The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารสนเทศ ทดลอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-11 20:46:43

สารสนเทศ ทดลอง

สารสนเทศ ทดลอง

คํานาํ

โรงเรยี นวชั รวทิ ยา เปนสถานศึกษาทม่ี ีความพรอมครบครันทั้งทรัพยากรบุคคลทม่ี คี ุณภาพ ความพรอ มของ
นกั เรียน และผูปกครองนักเรยี นและกําลังจะกาวสคู วามเปน World Class Standard School และประชาคม
อาเซียน (Association of South East Asian Nations : ASEAN) ในป พ.ศ.2558 ดวยความรว มมือของทกุ ฝา ยจึง
ทาํ ใหโรงเรยี นประสพความสําเรจ็ เปนท่ปี รากฏชัดอยา งในปจจุบันได

กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวิทยาซง่ึ ประกอบดวยงานวางแผนงาน งานประกนั คุณภาพ
การศึกษา งานควบคุมภายใน และงานสารสนเทศ ถอื เปนกลไกในการขับเคลือ่ นการดําเนนิ งานของโรงเรยี นวัชรวิทยา
ใหเ ปน ไปดวยความเรยี บรอยและมีการพัฒนาอยา งตอเนอ่ื งเอกสารฉบับนจ้ี ะเปน แนวทางในการดาํ เนินงานและพัฒนางาน
ของกลุมงานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเพ่อื พรอ มเขา สูประชาคมอาเซยี นตอไป

นายสนุ ทร บญุ มี
หวั หนา กลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

โรงเรยี นวชั รวทิ ยา

สารบญั

 สารสนเทศพืน้ ฐานของโรงเรียนวัชรวิทยา...................................................................... 1
 กลุม งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา.................................................................................. 7

 งานแผนงาน...................................................................................................... 7
 งานประกนั คุณภาพ........................................................................................... 11
 งานควบคมุ ภายใน............................................................................................. 18
 งานสารสนเทศ................................................................................................... 23

คูมอื กลุมงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนวัชรวิทยา 1

ขอมลู สารสนเทศพื้นฐานของโรงเรียนวชั รวทิ ยา

โรงเรียนวัชรวิทยา อําเภอเมอื ง จงั หวดั กําแพงเพชรเปน โรงเรยี นมธั ยมศึกษาสงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต41 (กําแพงเพชร—พิจติ ร)กระทรวงศกึ ษาธิการ จัดการเรยี นการสอนแบบสหศกึ ษาโดยประกาศของ
กระทรวงศึกษาธิการเร่อื ง ตง้ั โรงเรยี นรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตง้ั ข้นึ เม่ือวันท่ี 26 เดอื นพฤษภาคม
พ.ศ. 2521 ในระยะแรกไดใชอ าคารสถานที่ ของโรงเรยี นวัดคูยาง อําเภอเมอื งกําแพงเพชร จงั หวดั กําแพงเพชร เปน สถาน
ท่เี รียนโดยมี นายสมรวม พูลเขียว อาจารยใ หญโรงเรียนวัดคยู าง มารกั ษาการในตําแหนงครูใหญโรงเรียนวัชรวทิ ยาอีก
ตําแหนง หนง่ึ ไดร บั โอนนกั เรียนมัธยมศึกษามัธยมศึกษาจากโรงเรียนวดั คูยาง จํานวนนักเรยี น 580 คน คร-ู อาจารย 17
คน นกั การภารโรง 2 คน โรงเรยี นวัชรวทิ ยา ตั้งอยเู ลขที่ 93 ถนนเทศบาล 2 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวดั
กาํ แพงเพชร หมายเลขโทรศัพท 055 711 901 หมายเลขโทรสาร 055 716 817 เวบ็ ไซต http://www.wr.ac.th
มเี นือ้ ทท่ี ้งั หมด 44 ไร 1 งาน 83 7/10 ตารางวา

โรงเรยี นวัชรวทิ ยา
เลขที่ 93 ถนนเทศบาล 2
ตําบลในเมือง อาํ เภอเมือง
จังหวัดกําแพงเพชร 62000
หมายเลขโทรศพั ท 055 711901
หมายเลขโทรสาร 055 716 817
เว็บไซต http://www.wr.ac.th

