแต่ไม่สมดลุ ต่อการหมุน

ทดลองและอธิบาย • การเขยี นแผนภาพของแรงท่กี ระทาตอ่ วัตถอุ สิ ระ

สมดลุ ของแรงสามแรง สามารถนามาใชใ้ นการพจิ ารณาแรงลพั ธ์และผลรวมของ

โมเมนต์ที่กระทาต่อวัตถุเมื่อวัตถุ

อยู่ในสมดุลกล

2.ทอร์กและ 1. อธบิ ายสมดุลกล • เม่อื ออกแรงกระทาต่อวตั ถทุ ่ีวางบนพื้นทีไ่ มม่ ีแรง
ของวัตถุ โมเมนตแ์ ละ
โมเมนตค์ ูค่ วบ ผลรวมของโมเมนต์ที่ เสยี ดทานในแนวระดับ ถ้าแนวแรงนัน้ กระทาผา่ น
มตี อ่ การหมุน แรงคู่ ศูนย์กลางมวลของวตั ถุ วตั ถจุ ะเคลอ่ื นที่
ควบและผลของแรงคู่ แบบเล่อื นที่โดยไม่หมุน
ควบท่มี ีตอ่ สมดุลของ • วตั ถุทีอ่ ยู่ในสนามโนม้ ถว่ งสม่าเสมอ ศูนย์กลางมวล
วัตถเุ ขยี นแผนภาพ และศนู ย์ถ่วงอย่ทู ต่ี าแหนง่ เดียวกนั ศูนย์ถว่ งของ
ของแรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถุมีผลต่อเสถียรภาพของวตั ถุ

วตั ถอุ ิสระเมอื่ วัตถอุ ยู่

ในสมดุลกล และ

คานวณปริมาณต่าง ๆ

ท่ีเกยี่ วขอ้ งรวมทง้ั

ทดลองและอธิบาย

สมดลุ ของแรงสามแรง

3.สภาพ 2. สังเกต และอธบิ าย • งานของแรงที่กระทาตอ่ วัตถหุ าได้จากผลคณู ของ 5
สภาพการเคลอ่ื นท่ี
ยดื หยุ่น ของวตั ถุเมือ่ แรงที่ ขนาดของแรงและขนาดของการกระจดั กับโคไซน์
กระทาต่อวัตถผุ ่าน ของมุมระหวา่ งแรงกบั การกระจดั ตามสมการ
ศนู ยก์ ลางมวลของ
วตั ถุ และผลของศูนย์ W = FΔxcosӨ หรือหางานไดจ้ ากพื้นทใี่ ต้กราฟ
ถ่วงทม่ี ตี อ่ เสถียรภาพ ระหวา่ งแรงในแนวการเคลื่อนทีก่ บั ตาแหนง่ โดยแรง
ของวัตถุ ที่กระทาอาจเปน็ แรงคงตัวหรือไมค่ งตัวกไ็ ด้
• งานทีท่ าได้ในหนง่ึ หน่วยเวลา เรยี กว่า กาลังเฉลยี่
ดงั สมการ P=w/t

2-4-3

หน่วยท่ี ชื่อแผนการ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ/ เวลา น้าหนกั
เรยี นรู้ (ช.ม.) คะแนน
หน่วยท่ี 2 ความคดิ รวบยอด 8
งานและ 4.งานและ 5
พลังงาน กาลัง 4. อธบิ ายและคานวณ • พลงั งานเป็นความสามารถในการทางาน 8
พลงั งานจลน์ พลงั งาน • พลังงานจลน์เปน็ พลังงานของวตั ถุท่ีกาลังเคลือ่ นท่ี 5 9
5.พลังงานกล ศักย์ พลงั งานกล คานวณได้จากสมการ 5
ทดลองหา
6.กฏการ Ek = mv2
อนรุ กั ษ์ ความสัมพันธ์ระหว่าง
พลงั งาน งานกบั พลงั งานจลน์ • พลงั งานศกั ยเ์ ปน็ พลังงานทเี่ กย่ี วข้องกบั ตาแหนง่
ความสมั พันธร์ ะหว่าง หรือรูปรา่ งของวัตถุ แบง่ ออกเป็นพลงั งานศักย์โนม้
งานกบั พลังงานศกั ย์ ถ่วง คานวณไดจ้ ากสมการ Ep = mgh และ
โนม้ ถ่วง ความสัมพันธ์ พลงั งานศักยย์ ดื หยนุ่ คานวณได้จากสมการ E =
ระหว่างขนาดของแรง kx2
ท่ีใช้ดงึ สปรงิ กับระยะ • พลังงานกลเปน็ ผลรวมของพลังงานจลน์ และ

ที่สปรงิ ยดื ออกและ พลังงานศกั ย์ตามสมการ
ความสัมพันธ์ระหว่าง E = Ek + EP
งานกบั พลังงานศักย์ • แรงที่ทาใหเ้ กิดงานโดยงานของแรงนนั้ ไม่ขน้ึ กบั

ยืดหยนุ่ รวมท้ัง เส้นทางการเคล่อื นท่ี เช่น แรงโน้มถว่ งและแรงสปริง
อธบิ ายความสัมพันธ์ เรยี กวา่ แรงอนุรกั ษ์
ระหวา่ งงานของแรง
ลพั ธ์และพลังงานจลน์ • งานและพลังงานมคี วามสัมพนั ธก์ ัน โดยงานของ
และคานวณงานที่ แรงลัพธเ์ ทา่ กบั พลังงานจลน์ของวตั ถุท่เี ปลยี่ นไป
ตามทฤษฎีบทงาน-พลังงานจลน์ เขยี นแทนได้
เกดิ ข้ึนจากแรงลพั ธ์
ด้วยสมการ W = ΔEk

5. อธิบายกฎการ • ถ้างานที่เกิดขนึ้ กบั วัตถเุ ปน็ งานเน่ืองจากแรง
อนุรกั ษพ์ ลงั งานกล อนุรักษ์เท่านน้ั พลงั งานกลของวัตถุจะคงตวั ซึง่
รวมท้งั วิเคราะห์ และ
คานวณปรมิ าณต่าง ๆ เปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษพ์ ลงั งานกล เขียนแทนได้
ท่เี กี่ยวขอ้ งกับการ ดว้ ยสมการ Ek + Ep = คา่ คงตวั
เคลอื่ นท่ขี องวัตถุใน โดยท่พี ลงั งานศักย์อาจเปล่ียนเปน็ พลงั งานจลน์
สถานการณต์ า่ ง ๆ • กฎการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานกลใชว้ ิเคราะหก์ ารเคลือ่ นท่ี
โดยใชก้ ฎการอนรุ ักษ์ ตา่ ง ๆ เช่น การเคลื่อนทขี่ องวัตถุท่ตี ิดสปรงิ การ
พลงั งานกล เคลื่อนทีภ่ ายใตส้ นามโน้มถว่ งของโลก

6. อธิบายการทางาน • การทางานของเครอื่ งกลอยา่ งงา่ ย ไดแ้ ก่ คาน รอก
ประสิทธิภาพและการ พนื้ เอียง ลิม่ สกรู และลอ้ กับเพลา ใช้หลกั ของงาน
ได้เปรยี บเชงิ กลของ
เครอื่ งกลอย่างง่าย และสมดลุ กลประกอบการพจิ ารณาประสทิ ธภิ าพ
บางชนิดโดยใช้ความรู้ และการไดเ้ ปรียบเชงิ กลของเครื่องกลอยา่ งงา่ ย
เรอื่ งงานและสมดลุ กล ประสทิ ธภิ าพคานวณไดจ้ ากสมการ
รวมทั้งคานวณ Efficiency = W out / W in x 100%
ประสิทธภิ าพและการ การไดเ้ ปรยี บเชงิ กลคานวณได้จากสมการ M.A. =
ไดเ้ ปรียบเชงิ กล W out / W in

2-4-4

หนว่ ยที่ ชือ่ แผนการ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ/ เวลา น้าหนกั
เรียนรู้ (ช.ม.) คะแนน
หน่วยท่ี 3 ความคดิ รวบยอด 8
โมเมนตัม 7.โมเมนตมั 5
และการชน 7. อธิบาย และ • วตั ถุทเ่ี คลือ่ นทจ่ี ะมโี มเมนตมั ซึ่งเป็นปรมิ าณ 8
5
คานวณโมเมนตัม เวกเตอรม์ ีค่าเทา่ กับผลคณู ระหว่างมวลและความเรว็ 9
5
ของวัตถแุ ละการดล ของวัตถุ ดังสมการ p = mv