พ.ศ.2543 ไดรบั การคัดเลือกเปน ศนู ย สอวน. จังหวดั กําแพงเพชร มหาวิทยาลยั นเรศวร
พ.ศ.2544 โรงเรยี นแกนนําปฏิรูปการศึกษาดเี ดน กรมสามัญศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2544 ไดรบั การคดั เลือกใหเปน โรงเรียนนํารองการใชหลกั สตู รการศกึ ษา ข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ.2544 กรมวิชาการ ระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ.2545 โรงเรียนแกนนาํ ปฏริ ปู การศึกษาดเี ดน กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2545 ไดร บั คดั เลอื กเปน ศนู ยส ่ิงแวดลอ มศึกษา กรมสง เสริมคุณภาพสง่ิ แวดลอ ม
พ.ศ.2545 โครงการโรงเรยี นสขี าว ปลอดยาเสพติด จังหวดั กําแพงเพชร ศนู ยป องกันและปราบปรามยาเสพตดิ จังหวดั กาํ แพงเพชร
พ.ศ.2546 รางวลั ดเี ดน ระดบั เขตตรวจราชการ โครงการสานสายใยครแู ละศษิ ย เขตตรวจราชการท่ี 8 สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
พ.ศ.2546 ไดรับโลร างวลั ชนะเลศิ สถานศกึ ษาเขมแข็งเอาชนะยาเสพติดตามโครงการ “กําแพงเพชรนา อยเู ชดิ ชคู ุณธรรม”
พ.ศ.2546 ไดรบั รางวลั โรงเรียนพระราชทาน สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
พ.ศ.2546 ไดร บั โลรางวลั ชนะเลิศการปฏิบัติตามยุทธศาสตรพลงั แผนดินขจัดสิน้ ยาเสพตดิ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
พ.ศ.2546 โรงเรียนสงเสริมสุขภาพดเี ดน ดานอนามยั และสง่ิ แวดลอ ม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
พ.ศ.2547 ไดร ับแตง ต้ังใหเ ปน โรงเรียนตนแบบ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
พ.ศ.2547 โรงเรยี นสองภาษา (English Program) สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
พ.ศ.2547 ไดผ า นการรบั รองมาตรฐานสุขานา ใชในโรงเรยี นกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
พ.ศ.2548 โรงเรยี นสงเสรมิ สขุ ภาพเครอื ขาย (ตนแบบ) กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ.2549 รางวลั การพฒั นาการจดั การคุณภาพเชิงระบบจนไดวธิ ปี ฏบิ ตั ิท่เี ปน เลศิ (Best Practice) ในระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรียน
พ.ศ.2551 การพฒั นาการจัดการคณุ ภาพเชิงระบบจนไดว ิธปี ฏบิ ัติที่เปน เลศิ (Best Practice) ในระบบการเรยี นรู
พ.ศ.2551 โรงเรียนนํารองหลกั สตู รแกนกลางกลดั สูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ.2551
พ.ศ.2551 โรงเรียนดีใกลบาน ตนแบบในฝน
พ.ศ.2553 โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล

คูมือกลุมงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา 2

พระพทุ ธรปู ประจําโรงเรยี น พระพุทธวิสทุ ธโิ มลี ศรวี ัชรนิ ทร

สัญลกั ษณเปนรูปวชิราวุธ ลอ มรอบดวยชื่อโรงเรียนและปรัชญา ความหมายของตราประจําโรงเรยี น วชิราวธุ คอื
อาวธุ ของพระอินทรเปนรูปตรสี ามงา มซ่ึงแทนสายฟาฟาดบงั เกดิ เปน แสงสวางอนั เจดิ จาเปรียบเสมอื นความรคู อื แสง

สวางแหง ปญ ญา เราชาววัชรวิทยาจงึ เปนผูมีปญญาแข็งแกรง ประดจุ เพชร

“ สจฺจํเว อมตาวาจา ”
ทางไปสเู กียรตศิ ักดิอ์ ยทู คี่ วามซอ่ื สัตยแ ละจรงิ ใจตอกนั

ดอกไมประจําโรงเรยี น
ดอกเฟองฟา

ตนไมประจาํ โรงเรียน
ตน สตั ตบรรณ
สีประจาํ โรงเรยี น
ฟา - ชมพู

สีฟา เปน สีประจําวนั เกิดของโรงเรยี น คือวันศุกร ท่ี 26 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2521
หมายถึง ความรม เยน็ กวางขวาง สงู สง และกวา งไกล

สชี มพู เปนสคี ูมิตรกบั สีฟา หมายถึง ความรัก สุภาพ บรสิ ุทธ์ิ และนมุ นวล

คตพิ จน
ชือ่ เสียงดี ดนตรีดงั กีฬาเดน เนน ความรู เชิดชจู รยิ ะ

คูมอื กลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวทิ ยา 3

วสิ ยั ทศั น
(เริม่ ใช ตลุ าคม 2555)
มงุ ม่ันพัฒนาผูเรยี นสมู าตรฐานสากล โดยการจดั การเรียนรู
การบรหิ ารจดั การดว ยระบบคณุ ภาพและความรว มมือของภาคเี ครือขาย

พันธกิจ
1. สงเสริมและพฒั นาผเู รียนใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสพฐ.และเกณฑโ รงเรียนมาตรฐานสากล
2. สง เสรมิ และพฒั นาครูใหเ ปน ไปตามมาตรฐานวิชาชพี ครูสมู าตรฐานสากล
3. พฒั นาการบริหารจดั การดว ยระบบคุณภาพเพือ่ ความเปนเลศิ โดยเนน หลกั การกระจายอาํ นาจสูการ

เปน โรงเรียนมาตรฐานสากล
4. สง เสรมิ ใหชมุ ชนมีสว นรว มในการจัดการศึกษา

เปา ประสงค
1. นกั เรยี นไดเรียนรอู ยา งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสพฐ.และเกณฑโรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาไดรบั การพฒั นาตามมาตรฐานวชิ าชพี ครูสูมาตรฐานสากล
3. โรงเรยี นมีการบรหิ ารจดั การดว ยระบบคุณภาพ
4. สถานศกึ ษาเปน ทีย่ อมรับของชุมชน

กลยทุ ธ
1. ผเู รยี นมคี ุณภาพตามเกณฑม าตรฐานการศึกษาของ สพฐ. และเกณฑโ รงเรยี นมาตรฐานสากล
2. สงเสรมิ และพฒั นาครูใหเ ปน ไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครสู ูม าตรฐานสากล
3. การบรหิ ารจดั การดว ยระบบคณุ ภาพสูมาตรฐานสากล
4. ชุมชนเขม แขง็ โรงเรียนกาวไกล

คมู ือกลุมงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนวัชรวิทยา 4

โครงการ
กลยุทธท ่ี 1 ผเู รียนมีคณุ ภาพตามเกณฑม าตรฐานการศึกษาของ สพฐ. และเกณฑโ รงเรยี นมาตรฐานสากล
โครงการ 1.1 พัฒนาผูเรยี นใหสุขภาวะท่ีดีและมีสนุ ทรยี ภาพ (มาตรฐานที่ 1)
โครงการ 1.2 พัฒนาผเู รียนใหม ีคุณธรรมจรยิ ธรรม และคานิยมทพี่ ึงประสงค (มาตรฐานท่ี 2)
โครงการ 1.3 พฒั นาผูเรียนใหมีทักษะในการแสวงหาความรดู วยตนเอง รกั การเรียนรแู ละพฒั นา
ตนเองอยางตอเนอื่ ง (มาตรฐานที่ 3)
โครงการ 1.4 พัฒนาผูเรยี นใหม คี วาม สามารถในการคดิ อยางเปนระบบ คดิ สรางสรรคต ดั สินใจ
ในการแกปญหาไดอ ยา งสมเหตุสมผล (มาตรฐานที่ 4)
โครงการ 1.5 พฒั นาผูเ รยี นใหม ีความรแู ละทกั ษะทจ่ี ําเปน ตามหลกั สูตร (มาตรฐานที่ 5)
โครงการ 1.6 พัฒนาผเู รยี นใหมีทกั ษะในการทาํ งาน รักการทาํ งาน สามารถทํางานรวมกับผอู น่ื ได
และมเี จตคติทดี่ ตี ออาชพี สุจริต (มาตรฐานท่ี 6)
โครงการ 1.7 พัฒนาผเู รียนใหม ีคณุ ภาพบรรลุเปาหมายตามวสิ ัยทัศน ปรชั ญา
และจดุ เนน ที่กาํ หนด (มาตรฐานท่ี 14)
** พฒั นาผูเรียนใหมีความพรอมสปู ระชาคมอาเซียน