จากสมการและพ้ืนท่ี • เมื่อมแี รงลัพธ์กระทาต่อวัตถุจะทาใหโ้ มเมนตัมของ

ใต้กราฟ วตั ถุเปล่ยี นไป โดยแรงลัพธเ์ ท่ากบั อัตราการเปลี่ยน

ความสัมพนั ธ์ โมเมนตมั ของวัตถุ

ระหว่างแรงลพั ธก์ บั • แรงลัพธ์ท่กี ระทาตอ่ วตั ถใุ นเวลาส้นั ๆ เรยี กว่า แรง

เวลา รวมท้งั ดลโดยผลคณู ของแรงดลกบั เวลา เรียกวา่ การดล

อธบิ ายความสมั พันธ์ ตามสมการ I =Ft

ระหวา่ งแรงดลกับ ซง่ึ การดลอาจหาไดจ้ ากพนื้ ทีใ่ ตก้ ราฟระหว่างแรงดล

โมเมนตมั กบั เวลา

8.การดลและ 8. ทดลอง อธิบาย • ในการชนกันของวัตถุและการดดี ตวั ออกจากกัน
แรงดล
และคานวณปรมิ าณ ของวตั ถใุ นหน่งึ มิติ เมอ่ื ไมม่ แี รงภายนอกมากระทา

ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วกับ โมเมนตัมของระบบมีค่าคงตวั ซง่ึ เป็นไปตามกฎการ

การชนของวัตถใุ น อนรุ กั ษ์โมเมนตัม เขยี นแทนไดด้ ้วย

หนึ่งมติ ิ ท้ังแบบ สมการ pi = pf

ยดื หยนุ่ ไมย่ ืดหยุน่ โดย pi เป็นโมเมนตมั ของระบบกอ่ นชน

และการดดี ตวั แยก และ pf เป็นโมเมนตัมของระบบหลังชน

จากกนั ในหน่งึ มติ ิ • ในการชนกันของวตั ถุ พลงั งานจลนข์ องระบบอาจ

ซงึ่ เป็นไปตามกฎ คงตวั หรอื ไมค่ งตวั ก็ได้ การชนทีพ่ ลงั งานจลนข์ อง

การอนรุ กั ษ์ ระบบคงตัวเป็นการชนแบบยดื หยนุ่ ส่วนการชน

โมเมนตัม ท่พี ลังงานจลนข์ องระบบไมค่ งตวั เป็นการชนแบบไม่

ยืดหยนุ่

9.การชน 8. ทดลอง อธบิ าย • ในการชนกนั ของวัตถแุ ละการดดี ตวั ออกจากกัน

และคานวณปรมิ าณ ของวตั ถใุ นหนงึ่ มิติ เม่อื ไมม่ ีแรงภายนอกมากระทา

ตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วกบั โมเมนตมั ของระบบมีค่าคงตวั ซงึ่ เปน็ ไปตามกฎการ

การชนของวตั ถใุ น อนรุ ักษ์โมเมนตัม เขียนแทนไดด้ ้วย

หน่ึงมติ ิ ทั้งแบบ สมการ pi = pf

ยดื หยุน่ ไม่ยืดหยุ่น โดย pi เปน็ โมเมนตมั ของระบบกอ่ นชน

และการดีดตวั แยก และ pf เปน็ โมเมนตมั ของระบบหลงั ชน

จากกนั ในหนึ่งมติ ิซึ่ง • ในการชนกนั ของวัตถุ พลงั งานจลนข์ องระบบอาจ

เป็นไปตามกฎการ คงตวั หรือไมค่ งตวั กไ็ ด้ การชนท่พี ลงั งานจลนข์ อง

อนุรักษ์ ระบบคงตัวเปน็ การชนแบบยดื หยนุ่ ส่วนการชน

โมเมนตัม ท่ีพลงั งานจลนข์ องระบบไมค่ งตัวเป็นการชนแบบไม่

ยดื หย่นุ

2-4-5

หนว่ ยที่ ชื่อแผนการ ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั / เวลา นา้ หนกั

เรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด (ช.ม.) คะแนน

หนว่ ยท่ี 4 10.การ 9. อธบิ าย วเิ คราะห์ • การเคล่อื นทแ่ี นวโค้งพาราโบลาภายใต้สนามโนม้ 7 12

การ เคล่ือนที่แบบ และคานวณปรมิ าณ ถ่วง โดยไม่คดิ แรงตา้ นของอากาศเป็นการเคลอ่ื นที่

เคลื่อนที่ โปรเจกไทล์ ต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง แบบโพรเจกไทล์ วตั ถุมกี ารเปลยี่ นตาแหน่งใน

แนวโคง้ กับการเคล่ือนท่ีแบบ แนวดง่ิ และแนวระดบั พร้อมกันและเป็นอิสระตอ่ กนั

โพรเจกไทล์ สาหรบั การเคลอื่ นท่ีในแนวด่ิงเปน็ การเคลื่อนท่ที มี่ ี

และทดลองการ แรงโน้มถ่วงกระทาจึงมีความเร็วไม่คงตวั ปรมิ าณ

เคลอื่ นท่แี บบ ตา่ ง ๆ มคี วามสัมพนั ธ์

โพรเจกไทล์ ตามสมการ

vy = uy + ayt

v = u + 2ayΔy

สว่ นการเคลอื่ นที่ในแนวระดับไมม่ แี รงกระทาจึงมี

ความเรว็ คงตวั ตาแหนง่ ความเรว็ และเวลามี

ความสมั พนั ธต์ ามสมการ Δx = uxt

11.การ 10. ทดลอง และ • วัตถุท่เี คลอ่ื นทเ่ี ปน็ วงกลมหรอื สว่ นของวงกลม 8 13

เคลือ่ นท่ีแบบ อธบิ ายความสมั พันธ์ เรียกว่า วตั ถนุ ัน้ มกี ารเคล่ือนทแ่ี บบวงกลม ซ่ึงมีแรง

วงกลม ระหว่างแรงสู่ ลพั ธ์ทกี่ ระทากับวัตถใุ นทศิ เข้าสศู่ นู ยก์ ลางเรยี กวา่

ศนู ยก์ ลาง รัศมีของ แรงสู่ศูนย์กลาง ทาใหเ้ กดิ ความเรง่ สู่ศนู ย์กลางทมี่ ี

การเคลือ่ นท่ี ขนาดสมั พนั ธ์กับรัศมีของการเคลอ่ื นที่และอัตราเรว็

อตั ราเรว็ เชิงเส้น เชิงเสน้ ของวัตถุซึ่งแรงสศู่ นู ยก์ ลางคานวณได้จาก

อัตราเร็วเชงิ มมุ และ สมการ

มวลของวัตถุ ในการ • นอกจากน้กี ารเคล่ือนท่ีแบบวงกลมยังสามารถ

เคลอื่ นที่แบบวงกลม อธิบายได้ด้วยอตั ราเรว็ เชิงมมุ ซงึ่ มีความสมั พนั ธ์กับ

ในระนาบระดับ อัตราเร็วเชงิ เสน้ ตามสมการ v = ωr และ
รวมท้งั คานวณ แรงสศู่ ูนย์กลางมีความสัมพนั ธก์ ับอัตราเรว็ เชงิ มมุ
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี ตามสมการ Fc = mω2r
เกี่ยวข้องและ
• ดาวเทียมท่โี คจรในแนววงกลมรอบโลกมีแรงดงึ ดดู
ประยุกต์ใช้ความรู้ ที่โลกกระทาต่อดาวเทยี มเป็นแรงสูศ่ ูนยก์ ลาง
การเคล่อื นท่แี บบ ดาวเทยี มทีม่ ีวงโคจรคา้ งฟ้าในระนาบของเส้นศนู ย์
วงกลมในการ
สตู รมคี าบการโคจรเท่ากับคาบการหมุน
อธบิ ายการโคจรของ รอบตัวเองของโลก หรอื มีอัตราเรว็ เชิงมมุ เทา่ กบั
ดาวเทียม
อัตราเรว็ เชงิ มมุ ของตาแหนง่ บนพนื้ โลก ดาวเทยี ม

จึงอยตู่ รงกบั ตาแหนง่ ทกี่ าหนดไวบ้ นพ้นื โลก

ตลอดเวลา

รวมระหวา่ งภาค 80

ปลายภาค 20

รวม 100

2.5 แบบบนั ทึกการออกแบบห
กิจกรรมตามตัวชี้ว

2-5-1

หนว่ ยการเรียนรู้/การออกแบบ
วัด/(โครงการสอน)

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะหก์ จิ กรร
สาระการเรยี นร

วชิ าฟสิ ิกส์ 1 รหสั วิชา ว30
สาระฟิสกิ ส์
1 เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสกิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนท่แี นวตรงแรง

สมดลุ กลของวัตถุ งาน และกฎการอนรุ ักษพ์ ลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุร

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นกั เรยี น ประเภท
รูอ้ ะไร ตัวชีว้ ดั