กลยทุ ธท ี่ 2 สงเสริมและพัฒนาครูใหเปน ไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครูสูมาตรฐานสากล
โครงการ 2.1 สงเสรมิ พัฒนาศักยภาพครูสูมาตรฐานสากลใหป ฏบิ ัติงานตามบทบาทหนา ที่
อยางมปี ระสิทธิภาพ และเกดิ ประสิทธผิ ล (มาตรฐานที่ 7)

กลยทุ ธที่ 3 การบรหิ ารจัดการดว ยระบบคุณภาพสูมาตรฐานสากล
โครงการ 3.1 พฒั นาระบบการบริหารจัดการสูการเปนโรงเรยี นมาตรฐานสากลตามบทบาทหนาที่
อยางมีประสทิ ธภิ าพละเกิดประสทิ ธผิ ล (มาตรฐานท่ี 8)
โครงการ 3.2 พัฒนาสถานศึกษาใหม กี ารจดั การหลักสูตร กระบวนการเรยี นรูแ ละกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผเู รียนอยา งรอบดาน (มาตรฐานที่ 10)
โครงการ 3.3 พฒั นาสถานศกึ ษาใหม ี การจดั การสภาพแวดลอมและการบรกิ ารท่ีสง เสริมใหผ ูเรียน
พัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ (มาตรฐานท่ี 11)
โครงการ 3.4 พัฒนาสถานศึกษาใหมกี ารประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามทก่ี ําหนด
ในกฎกระทรวง (มาตรฐานที่ 12)
โครงการ 3.5 สง เสรมิ การจัดกจิ กรรมตามนโยบาย จดุ เนน แนวทางการปฏิรปู การศึกษาเพอ่ื พฒั นา
สง เสริมสถานศึกษาใหย กระดบั คุณภาพสงู ขน้ึ (มาตรฐานท่ี 15)

กลยทุ ธท ี่ 4 ชุมชนเขมแขง็ โรงเรยี นกา วไกล
โครงการ 4.1 สงเสรมิ คณะกรรมการสถานศกึ ษาและผปู กครอง ชมุ ชนปฏบิ ตั งิ านตามบทบาท
ตามหนา ทีอ่ ยา งมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล (มาตรฐานท่ี 9)
โครงการ 4.2 การสรา ง สงเสรมิ และสนบั สนุนใหส ถานศกึ ษาเปนสงั คมแหง การเรียนรู (มาตรฐานท่ี 13)

คมู ือกลุมงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา 5

สถติ ิจํานวนนกั เรียนโรงเรียนวชั รวิทยา ปก ารศกึ ษา 2556
วนั ที่ 10 มิถุนายน 2556

ชัน้ ชาย หญิง รวม ชัน้ ชาย หญิง รวม ชนั้ ชาย หญงิ รวม

1/1 18 24 42 2/1 13 27 40 3/1 18 30 48

1/2 21 21 42 2/2 17 28 45 3/2 20 29 49

1/3 20 22 42 2/3 24 20 44 3/3 22 25 47

1/4 20 22 42 2/4 17 28 45 3/4 26 21 47

1/5 18 19 37 2/5 22 22 44 3/5 19 21 40

1/6 21 21 42 2/6 24 20 44 3/6 19 22 41

1/7 20 22 42 2/7 16 23 39 3/7 29 17 46

1/8 15 20 35 2/8 15 24 39 3/8 17 23 40

1/9 17 18 35 2/9 13 22 35 3/9 8 20 28

1/10 8 27 35 2/10 15 19 34 3/10 15 15 30

รวม 178 216 394 รวม 176 233 409 รวม 193 223 416

4/1 12 30 42 5/1 9 32 41 6/1 9 31 40

4/2 20 22 42 5/2 6 29 35 6/2 9 34 43

4/3 11 34 45 5/3 8 25 33 6/3 10 30 40

4/4 12 33 45 5/4 16 22 38 6/4 14 25 39

4/5 10 35 45 5/5 15 19 34 6/5 15 28 43

4/6 26 20 46 5/6 14 31 45

4/7 13 29 42

รวม 104 203 307 รวม 68 158 226 รวม 57 148 205

สรุปจํานวน ชาย หญิง รวม * รวมนักเรียนไป
ตางประเทศ
รวม ม.ตน 547 672 1,219
รวม ม.ปลาย 229 509 738
รวมทง้ั หมด 776 1181
1,957

คมู อื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวทิ ยา 6

คมู อื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวทิ ยา 7

คมู อื กลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนวชั รวิทยา 8

งานแผนงาน

แผนคือ สิง่ ที่แสดงถงึ ความต้งั ใจลว งหนาทจ่ี ะดาํ เนินการใดๆ
ภายในระยะเวลาหนงึ่ เพอ่ื ใหบ รรลุวตั ถุประสงคท ี่วางไว ผลทีเ่ กิดจาก
การวางแผนสว นหนงึ่ จะปรากฏในเอกสารเพื่อใชเ ปน หลักฐานการ
ตดั สนิ ใจดานการศกึ ษา

การวางแผน หมายถึง การกําหนดความตอ งการวิธกี าร
ดําเนนิ การและผลทค่ี าดวา จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
โดยใชห ลักวชิ า เหตผุ ล มขี อ มลู ประกอบมีการนาํ เสนอปญหา เพื่อขจัดอุปสรรคท่ีจะเกิด
กับเปาหมายขางหนาทาํ ใหผปู ฏบิ ัตริ ูวา จะทาํ อะไร ที่ไหน เมอื่ ใดกบั ใคร ทาํ อยางไร และทาํ เพื่ออะไรอยาง
ชัดเจน ซึง่ จะนําไปสกู ารปฏบิ ตั งิ านอยางถกู ตอ งและบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค การวางแผนที่ดีมคี วามสาํ คัญอยา งยง่ิ ตอ
ความสาํ เร็จตามวตั ถุประสงคขององคก ร เชน การทํางานเกิดการประสานกัน เกิดการประหยดั การบรหิ ารทั้ง
คน เงิน วัสดุ การปฏิบัติงานมคี วามสําเร็จอยา งรวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพเปนการกระจายงานสคู นรว มคิดรว ม
ทํา รว มรบั ผิดชอบ ทําใหท ราบถึงปญหาการดําเนินการและสามารถดาํ เนนิ การแกไ ขปญ หาไดท นั ตอเหตุการณ

แนวทางบรหิ ารงานนโยบายและแผน
1.การวางแผนพฒั นาโรงเรียน
การกําหนดทิศทางการพัฒนาโรงเรยี น, วิเคราะหส ภาพปจ จุบันปญ หาของโรงเรียน, กาํ หนดวสิ ยั ทัศน

พนั ธกจิ และเปาหมายของโรงเรยี น, การมสี ว นรว มเกิดการกาํ หนดวิสัยทัศน พนั ธกิจ และเปา ประสงค,จัดทาํ
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระยะ 1 , 3 , 5 ป,จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการโรงเรยี น

2.การจัดองคก ร
จดั ทาํ แผนภูมิบริหารโรงเรยี น, การกําหนดหนาทค่ี วามรบั ผดิ ชอบและมอบหมายงาน

3.การจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การดําเนนิ งานดานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ, การพฒั นาระบบสารสนเทศ, การจดั ระบบและพัฒนา

เว็บไซตโ รงเรียน
4.การจัดระบบประกนั คณุ ภาพภายใน
แตง ต้งั คณะกรรมการรับผดิ ชอบและมีแผนการดําเนนิ งาน, จดั ทํามาตรฐานคุณภาพระดบั โรงเรียน