1. อธิบายสมดลุ กลของวตั ถุ ดา้ นทักษะ ด้านความรู้ ความรู้ (K)
โมเมนต์และผลรวมของ ทักษะกระบวนการทาง 1. เมือ่ แรงลัพธ์ท่ีกระทาต่อวัตถุ กระบวนการ
โมเมนต์ท่มี ีต่อการหมุน แรง วทิ ยาศาสตร์ เป็นศนู ยว์ ัตถุ (P)
คู่ควบและผลของแรงคู่ควบ เจตคติ (A)
ที่มตี ่อสมดุลของวัตถุ 1. การสงั เกต (แรงที่กระทาต่อ จะอยู่ในสมดุลตอ่ การเลอื่ นท่ี
เขยี นแผนภาพของแรงที่ วตั ถเุ มื่อวัตถุอยใู่ นสมดลุ กล) และเมื่อผลรวมโมเมนตท์ ่ี
กระทาตอ่ วัตถอุ สิ ระเมือ่ วัตถุ 2. การวดั (การอ่านค่าแรงจาก กระทาตอ่ วตั ถุเป็นศนู ยว์ ตั ถุจะ
อยใู่ นสมดลุ กล และคานวณ เครือ่ งชงั่ สปรงิ ) อยใู่ นสมดลุ ตอ่ การหมุน
ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 3. การใช้จานวน (หาแรงและ 2. การแสดงแรงท่ีกระทาต่อ
รวมทัง้ ทดลองและ โมเมนต์ของแรงเมื่อวัตถุอยู่ใน วัตถุทาได้โดยการ
อธิบายสมดลุ ของแรงสาม
แรง สมดลุ กล) เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทา
4. การทดลอง ต่อวัตถุอสิ ระและใช้หาแรงท่ี
5. การจดั กระทาและสอ่ื กระทาต่อวัตถทุ ่อี ย่ใู นสมดุลกล
ความหมายข้อมูล(การเขียน 3. เมือ่ มแี รงคู่ควบกระทาตอ่
เวกเตอร์แทนแรงและการรวม วัตถุ แรงลัพธข์ องแรงค่คู วบนน้ั
เวกเตอร์) จะเป็นศนู ย์ ทาให้วตั ถสุ มดลุ

6. การตีความหมายและลงขอ้ สรุป ตอ่ การเลอื่ นท่ี แต่ไม่สมดลุ ตอ่
(เก่ยี วกับสมดลุ กลของวัตถุ การ การหมนุ
อภปิ รายเก่ยี วกบั แรงคคู่ วบ) 4. เมอ่ื มแี รงคคู่ วบหลายคู่
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 กระทาต่อวัตถุแลว้
1. การสอ่ื สารสารสนเทศและการ ทาใหว้ ตั ถสุ มดุลต่อการหมุน
รูเ้ ทา่ ทนั สือ่ (การอภปิ รายรว่ มกัน ผลรวมโมเมนต์ของแรงค่คู วบ

และการนาเสนอผล) เปน็ ศนู ย์
2. ความรว่ มมอื การทางานเปน็

2-5-2

รมการจัดการเรียนรตู้ ามตัวชีว้ ัด
รู้ วิทยาศาสตร์
0201 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4

งและกฎการเคลอ่ื นที่ของนวิ ตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสยี ดทาน
รักษโ์ มเมนตัม การเคลือ่ นทแี่ นวโคง้ รวมทงั้ นาความร้ไู ปใชใ้ นประโยชน์

สมรรถนะสาคญั คณุ ลกั ษณะ แนวทางการจัด แนวการวดั
ของผูเ้ รียน อันพึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมินผล

1. ความสามารถใน ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ 1. นาเข้าสู่บทเรียน โดย ด้านความรู้
การสื่อสาร 1. ความซือ่ สัตย์ 1. สมดลุ กล สมดลุ สถติ
2.ความสามารถใน 2. ความมุ่งม่นั อดทน ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่ สมดลุ จลน์ สมดลุ ตอ่ การ
การคิด 3. ความรอบคอบ เกย่ี วข้องกบั สมดุลต่อ
3. ความสามารถใน การเลอื่ นทีข่ องวัตถุ และ เลือ่ นทีส่ มดลุ ตอ่ การหมุน
การแกป้ ัญหา เขียนแผนภาพของแรงท่ี และโมเมนต์ของแรง จาก
กระทาต่อวัตถอุ ิสระ การเขยี นผงั มโนทศั น์ การ
ใหน้ กั เรยี นอภิปรายรว่ มกัน อภปิ รายร่วมกนั การทา
แบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ
จนสรุปไดว้ ่าแรงลัพธท์ ่ี 2. สมดุลกล การเขยี น
กระทาตอ่ วตั ถุเป็นศนู ย์
จากน้ันใหค้ วามรูเ้ กีย่ วกับ แผนภาพของแรงท่ีกระทา
สมดุลตอ่ การเล่ือนท่ีซ่ึงมที ้ัง ต่อวตั ถอุ สิ ระ เม่อื วัตถุอยู่ใน
สมดลุ สถติ ย์สถิตและ สมดุลกล จากการทา
สมดลุ จลน์ แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
3. แรงค่คู วบ จากการสรปุ
2. ให้นักเรียนทดลอง เพ่ือ การทาแบบฝกึ หดั และ
ศึกษาสมดุลของแรงสามแรง
จากน้นั ใหน้ ักเรยี น แบบทดสอบ
อภปิ รายรว่ มกนั จนสรปุ ได้ 4. ผลของแรงคู่ควบทม่ี ตี อ่
ว่าวัตถุทีส่ มดลุ ต่อการเลือ่ นท่ี สมดลุ ของวัตถุ จากการสรุป
แนวแรง การทาแบบฝกึ หดั และ
แบบทดสอบ
ทง้ั สามต้องพบกนั ท่ีจดุ หน่งึ ดา้ นทกั ษะ
และแรงลพั ธ์ที่กระทาตอ่ วัตถุ 1. การสังเกต การวัด การ
มคี า่ เป็นศูนย์ ทดลอง การจดั กระทาและ
3. อภปิ รายร่วมกนั เพอ่ื
ทบทวนความรู้เกี่ยวกบั ส่ือความหมายข้อมลู การ

ทมี และภาวะผ้นู า

2-5-3

โมเมนต์ โดยใหน้ กั เรยี น ตคี วามหมายขอ้ มูลและ

ยกตวั อย่างสถานการณ์ ลงขอ้ สรปุ ความร่วมมอื การ
โมเมนตท์ ี่มผี ลตอ่ การหมุน ทางานเป็นทมี และ
เชน่ การใชแ้ รงผลัก ภาวะผู้นา จากการอภิปราย
ประตทู ต่ี าแหนง่ ตา่ งๆ รว่ มกนั การทาการทดลอง
จากนัน้ อภิปรายรว่ มกนั และรายงานผลการทดลอง
เกย่ี วกบั การหาโมเมนต์ 2. การสอื่ สารสารสนเทศ

ในสถานการณ์ตา่ งๆ ซงึ่ และการรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ จากการ
เปน็ ไปตามสมการ อภิปรายร่วมกันและการ
4. ให้นักเรยี นยกสถานการณ์ นาเสนอผล
เกย่ี วกบั สมดลุ ตอ่ การหมุน 3. การใชจ้ านวน ในการหา
และอภปิ รายร่วมกนั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้อง
จนสรุปได้วา่ วัตถุจะสมดุล กบั สมดลุ กล จากรายงานผล

ต่อการหมุนเม่ือผลรวม การทดลอง การทา
โมเมนตเ์ ป็นศูนย์ แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
5. ใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกับสมดลุ ด้านจติ วิทยาศาสตร์
กลวา่ วตั ถุอาจจะอยู่ใน 1. ความซือ่ สัตย์และความ
สมดลุ ตอ่ การเลอื่ นทหี่ รอื รอบคอบ จากรายงาน
สมดลุ ตอ่ การหมนุ ในกรณที ่ี ผลการทดลอง
2. ความมุ่งมั่นอดทน จาก
วตั ถอุ ยใู่ นสมดุลท้ังสองแบบ การทาการทดลองและ
จดั เป็นสมดุลสมบูรณ์
6. ยกสถานการณเ์ ก่ียวกบั การอภปิ รายรว่ มกนั
สมดุลกล และใหน้ กั เรยี น
เขียนแผนภาพของแรง
ที่กระทาต่อวัตถอุ สิ ระ

อภิปรายร่วมกันและนาเสนอ
ผล
7. ยกตัวอย่างสถานการณ์
เกี่ยวกบั แรงคูค่ วบ เช่น การ
หมนุ พวงมาลัยรถยนต์
ขณะเลย้ี วโค้ง หรอื การบดิ