สอดคลอ งมาตรฐานของหนว ยงาน, พัฒนาสูม าตรฐานและประเมินผล
5.การคํานวณตน ทุนผลผลติ
มกี ารคํานวณตนทุนผลผลติ แตง ตงั้ ผรู ับผดิ ชอบ
นําเทคโนโลยีมาใชใ นการคาํ นวณตน ทนุ ผลผลิต
วเิ คราะหค วามคุมคาและนําไปปรับปรุงพฒั นา
6.การควบคุมภายใน
จัดระบบควบคุมภายในแตง ตั้งกรรมการ
ดําเนินการควบคุมตามหลกั เกณฑ
มหี ลักฐานใหต รวจสอบได
7.การประเมินผลการดาํ เนินงานแผนงานและประกนั
มีการประเมินผลการดําเนินงานแผนงานและประกนั คณุ ภาพโดยมีหลักฐานตรวจสอบได
นําผลการวเิ คราะหไปใชป รบั ปรุงพัฒนาการดําเนินงานแผนงานและประกันคณุ ภาพ
8.แผนงานโรงเรียนมาตรฐานสากล

คมู อื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา 9

ศกึ ษากรอบงาน จดั ทาํ แผน นาํ เขา สูแผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี น
สรรหาบคุ ลากรชาวตางชาติเพ่อื สกู ารปฏบิ ัติการสอนตามโครงการ
ติดตามผลและประเมินผลรายภาคเรียน
9.กลมุ เครอื ขา ยสง เสรมิ ประสิทธิภาพการมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

หนาที่รับผดิ ชอบดงั นี้
จดั ทาํ แผนกลยทุ ธและแผนพัฒนาคณุ ภาพโรงเรียน เพอ่ื ใหโ รงเรยี นดาํ เนนิ กิจกรรมตางๆ สนองตอบความ

ตองการของนกั เรยี น ผปู กครอง ครู และชมุ ชน จดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ าร 1 ,3 , 5 ป เพ่ือวางเปาหมายการดาํ เนินงาน
ของโรงเรยี นเปน ระยะและจัดทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําป งบประมาณ เพือ่ ใหการใชเงนิ งบประมาณและนอก
งบประมาณเปนไปอยา งมีประสิทธิภาพและบรรลุวตั ถปุ ระสงคทีว่ างไว ตรวจสอบตดิ ตาม การดาํ เนินงาน/ โครงการ /
กิจกรรม ใหเปนไปตามแผนปฏบิ ัติการประจาํ ปง บประมาณ ดาํ เนนิ การเก่ียวกับการประกันคณุ ภาพในโรงเรียนตาม
โครงการพฒั นาเชิงระบบ เพื่อปฏริ ูปการเรียนรูแ ละคุณภาพของโรงเรยี นโดยเนนกระบวนการ PDCA P( วาง
ระบบ) D (ทําตามระบบ) C (การตรวจสอบติดตาม) A ( ปรบั ปรงุ แกไ ข) สรา งความเขาใจ ปรบั ปรงุ แนวทางการ
ประเมนิ มาตรฐานอยา งตอ เนื่องมปี ระสิทธิภาพ เพื่อนําไปสกู ารพฒั นาผลสัมฤทธ์อิ ยางยงั่ ยนื ในทกุ ระบบตามมาตรฐาน
ของ สพฐ. 18 มาตรฐานหรือของ สมศ. 14 มาตรฐาน จัดระบบฐานขอมลู โรงเรียนเพือ่ ใชในการบริหารจดั การ การ
นําเสนอ เผยแพรตอสารธารณชนและนาํ ผลมาพัฒนาปรบั ปรงุ ระบบขอ มูลสารสนเทศของโรงเรยี นในทุกๆดานและมี
ความสมบรู ณ และเปน ปจ จบุ ัน คํานวณตนทุนผลผลิตของงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผน ปฏบิ ตั งิ านทีก่ าํ หนดใหมี
ผลสัมฤทธเิ์ กิดประสิทธิภาพสูงสุดและคมุ คาแหงการลงทุนมผี ลแหงกาํ ไรใหม ากท่ีสดุ รายงานผลการดําเนนิ งานตอ
คณะครู นกั เรยี น ชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาและสพท. และสพฐ. ตอไป

คมู ือกลุมงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นวชั รวทิ ยา 10

การกําหนดกลยทุ ธ

กลยุทธก ระทรวง

กลยุทธ สพฐ.

กลยทุ ธ สพท.

กลยุทธ รร.

การจดั ทําแผนพฒั นา

1.วเิ คราะหส ภาพปญหา / แผนปฏิบัตกิ ารประจําป
2.กําหนดวิสยั ทัศน พันธกจิ เปา หมาย
3.กาํ หนดวิธีการดาํ เนนิ งาน

4.เสาะหาและประสานสัมพนั ธกับแหลง วทิ ยากรภายนอก

5.กาํ หนดบทบาทหนาท่ใี หบคุ ลากร
6.กาํ หนดบทบาทหนา ท่ผี ูป กครองและชุมชน

7.การใชง บประมาณ และทรัพยากร
8.ประเมินผลและนาํ ผลไปใชในการพฒั นา

คมู อื กลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวิทยา 11

Flow Chart ระบบยทุ ธศาสตร งานแผนงานโรงเรยี นวัชรวทิ ยา

ศกึ ษาวิเคราะห
สภาพปจ จบุ ันของ
กาํ หนด วสิ ัยทัศน พันธกิจ
จัดทําแผนปฏิบตั กิ าร
ปฏบิ ตั ิงานตามแผน

นเิ ทศติดตามประเมินผล

บรรลุวัตถปุ ระสงค No ปรับปรงุ / แกไ ขวธิ กี าร
หรอื ไม ดําเนนิ งาน

Yes

ปฏิบัติงานตามแผน (ตอ )

สรุป/รายงานผลการ
ดาํ เนินงาน

คูมือกลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวิทยา 12

งานประกนั คณุ ภาพการศึกษา

ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2553
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.

๒๕๔๕ ไดก าํ หนดจุดมุง หมาย และหลักการของการจัดการศึกษา ทีต่ อ งมุงเนนคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา โดยกําหนดรายละเอียดไวในหมวด ๖ มาตรฐานและการประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษา มาตรา ๔๗ กําหนดใหมรี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาทุกระดบั ประกอบดวย ระบบการประกนั คุณภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก และใน
วรรคสอง บญั ญตั วิ า ระบบ หลักเกณฑ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ใหเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง
วาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศึกษา ฉบับท่ีผานมาเมื่อ พ.ศ. 2546 ไดยกเลกิ ไปเมื่อ
ประกาศกฎกระทรวง วาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 จึงสรุปสาระสาํ คญั ท่ี
กาํ หนดไวในกฎกระทรวงดังกลาวเพื่อหนวยงานท่ีเก่ยี วของโดยเฉพาะในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดทราบดังน้ี

กฎกระทรวง วาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการ ประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 มี 3 หมวด
หมวด 1 บททั่วไป วาดว ยระบบประกันภายใน ประกอบดวยการประเมินคุณภาพภายใน การติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา และระบบประกันภายนอก ประกอบดวยการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา นอกจากน้กี ก็ าํ หนดใหสถานศกึ ษาดําเนินการประกันคณุ
ภาภายในตอ เนื่องเปน ประจําทุกปโ ดยเนน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ และ การมสี ว นรวม ใหสถานศกึ ษามีหนา ท่จี ดั ทาํ รายงา
ประจําปท เ่ี ปนรายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอตอคณะกรรมการสถานศกึ ษา และหนว ยงานทีเ่ ก่ียวของและ
เปดเผยรายงานตอสาธารณาชน รวมทง้ั สถานศึกษาตองนําผลการประเมนิ ท้ังในและนอกไปทาํ แผนพัฒนาคุณภาพ
ของสถานศกึ ษา

หมวด 2 การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา แบงออกเปน 2 สวน ในทน่ี ก้ี ลาวเพียงสวนท่ี 1 ซ่งึ ใช
บงั คบั เฉพาะการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน โดยสวนนกี้ ลา วถงึ คณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
ไดแก สวนประกอบของคณะกรรมการระดบั กรม คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ วาระการดาํ รงตําแหนง การพน จาก
ตําแหนง รวมทง้ั บทบาทหนา ทส่ี ่ิงสําคัญในหมวดน้ีคือสถานศึกษาตองจดั ระบบประกนั คณุ ภาพตามหลักเกณฑแ ละ
แนวปฏิบัตโิ ดยดาํ เนินการดังนี้

(1) กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(2) จัดทาํ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีมุงคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
(3) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
(4) ดําเนินงานตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
(5) จดั ใหม กี ารติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา
(6) จดั ใหม ีการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
(7) จดั ทํารายงานประจําปท ี่เปน รายงานประเมินคณุ ภาพภายใน
(8) จัดใหม ีการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา งตอเนื่อง