ลูกบดิ ประตู จากนั้นให้
นักเรียนอภปิ รายร่วมกัน
เก่ยี วกบั แรงในการหมนุ
พวงมาลยั รถยนต์ หรอื แรงท่ี
ใช้บิดลกู บิด และ
นาเสนอผล

8. อภปิ รายร่วมกนั จนสรปุ
ไดว้ ่าแรงคู่ควบเกดิ จากแรง



2-5-4

สองแรงท่มี ีขนาดเทา่ กนั

กระทาตอ่ วตั ถุในทศิ ทางตรง
ขา้ มและแนวแรงขนานกนั
9. ตงั้ คาถามเก่ียวกับผลของ
แรงค่คู วบทมี่ ีตอ่ สมดลุ ของ
วตั ถุ จากน้นั อภปิ ราย
รว่ มกันจนสรุปได้ว่าแรงคู่

ควบทาให้วัตถุสมดลุ ต่อการ
เล่ือนท่ี แต่ไม่สมดุล
ต่อการหมนุ เนือ่ งจากมี
โมเมนต์ของแรงคคู่ วบ
เป็นไปตามสมการ
โดยมีค่าไม่ขนึ้ กับจดุ หมุน

10. ยกสถานการณ์เก่ยี วกบั
สมดุลของวตั ถุทีม่ ีแรงคูค่ วบ
กระทา และให้นกั เรยี น
เขียนแผนภาพของแรงที่
กระทาต่อวตั ถุอิสระ เพอ่ื
นามาอธิบายสมดุล

ของวัตถุ จากนนั้ อภปิ ราย
ร่วมกันจนสรุปไดว้ ่า เมอ่ื มี
แรงค่คู วบหลายคู่
กระทาต่อวตั ถุ แล้วทาให้
วัตถุสมดลุ ต่อการหมนุ
ผลรวมโมเมนตข์ อง

แรงคคู่ วบเป็นศูนย์
11. ยกตวั อย่างการคานวณ
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
กับสมดุลกล แรงคคู่ วบ
โดยใหน้ ักเรียนรว่ มกนั เสนอ
แนวคดิ และหลกั การในการ

แกป้ ัญหา
12. ใหน้ ักเรยี นยกตัวอย่าง
การนาความรเู้ รื่องสมดลุ กล
และแรงคคู่ วบไปใช้
ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั
13. ใหน้ กั เรยี นสรุป เพื่อ

ตรวจสอบความรคู้ วามเข้าใจ

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นกั เรยี น ประเภท
รอู้ ะไร ตัวชีว้ ัด

2. สงั เกต และอธบิ ายสภาพ ดา้ นทกั ษะ ดา้ นความรู้ ความรู้ (K)
การเคลอ่ื นที่ของวัตถุเมอื่ ทักษะกระบวนการทาง 1. ศูนยก์ ลางมวลเป็นจดุ ที่ กระบวนการ
แรงท่กี ระทาต่อวตั ถผุ ่าน วทิ ยาศาสตร์ (P)
ศนู ยก์ ลางมวลของวตั ถุ และ 1. การสังเกต (ตาแหน่งของ เสมือนเปน็ ทรี่ วมมวล เจตคติ (A)
ผลของศนู ยถ์ ่วงทีม่ ีต่อ ศนู ย์กลางมวลและ ของวัตถทุ ั้งกอ้ น อาจอยูภ่ ายใน
เสถยี รภาพของวตั ถุ ศนู ย์ถ่วงของวัตถุ) หรอื ภายนอก
2. การตีความหมายข้อมลู และลง วตั ถกุ ็ได้ เมื่อออกแรงกระทา
ขอ้ สรปุ (จากการ ผา่ นศนู ย์กลางมวล
ทากิจกรรม) ของวัตถุ ทาใหว้ ัตถุมีการเลือ่ น
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21
1. การสอ่ื สารสารสนเทศและการ ทโ่ี ดยไม่หมุน
รเู้ ทา่ ทนั สื่อ แต่ถ้าแนวแรงท่กี ระทาต่อวัตถุ
(การอภิปรายร่วมกนั และการ ไมผ่ า่ นศนู ยก์ ลาง
นาเสนอผล) มวลของวัตถุ วัตถุจะเกิดการ
2. ความร่วมมือ การทางานเปน็ หมนุ
2. ศนู ยถ์ ว่ งของวัตถุเปน็ จุดที่
ทีมและภาวะผู้นา
เสมือนเปน็ ตาแหนง่
ท่ีรวมน้าหนักของวัตถุ ถา้ สนาม
โนม้ ถว่ งมคี ่า
สม่าเสมอศูนยก์ ลางมวลกับ
ศนู ยถ์ ว่ งจะเปน็
ตาแหน่งเดยี วกนั

3. ตาแหนง่ ของศนู ย์ถว่ งมีผล
ตอ่ เสถียรภาพของวัตถุ

2-5-5

สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวดั
ของผู้เรยี น อันพึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความสามารถใน ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ 1. นาเขา้ สู่บทเรียน โดยให้ ด้านความรู้
การส่อื สาร ความอยากรอู้ ยากเหน็ นกั เรยี นออกแรงผลกั วตั ถุที่ ศูนย์กลางมวล และศนู ยถ์ ่วง
2.ความสามารถใน ตาแหนง่ ท่ที าให้วัตถุ
การคิด เลอ่ื นท่โี ดยไมห่ มนุ แลว้ ของวัตถุรปู ทรงใด ๆ
3. ความสามารถใน ลากเสน้ แนวแรงบนวตั จากการนาเสนอชน้ิ งาน การ
การแก้ปญั หา ถนุ นั ้ จากนัน้ ทาซ่าโดยออก สรุป การทาแบบฝกึ หัด
และแบบทดสอบ
แรงหลาย ๆ แนวท่ที าให้วัตถุ ดา้ นทกั ษะ
เล่ือนท่ไี ปโดยไม่หมนุ
อภิปรายร่วมกัน จนสรุป การสงั เกต การสอ่ื สาร
ได้ว่าแนวแรงเหล่านัน้ จะมา สารสนเทศและการรเู้ ท่าทนั
ตดั กันที่ตาแหน่งหนึ่ง โดยให้
ความรู้เพ่มิ เติม สอื่
ความรว่ มมอื การทางานเป็น
ว่าตาแหน่งน้นั เรียกวา่ ทีมและภาวะผูน้ า และการ
ศูนยก์ ลางมวล ตีความหมายขอ้ มูลและลง
2. ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับวตั ถุ ขอ้ สรปุ จากการ
แข็งเกรง็ ตาแหนง่ ของ ทากิจกรรมและการอภิปราย
ศูนย์กลางมวลจะอยู่ท่ี
ตาแหน่งเดิมตลอด ซ่งึ อาจ ร่วมกัน
ด้านจติ วิทยาศาสตร์
อยู่ภายในหรือภายนอกวตั ถุ
ก็ได้ เมือ่ ออกแรง ความอยากรอู้ ยากเห็น จาก
กระทาผา่ นศูนย์กลางมวล การอภิปรายร่วมกันและ
วตั ถุจะมกี ารเลอ่ื นที่โดยไม่ การทากิจกรรม
หมุน แตถ่ ้าแนวแรง
ทก่ี ระทาต่อวัตถุไม่ผา่ น

ศนู ยก์ ลางมวล วตั ถจุ ะเกิด
การหมุน
3. ใหน้ ักเรียนทากิจกรรม
เก่ยี วกับการหาศนู ย์ถ่วงของ
วตั ถุ โดยการนาวัตถุ
รปู ทรงใด ๆ มาแขวน

จากนนั้ ลากเสน้ ตามแนวเส้น
เชือก ทาซา้ โดยเปลีย่ น
ตาแหนง่ ที่แขวนวัตถุ สังเกต
อภิปรายรว่ มกัน จนสรุปได้



2-5-6

วา่ เม่อื เปลย่ี น

จดุ แขวนวัตถุ แนวแรงดงึ ดูด
ของโลกทีก่ ระทาต่อวัตถจุ ะ
ตดั กันท่ีจดุ หนงึ่ ซึ่งเสมอื นว่า
นา้ หนกั รวมของวัตถุท้ังหมด
จะอยู่ทจี่ ุดตัดของแนวแรง
และแรงดึงดูดของโลกต้อง

กระทาผา่ นจดุ นี้ไมว่ า่ จะ
แขวนวัตถุในตาแหน่งใด
ก็ตาม เรยี กตาแหน่งน้ีวา่
ศูนย์ถว่ งของวัตถุ
4. ให้ความรวู้ ่า ในกรณี
สนามโน้มถว่ งมคี า่ สมา่ เสมอ

ทว่ั ปริมาตรของวตั ถุ
ศนู ยก์ ลางมวลกับศูนยถ์ ว่ งจะ
อยู่ที่ตาแหน่งเดียวกนั แต่ถ้า
วตั ถมุ ีขนาดใหญ่
จนทาใหแ้ ต่ละสว่ นของวตั ถุ
นนั้ อยูใ่ นสนามโน้มถ่วงทม่ี คี ่า

ไม่สม่าเสมอ
ศนู ย์ถว่ งและศูนยก์ ลางมวล
จะอย่คู นละตาแหน่งกนั
5. ใหน้ ักเรียนทากิจกรรม
เก่ียวกบั เสถียรภาพของวัตถุ
โดยออกแรงกระทา

ตอ่ วัตถทุ ี่มีความสูงใหว้ ัตถุ
ขยบั หมุนหรือเอยี งไปจาก
เดิมเล็กนอ้ ย สังเกต
ระดับของศนู ย์ถ่วงท่ี
เปล่ยี นไปจากเดิม อภปิ ราย
ร่วมกนั จนสรุปไดว้ ่า

หากศนู ย์ถ่วงสูงขนึ้ กวา่ ระดบั
เดมิ วัตถุจะอยใู่ นสมดุล
เสถยี ร ถ้าศนู ย์ถ่วง
ตา่ กว่าระดบั เดิมวัตถุอยู่ใน
สมดลุ ไมเ่ สถียร และถา้ ศูนย์
ถว่ งอย่รู ะดับเดิม

วัตถุจะอยู่ในสมดลุ สะเทิน
6. ยกสถานการณ์ เช่น



2-5-7

รถบรรทุกผลผลติ ทาง

การเกษตร รถโดยสารสอง
ชั้น
อภิปรายรว่ มกนั เกีย่ วกบั
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างศนู ย์
ถ่วงของวัตถุกับ
เสถยี รภาพของวัตถุ จนสรปุ

ไดว้ า่ วตั ถุทม่ี ีศนู ย์ถว่ งต่าจะ
มเี สถยี รภาพ
มากกว่าวัตถทุ ี่มศี ูนย์ถ่วงสูง
7. ใหน้ กั เรยี นยกตวั อย่างการ
นาความรู้เรื่องศนู ยก์ ลางมวล
และศนู ยถ์ ว่ งไปใช้ประโยชน์

ในชีวิตประจาวัน
8. ให้นกั เรยี นสรุป เพ่ือ
ตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจ

ผลการเรยี นรู้ นกั เรียนทาอะไรได้ นักเรียน ประเภท
ร้อู ะไร ตัวชี้วดั

3. วิเคราะห์ และคานวณ ด้านทักษะ ด้านความรู้ ความรู้ (K)
งานของแรงคงตวั จาก ทกั ษะกระบวนการทาง 1. เมอ่ื มีแรงคงตวั กระทาต่อ กระบวนการ
สมการและพื้นทใ่ี ต้กราฟ วทิ ยาศาสตร์ วตั ถุแล้วทาใหว้ ัตถุ (P)
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงกบั 1. การตีความหมายขอ้ มลู และลง เคล่ือนทจ่ี ะเกดิ งาน โดยหางาน เจตคติ (A)
ตาแหน่ง รวมทั้งอธบิ าย ข้อสรปุ (การหางานจากพ้ืนท่ใี ต้ ได้จากความ
และคานวณกาลงั เฉลี่ย กราฟ)
2. การใชจ้ านวน (หางานจาก สัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของแรง
สมการหรือพ้นื ท่ใี ต้กราฟ) และขนาดของ
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 การกระจดั ในแนวเดียวกันหรือ
1. การสื่อสารสารสนเทศและการ หาไดจ้ าก
รู้เทา่ ทนั ส่ือ พน้ื ท่ใี ต้กราฟระหว่างแรงและ
(การอภปิ รายรว่ มกันและการ การกระจดั
นาเสนอผล)
2. ความร่วมมอื การทางานเปน็ 2. งานท่ีทาในหนึ่งหนว่ ยเวลา
เปน็ ปริมาณท่ี
ทีมและภาวะผู้นา บ่งบอกกาลัง

2-5-8

สมรรถนะสาคัญ คณุ ลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวัด
ของผู้เรียน อันพึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความสามารถใน ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ 1. นาเข้าสู่บทเรียน โดยการ ด้านความรู้
การสอ่ื สาร ความอยากรู้อยากเหน็ ทบทวนความรเู้ กยี่ วกบั งาน
2.ความสามารถใน ในความหมายของ งานและกาลัง จากการสรปุ
การคิด การทาแบบฝึกหดั และ
3. ความสามารถใน วิชาฟสิ กิ ส์ จากนน้ั แบบทดสอบ
การแก้ปญั หา ยกตัวอย่างเก่ียวกบั งานใน ดา้ นทกั ษะ
กรณีทีแ่ รงขนานกับแนวการ
เคลอ่ื นทแ่ี ละแรงทามมุ กับ 1. การสื่อสารสารสนเทศ
แนวการเคล่อื นทีข่ องวัตถุ
แลว้ ตั้งคาถามว่างาน และการร่เู ท่าทนั สือ่
ความรว่ มมอื
ในกรณีทัง้ สองมีคา่ แตกต่าง การทางานเป็นทีมและภาวะ
กนั หรอื ไม่ อย่างไร ให้ ผู้นา การตคี วามหมาย
นกั เรยี นอภิปรายร่วมกนั ข้อมูลและลงข้อสรุป จาก
และนาเสนอผล การอภิปรายรว่ มกนั และ
2. ให้ความรู้และอภปิ ราย
ร่วมกนั เกี่ยวกับการหางาน การนาเสนอผล
2. การใชจ้ านวน ในการหา
เนือ่ งจากแรงคงตวั ปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ทก่ี ระทาต่อวัตถุใหเ้ คล่อื นท่ี กับงานและกาลัง จากการทา
ในแนวตรง จนสรปุ ได้ แบบฝึกหดั และ
ความสัมพันธร์ ะหว่างงาน แบบทดสอบ
กบั แรงและการกระจัดที่อยู่ ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์
ในแนวเดียวกนั ตามสมการ ความอยากรู้อยากเหน็ จาก

3. ใหค้ วามร้แู ละอภปิ ราย การอภิปรายร่วมกนั
รว่ มกนั เก่ยี วกับการหางาน
จากพ้ืนท่ใี ตก้ ราฟ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงกับ
การกระจัด (โดยแรงและการ
กระจดั อยู่



2-5-9

ในแนวเดียวกนั )

4. ยกสถานการณก์ ารทางาน
ทมี่ ปี รมิ าณงานเท่ากันแตใ่ ช้
เวลาต่างกัน จากน้ัน
ใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง กาลัง
อภปิ รายร่วมกัน จนสรปุ ได้
ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง

กาลังเฉล่ยี กับงานและเวลา
ตามสมการ
5. ยกตัวอยา่ งการคานวณ
ปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
กบั งานและกาลังเน่ืองจาก
แรงคงตวั โดยให้นกั เรียน

ร่วมกันเสนอแนวคิดและ
หลักการในการแกป้ ญั หา
6. ใหน้ กั เรียนสรปุ เพ่อื
ตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจ

ผลการเรยี นรู้ นักเรียนทาอะไรได้ นักเรยี น ประเภท
รอู้ ะไร ตวั ช้ีวัด

4. อธิบายและคานวณ ด้านทกั ษะ ดา้ นความรู้ ความรู้ (K)
พลังงานจลน์ พลังงานศกั ย์ ทักษะกระบวนการทาง 1. พลังงานจลน์เป็นพลงั งาน กระบวนการ
พลังงานกล ทดลองหา วทิ ยาศาสตร์ (P)
ความสัมพันธร์ ะหว่างงานกบั 1. การวัด (ระยะห่างระหว่างจดุ ของวัตถทุ กี่ าลงั เจตคติ (A)
พลังงานจลน์ ความสมั พันธ์ บนแถบกระดาษและค่าทีอ่ ่านได้ เคลือ่ นที่ พลงั งานศกั ย่เ ปน็
ระหวา่ งงานกับพลังงานศกั ย์ จากเครอื่ งช่ังสปรงิ ) พลงั งานท่ีเ กยี ่ วขอ้ ง
โน้มถ่วง ความสมั พนั ธ์ 2. การใชจ้ านวน (ปรมิ าณตา่ ง ๆ กับตาแหนง่ หรอื รูปรา่ งของ
ระหว่างขนาดของแรงท่ีใช้ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับพลังงานจลน์ วัตถุ ผลรวมของ
ดงึ สปริงกับระยะทส่ี ปรงิ ยืด พลังงานศักย์โนม้ ถว่ งและ พลังงานจลน์และพลงั งานศักย์
ออกและความสัมพนั ธ์ พลังงานศกั ยย์ ืดหยนุ่ )
ระหว่างงานกบั พลังงานศกั ย์ 3. การทดลอง เรียกว่าพลังงานกล
ยดื หยนุ่ รวมทั้งอธิบาย 4. การจดั กระทาและส่ือ 2. งานและพลงั งานมี
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งงาน ความหมายข้อมูล ความสมั พันธก์ นั โดยงาน
ของแรงลัพธ์และพลังงาน (การเขยี นกราฟความสมั พันธท์ ี่ ทีท่ ามีผลทาให้วตั ถมุ กี าร
จลน์ และคานวณงานที่ เกี่ยวขอ้ งกับแรง งานและ เปลย่ี นแปลงพลงั งาน
เกิดข้ึนจากแรงลพั ธ์ พลงั งาน) จลน์ พลงั งานศักยโ์ น้มถ่วง หรอื
5. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลง
ข้อสรุป(การสรุปผลการทดลอง) พลงั งานศกั ยย์ ดื หยนุ่
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21
1. การสอ่ื สารสารสนเทศและการ
รู้เทา่ ทนั สื่อ
(การอภปิ รายร่วมกนั และการ
นาเสนอผล)
2. ความรว่ มมอื การทางานเป็น

ทีมและภาวะผู้นา

2-5-10

สมรรถนะสาคัญ คณุ ลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวัด
ของผูเ้ รียน อันพงึ ประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความสามารถใน ด้านจติ วิทยาศาสตร์ 1. นาเข้าสู่บทเรยี นโดยให้ ดา้ นความรู้
การสือ่ สาร 1. ความซื่อสตั ย์ ความรู้เก่ยี วกบั ความหมาย พลงั งานจลน์ พลงั งานศักย์
2.ความสามารถใน และทมี่ าของพลังงานจลน์
การคดิ 2. ความมงุ่ ม่นั อดทน พลงั งานศักยโ์ น้มถว่ ง โน้มถว่ ง พลังงานศักย์
3. ความสามารถใน 3. ความรอบคอบ พลงั งานศกั ยย์ ดื หยุ่นและ ยืดหยุน่ พลงั งานกลและ
การแกป้ ัญหา พลังงานกล จากน้ันรว่ มกัน ความสมั พันธร์ ะหว่างงาน
ของแรงลัพธก์ ับพลังงานจลน์
อภิปรายจนสรุปได้ จากการสรปุ การทา
ความสัมพนั ธ์ ตามสมการ แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
2. ให้นกั เรียนทดลองเพื่อ ด้านทักษะ
ศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
งานของแรงลพั ธแ์ ละ 1. การวัด การทดลอง การ
พลังงานจลน์ จากนนั้ ให้ จดั กระทาและสื่อความหมาย
ขอ้ มูล การตีความหมาย
นักเรยี นอภปิ รายร่วมกัน จน ข้อมลู และลงขอ้ สรุป
สรุปไดค้ วามสมั พนั ธ์ ความรว่ มมือ การทางานเป็น
ตามสมการ ทมี และภาวะผู้นา
(ในกรณที ่วี ัตถุเร่มิ เคลอื่ นที่
จากหยุดน่งิ และ เปน็ งาน จากการอภิปรายร่วมกันการ
ของแรงลัพธ์) ทาการทดลอง และ
รายงานผลการทดลอง
3. อภปิ รายร่วมกนั เกีย่ วกับ 2. การสือ่ สารสารสนเทศ
ความสมั พันธ์ระหว่างงาน และการรู้เทา่ ทนั สื่อ จากการ
ของแรงลัพธ์กบั การ อภิปรายและนาเสนอผล
เปลย่ี นแปลงพลังงานจลน์
จนสรุปไดท้ ฤษฎบี ทงาน- 3. ใช้จานวน ในการหา
พลงั งานจลน์ ดังนี้ ปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
กบั พลงั งานกล ได้แก่
4. ให้นักเรยี นทดลอง เพอื่ พลังงานจลน์ พลังงานศกั ย์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่ ง โน้มถว่ งและพลงั งานศักย์
งานและพลังงานศักยโ์ นม้ ยดื หยุ่น จากการทา
ถว่ ง จากนน้ั ใหน้ กั เรียน
อภิปรายรว่ มกนั จนสรปุ แบบฝกึ หัดและ
ไดค้ วามสมั พนั ธ์ตามสมการ แบบทดสอบ
ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
( เปน็ งานของแรงที่ใช้ดึงมวล
ใหเ้ ปลี่ยนระดบั ด้วยอัตราเร็ว ความซ่อื สตั ย์และความ
สมา่ เสมอ) รอบคอบ จากรายงานผล
5. ให้นกั เรยี นทดลองเพ่ือ การทดลอง
2. ความมุ่งมน่ั อดทน จาก



2-5-11

ศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง การทดลองและการอภปิ ราย
ร่วมกนั
ขนาดของแรงที่ใช้
ดึงสปรงิ และระยะทางท่ี
สปริงยดื ออก จากนนั้ ให้
นกั เรยี นอภิปรายร่วมกนั
เก่ยี วกับงานและพลังงาน
ศกั ยย์ ืดหยุน่ จนสรปุ ได้

ความสัมพันธ์ ตามสมการ
และ(เป็นงานของแรงทีใ่ ชด้ ึง
สปริงออกเปน็ ระยะ ดว้ ย
อัตราเรว็ สม่าเสมอ)
6. ใหค้ วามรู้เกีย่ วกับ
ความหมายของแรงอนรุ ักษ์

เช่น แรงโน้มถว่ ง แรงสปรงิ
อภิปรายร่วมกนั จนสรปุ ไดว้ ่า
แรงอนุรกั ษเ์ ปน็ แรงทที่ าให้
เกดิ งานที่ไม่ขึ้นกับ
เสน้ ทางการเคลอ่ื นที่
7. ยกตัวอยา่ งการคานวณ

ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้อง
กับงานและพลังงาน
โดยให้นักเรียนร่วมกันเสนอ
แนวคิดและหลกั การในการ
แก้ปญั หา
8. ให้นกั เรียนสรปุ เพื่อ

ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ

ผลการเรยี นรู้ นักเรียนทาอะไรได้ นักเรียน ประเภท
รูอ้ ะไร ตัวชว้ี ัด

5. อธบิ ายกฎการอนรุ กั ษ์ ด้านทักษะ ดา้ นความรู้ ความรู้ (K)
พลงั งานกล รวมทัง้ ทักษะกระบวนการทาง 1. เมอ่ื แรงทีก่ ระทาต่อวัตถเุ ปน็ กระบวนการ
วเิ คราะห์ และคานวณ วิทยาศาสตร์ (P)
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง 1. การวัด (ระยะห่างระหวา่ งจดุ แรงอนรุ ักษผ์ ลรวมของพลงั งาน เจตคติ (A)
กับการเคลอ่ื นท่ขี องวัตถใุ น บนแถบกระดาษ) ศักย์และพลงั งานจลน์ของวัตถุ
สถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยใช้กฎ 2. การใช้จานวน (คานวณปรมิ าณ ท่ีตาแหนง่ ใด ๆ มีคา่ คงตวั
การอนุรักษ์พลังงานกล ตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์
กบั การเคลือ่ นท่ีของวตั ถุใน พลงั งานกล
สถานการณ์ต่าง ๆ 2. การใชก้ ฎการอนุรักษ์
จากสมการ)
3. การตีความหมายข้อมลู และลง พลังงานกล อธบิ าย
ขอ้ สรปุ ปรมิ าณท่เี กี่ยวขอ้ งกับการ
(วเิ คราะห์จากแถบกระดาษ) เคล่อื นทข่ี องวัตถุ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในสถานการณ์ต่าง ๆ
1. การส่ือสารสารสนเทศและการ
ร้เู ท่าทนั สอื่
(การอภิปรายรว่ มกันและการ
นาเสนอผล)
2. ความร่วมมอื การทางานเป็น

ทีมและภาวะผนู้ า

2-5-12

สมรรถนะสาคญั คุณลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวัด
ของผเู้ รียน อนั พึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความสามารถใน ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ 1. นาเขา้ ส่บู ทเรียน โดยการ ด้านความรู้
การสอ่ื สาร ความอยากรู้อยากเห็น ยกตวั อย่างเหตุการณ์ที่ กฎการอนรุ กั ษ์พลงั งานกล
2.ความสามารถใน เก่ยี วกับกฎการอนุรกั ษ์
การคิด พลังงานกล เช่น การปลอ่ ย จากการสรปุ การเขียน
3. ความสามารถใน วัตถุทค่ี วามสูงตา่ งกนั แล้ว ผงั มโนทศั น์ การทา
การแกป้ ัญหา ตงั้ คาถามว่า แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
ดา้ นทกั ษะ
พลังงานจลน์และพลังงาน
ศกั ย์ของวัตถทุ ี่ตาแหน่งต่าง 1. การส่ือสารสารสนเทศ
ๆ เปลย่ี นแปลง และการรู่เ ทา่ ทนั สอื ่
อยา่ งไรใหน้ กั เรียนอภปิ ราย ความรว่ มมอื
รว่ มกนั และนาเสนอผล
2. นาแถบกระดาษทด่ี ึงผา่ น การทางานเปน็ ทีมและภาวะ
ผนู้ า การวดั และการ
เคร่ืองเคาะสญั ญาณเวลา ตีความหมายขอ้ มูลและลง
จากการปลอ่ ยวัตถุ ข้อสรปุ จากการสรุป การทา
ตกแบบเสรีมาวเิ คราะห์ เพื่อ กจิ กรรมและบนั ทกึ ผลการ
คานวณพลังงานศกั ย์โน้มถว่ ง ทากจิ กรรม
และพลังงานจลน์
ของวัตถุที่ตาแหน่งตา่ ง ๆ 2. ใชจ้ านวน ในการหา
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง
และอภปิ รายร่วมกันจนสรปุ กบั การเคลอื่ นทีข่ องวตั ถุ
ได้วา่ ผลรวมของ โดยใช้กฎการอนุรกั ษ์
พลงั งานศกั ย์โนม้ ถว่ งและ พลังงานกล จากบันทึกผล
พลงั งานจลนม์ ีค่าคงตัว การทากจิ กรรม การทา
3. ทบทวนความรู้เก่ียวกับ
แรงอนุรักษ์ อภปิ รายรว่ มกัน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์
จนสรุปได้วา่ เม่ือแรง
ทกี่ ระทาต่อวัตถุเป็นแรง ความอยากรู้อยากเหน็ จาก
อนรุ กั ษ์ ผลรวมของพลงั งาน การอภปิ รายร่วมกัน
ศักย์ และพลังงานจลน์
ของวัตถทุ ่ีตาแหน่งใด ๆ จะมี
ค่าคงตัว เปน็ ไปตามกฎการ

อนุรกั ษ์พลังงานกล
4. ยกตัวอยา่ งการคานวณ
ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
กบั การเคล่ือนทีข่ องวตั ถุ



2-5-13

ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้

กฎการอนรุ กั ษ์พลังงานกล
โดยใหน้ ักเรยี นร่วมกัน
เสนอแนวคดิ และหลักการใน
การแก้ปัญหา
5. ใหน้ ักเรียนสรปุ เพื่อ
ตรวจสอบความร้คู วามเขา้ ใจ

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นกั เรียน ประเภท
รู้อะไร ตัวชีว้ ดั

6. อธิบายการทางาน ด้านทักษะ ด้านความรู้ ความรู้ (K)
ประสทิ ธภิ าพและการได้ ทกั ษะกระบวนการทาง 1. หลักการทางานของ กระบวนการ
เปรยี บเชิงกลของเคร่ืองกล วิทยาศาสตร์ เครือ่ งกลอยา่ งง่ายบางชนิด (P)
อย่างง่ายบางชนดิ การใช้จานวน (ประสทิ ธิภาพและ อาศยั ความรเู้ กยี่ วกับงานและ เจตคติ (A)
โดยใช้ความรเู้ รือ่ งงานและ การไดเ้ ปรยี บเชิงกล) สมดลุ กล
สมดลุ กล รวมทัง้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 2. รอ้ ยละของอัตราส่วน
คานวณประสิทธิภาพและ การสอ่ื สารสารสนเทศและการ ระหวา่ งงานท่ไี ด้ต่องาน
การไดเ้ ปรยี บเชงิ กล ร้เู ทา่ ทันสอื่ ทีใ่ หแ้ ก่เคร่อื งกล เรียกว่า
(การอภปิ รายรว่ มกันและการ ประสิทธิภาพของ
เครื่องกลอยา่ งง่าย
นาเสนอผล) 3. อตั ราสว่ นระหว่างแรงทไ่ี ด้
กับแรงที่ให้ เรียกวา่
การได้เปรยี บเชงิ กลของ
เคร่ืองกล ซง่ึ เป็น
ปริมาณทีบ่ ง่ บอกถึงการผอ่ น
แรงหรือการ
อานวยความสะดวกของ

เคร่ืองกลชนิดนัน้

2-5-14

สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ แนวทางการจดั แนวการวัด
ของผู้เรยี น อนั พึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความสามารถใน ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ 1. นาเข้าส่บู ทเรียน โดยการ ด้านความรู้
การส่ือสาร 1. ความอยากรู้อยากเห็น อภปิ รายรว่ มกันเพ่อื ทบทวน หลักการทางานของเคร่อื งกล
2.ความสามารถใน เกย่ี วกับการทางาน
การคดิ 2. ความม่งุ มนั่ อดทน ของเครอื่ งกลอยา่ งง่ายบาง อยา่ งงา่ ยและ
3. ความสามารถใน 3. ความรอบคอบ ชนดิ ที่ใชค้ วามรู้เกย่ี วกบั งาน ประสิทธภิ าพของเคร่ืองกล
การแกป้ ัญหา และโมเมนต์ และ อยา่ งง่ายโดยใช้ความรู้
เรอื่ งงาน จากการสรุป การ
จากนน้ั ใหน้ กั เรียน ทาแบบฝึกหัดและ
ยกตัวอย่างเคร่ืองกลอย่าง แบบทดสอบ
ง่ายท่ใี ช้ความรเู้ กี่ยวกับงาน ดา้ นทกั ษะ
และโมเมนต์ในการอธิบาย
2. ให้ความรู้เก่ยี วกบั การใช้ 1. การใช้จานวน จากการทา
สมการอธบิ ายการทางาน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
2. การสื่อสารสารสนเทศ
ของเคร่อื งกล โดยใช้ และการรเู้ ท่าทนั ส่ือ จากการ
หลักของงานและสมดุลกล อภปิ รายรว่ มกนั และการ
กรณีทีไ่ มม่ ีแรงเสียดทาน แต่ นาเสนอผล
ในความเปน็ จรงิ ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์
จะมแี รงเสยี ดทานหรอื แรง ความอยากรู้อยากเห็น ความ
ตา้ นเข้ามาเก่ียวข้องเสมอ
รอบคอบ และความมุ่งมั่น
ทาให้งานท่ไี ด้จาก อดทน จากการอภปิ ราย
เคร่ืองกลน้อยกว่างานท่ี ร่วมกนั
ใหแ้ กเ่ ครือ่ งกล
3. ให้ความรูเ้ กยี่ วกับ
อัตราส่วนระหว่างงานท่ี
ได้รบั จากเคร่ืองกลกบั งานที่

ให้กับเครื่องกล ซงึ่ เรยี กว่า
ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งกล
จากนั้นยกสถานการณ์
การหาประสิทธิภาพของ
เครื่องกลบางชนดิ อภปิ ราย
ร่วมกนั จนสรุปได้ว่า

การบอกคา่ ของ
ประสิทธิภาพของเคร่อื งกล
บอกเป็นร้อยละของ
อัตราส่วน



2-5-15

ระหวา่ งงานท่ไี ด้ตอ่ งานที่

ให้แกเ่ ครอื่ งกล และมคี า่ น้อย
กวา่ 100 ตามสมการ
4. ต้งั คาถามเก่ียวกบั
ประสิทธิภาพของเคร่ืองกล
อย่างง่ายในชีวิตประจาวนั
จากน้ันใหน้ ักเรียนอภปิ ราย

ร่วมกนั และนาเสนอผล
5. ยกตวั อยา่ งเกยี่ วกับการ
คานวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกยี่ วขอ้ งกับประสิทธิภาพ
ของเครอื่ งกลอยา่ งง่าย โดย
ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั เสนอ

แนวคิดและหลกั การ
ในการแกป้ ญั หา
6. ให้ความรเู้ กย่ี วกับการ
ไดเ้ ปรยี บเชิงกลวา่ เปน็
ปริมาณทีไ่ ด้จากการ
เปรียบเทยี บ

ขนาดของแรงที่ได้จาก
เครอ่ื งกลกับปรมิ าณของแรง
ทกี่ ระทาต่อเครื่องกล
ใหน้ กั เรียนอภปิ รายรว่ มกนั
จนสรปุ ได้ว่าการได้เปรยี บ
เชงิ กล มคี วามสัมพนั ธ์

ตามสมการ
ในกรณที เ่ี ครือ่ งกลมี
ประสิทธภิ าพ 100%
จากนน้ั ใหน้ ักเรียน
ยกตวั อย่างเครือ่ งกลอยา่ ง
งา่ ยทสี่ ามารถผอ่ นแรงหรือ

อานวยความสะดวกในการ
ทางาน โดยพจิ ารณาจากคา่
การได้เปรยี บเชิงกล
7. ยกตวั อย่างการคานวณ
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
กบั เครอื่ งกลอย่างงา่ ย

และการได้เปรียบเชงิ กล โดย
ให้นกั เรียนรว่ มกันเสนอ



2-5-16

แนวคิดและหลักการ

ในการแก้ปัญหา
8. ให้นกั เรียนสรปุ เพื่อ
ตรวจสอบความร้คู วามเข้าใจ

ผลการเรยี นรู้ นกั เรียนทาอะไรได้ นักเรยี น ประเภท
รู้อะไร ตวั ชี้วดั

7. อธิบาย และคานวณโมเม ดา้ นทกั ษะ ดา้ นความรู้ ความรู้ (K)
นตมั ของวตั ถุและการดล ทักษะกระบวนการทาง 1. โมเมนตัมเป็นปรมิ าณท่ี กระบวนการ
จากสมการและพื้นที่ใต้ (P)
กราฟความสมั พันธ์ระหวา่ ง วทิ ยาศาสตร์ อธิบายการเคลื่อนท่ี เจตคติ (A)
แรงลัพธ์กับเวลา รวมท้ัง 1. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลง ของวัตถุ สาหรบั วัตถุหน่ึง
อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่าง ขอ้ สรุป (โดย โมเมนตัมมคี า่
แรงดลกบั โมเมนตัม อาศยั ความรู้จากกฎการเคล่อื นที่ ข้นึ กบั มวลและความเรว็
ของนวิ ตัน) 2. แรงลัพธ์ทก่ี ระทาต่อวตั ถุจะ
2. การใช้จานวน (ปรมิ าณต่าง ๆ ทาให้โมเมนตมั

ท่เี กยี่ วกบั โมเมนตมั ของวัตถุ การ ของวัตถเุ ปล่ียนแปลง โดยแรง
ดล และแรงดล) ลัพธ์ท่ีกระทาต่อวตั ถุในเวลาส้ัน
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ๆ เรียกวา่ แรงดล ซง่ึ หาได้
การสือ่ สารสารสนเทศและการ จากอัตราการเปล่ยี นโมเม
รู้เท่าทนั ส่อื (การอภิปรายรว่ มกนั นตัมของวัตถุ
และการนาเสนอผล) 3. การดลเป็นปรมิ าณท่บี ง่ บอก

การเปลย่ี นแปลง
โมเมนตมั ของวตั ถุ มี
ความสมั พนั ธ์กบั แรงดล
และเวลา และหาไดจ้ ากพ้นื ท่ีใต้
กราฟระหว่าง
แรงลัพธก์ บั เวลา

2-5-17

สมรรถนะสาคญั คณุ ลกั ษณะ แนวทางการจัด แนวการวัด
ของผู้เรยี น อนั พึงประสงค์ การเรยี นรู้ และประเมนิ ผล

1. ความสามารถใน ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ 1. นาเข้าสู่บทเรยี น โดยให้ ด้านความรู้
การสื่อสาร 1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ นกั เรียนปลอ่ ยวัตถุมวล 1. แรงทีใ่ ชใ้ นการหยุดวัตถทุ ี่
2.ความสามารถใน ต่างกนั ให้ตกกระทบมอื
การคิด 2. ความรอบคอบ จากระดับความสูงเดยี วกัน มีโมเมนตัมต่างกันจากการ
3. ความสามารถใน และปล่อยวัตถุชิ้นเดยี วกนั อภิปรายรว่ มกัน
การแกป้ ญั หา จากระดบั ความสูง 2. ผลของแรงลพั ธ์ท่ีมีต่อการ
ดลของวัตถุ จากการสรปุ
ต่างกนั ให้กระทบมือ การทาแบบฝึกหัดและ
เปรยี บเทียบแรงท่ใี ช้ในการ แบบทดสอบ
หยดุ วัตถุในแตล่ ะกรณี ดา้ นทักษะ
อภปิ รายรว่ มกนั และนาเสนอ
ผล 1. การสอ่ื สารสารสนเทศ
2. ให้ความรเู้ กยี่ วกบั โมเม และการรู้เทา่ ทนั สื่อ การตี
ความหมายข้อมูลและลง
นตัมของวัตถวุ ่าเปน็ ปริมาณ ขอ้ สรปุ จากการอภิปราย
ของการเคลอ่ื นท่ี ร่วมกันและการนาเสนอผล
ของวัตถุ มีความสัมพันธ์กบั 2. การใช้จานวน ในการหา
มวลและความเรว็ ตาม
สมการ ปริมาณต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง
3. ให้นักเรยี นใช้กฎการ กบั
โมเมนตัมของวตั ถุ แรงดล
เคล่ือนทีข่ ้อที่สองของนิวตัน การดลทั้งการใชส้ มการ
วิเคราะหแ์ ละอภปิ ราย และพื้นที่ใตก้ ราฟ จาก
รว่ มกนั เกย่ี วกบั การเคล่ือนท่ี แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ
ของวัตถุจนสรปุ ได้วา่ ผลของ ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
แรงลพั ธ์ที่ ความอยากรู้อยากเหน็ และ
กระทาต่อวตั ถจุ ะมี
ความรอบคอบ จากการ
ความสัมพันธก์ บั อตั ราการ อภิปรายรว่ มกัน
เปล่ยี นแปลงโมเมนตัม
ของวัตถุ ตามสมการ
ในกรณีทแ่ี รงลพั ธ์ทก่ี ระทา
ตอ่ วัตถใุ นช่วงเวลาสัน้ ๆ
เรียกว่า แรงดล

4. ใหค้ วามรเู้ กี่ยวกับการดล
วา่ เปน็ ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
แรงดลกบั เวลา ตาม
สมการ



2-5-18

หรือหาการดลจากพื้นที่ใต้

กราฟระหวา่ งแรงลพั ธ์กบั
เวลา
5. ให้นักเรียนใช้
ความสัมพันธร์ ะหว่างแรง
ลพั ธ์กับอัตราการ
เปลย่ี นแปลง

โมเมนตมั ของวตั ถวุ ิเคราะห์
และอภิปรายร่วมกนั จนสรุป
ได้วา่ การดล
มคี วามสัมพันธก์ บั การ
เปล่ียนแปลงโมเมนตัมตาม
สมการ

6. ยกสถานการณเ์ ก่ียวกบั
โมเมนตัม การดล และแรง
ดลท่ีพบในชวี ิตประจาวัน
จากน้ันให้นักเรียนอภิปราย
ร่วมกันและนาเสนอผล
7. ยกตัวอย่างการคานวณ

ปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วกบั
โมเมนตมั ของวัตถุ การดล
และแรงดล โดยใหน้ ักเรยี น
รว่ มกันเสนอแนวคิดและ
หลักการในการแก้ปญั หา
8. ให้นักเรยี นสรปุ เพือ่

ตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจ

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นกั เรยี น ประเภท
รอู้ ะไร ตวั ชว้ี ัด

8. ทดลอง อธิบาย และ ด้านทกั ษะ ดา้ นความรู้ ความรู้ (K)
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทกั ษะกระบวนการทาง 1. การชนกันของวัตถุและการ กระบวนการ
ท่ีเกยี่ วกบั การชนของวตั ถุใน วทิ ยาศาสตร์ (P)
หนงึ่ มติ ิ ท้ังแบบยืดหยุ่น ไม่ 1. การวดั (ระยะห่างระหว่างจุด ดดี ตัวแยกจากกันของวัตถุใน เจตคติ (A)
ยืดหยุน่ และการดีดตัวแยก บนแถบกระดาษ) แนวตรง เมอื่ ไม่มีแรงภายนอก
จากกันในหน่งึ มิติซึ่งเปน็ ไป 2. การใชจ้ านวน (ผลรวม กระทา โมเมนตัมรวมของระบบ
ตามกฎการอนุรักษ์ โมเมนตัมก่อนและหลังชนและ มีคา่ คงตัวซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการ
โมเมนตัม ผลรวมของพลังงานจลน์กอ่ น อนุรกั ษ์โมเมนตัม
และหลังชน) 2. การชนที่พลงั งานจลนร์ วม
3. การทดลอง
4. การตคี วามหมายขอ้ มูลและลง ของระบบคงตัวเป็นการชนแบบ
ข้อสรปุ (จากผลการทดลอง) ยืดหยนุ่ ส่วนการชนท่พี ลังงาน
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จลนร์ วมของระบบไม่คงตัวเป็น
1. การสอื่ สารสารสนเทศและการ การชนแบบไมย่ ืดหยนุ่
รเู้ ทา่ ทันสือ่
(การอภิปรายรว่ มกันและการ
นาเสนอผล)
2. ความรว่ มมือ การทางานเป็น

ทีมและภาวะผนู้ า


Click to View FlipBook Version