คูม อื กลุม งานพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวทิ ยา 13

การดําเนินการขางตน ใหส ถานศึกษายึดหลกั การมสี วนรวมของชมุ ชนและหนวยงานที่เกีย่ วของท้ังภาครัฐและ
ภาคเอกชน โดยการสงเสริม สนับสนุน และกาํ กับดแู ลของหนวยงานตน สังกดั สาํ หรบั สถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานทไ่ี ม
สามารถปฏบิ ัตงิ านบางประการตามท่ีกําหนดได น้ัน หนว ยงานตนสงั กัดหรอื สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา แลวแต
กรณี ประกาศผอ นผนั การปฏบิ ัตแิ ละวางแนวทางในการประกันคุณภาพภายในใหเ หมาะสมกับสภาพการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษาน้นั แลว รายงานใหรัฐมนตรที ราบ

การกาํ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ตอ งสอดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ เอกลกั ษณ
ของสถานศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานตามท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาํ หนด และ
ตอ งครอบคลุมสาระการเรยี นรู และกระบวนการเรียนรู รวมทัง้ คาํ นงึ ถึงศักยภาพของผูเ รียน ชุมชน และทอ งถ่นิ ดว ย

การจัดทาํ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ใหด าํ เนนิ การดงั ตอไปน้ี

(1) ศกึ ษาสภาพปญ หาและความตองการที่จําเปน ของสถานศึกษาอยา งเปน ระบบ
(2) กําหนดวิสัยทศั น พันธกิจ เปาหมาย และความสาํ เรจ็ ของการพัฒนาไวอยางชดั เจน และเปนรปู ธรรม
(3) กาํ หนดวธิ ีดาํ เนนิ งานทม่ี หี ลักวชิ า ผลการวิจยั หรอื ขอมลู เชงิ ประจกั ษทอ่ี างอิงได ใหครอบคลมุ การพฒั นา
หลักสตู รสถานศึกษาดานการจดั ประสบการณการเรยี นรู กระบวนการเรียนรู การสงเสรมิ การเรียนรู การวดั และ
ประเมินผล การพัฒนาบคุ ลากร และการบริหารจัดการ เพือ่ นําไปสมู าตรฐานการศกึ ษาท่กี ําหนด
(4) กาํ หนดแหลง วทิ ยาการภายนอกท่ีใหการสนับสนนุ ทางวชิ าการ
(5) กําหนดบทบาทหนาที่ใหบุคลากรของสถานศึกษาและผเู รยี นรับผิดชอบและดาํ เนินงานตามทีก่ ําหนดไว
อยางมีประสิทธิภาพ
(6) กําหนดบทบาทหนา ที่และแนวทางการมสี วนรว มของบิดา มารดา ผูปกครอง และองคกรชมุ ชน
(7) กําหนดการใชงบประมาณและทรพั ยากรอยางมปี ระสิทธิภาพ
(8) จัดทําแผนปฏบิ ัติการประจําป

หมวด 3 การประกันคุณภาพภานอก จะครอบคลุมหลักเกณฑใ นเรอื่ ง ดังตอ ไปน้ี
(1) มาตรฐานท่วี าดว ยผลการจดั การศึกษาในแตล ะระดับและประเภทการศกึ ษา
(2) มาตรฐานที่วา ดวยการบริหารจดั การศึกษา
(3) มาตรฐานที่วาดวยการจดั การเรยี นการสอนที่เนนผเู รยี นเปน สาํ คญั
4) มาตรฐานที่วาดวยการประกันคุณภาพภายใน
กรณีที่ผลการประเมนิ ภายนอกของสถานศึกษาไมผ า นเกณฑมาตรฐาน สมศ. แจง พรอมแสดงเหตผุ ลใหต น
สังกัดและสถานศึกษาทราบ เพ่อื ปรับปรุงแกไข โดยทําแผนพฒั นา และดาํ เนินการ เพ่อื ขอรบั ประเมินใหมภ ายในสอง
ปน บั แตว นั ไดร ับแจง ผลครั้งแรก ซ่งึ สถานศึกษาตองเสนอแผนพฒั นาคุณภาพเพอ่ื สมศ.พจิ ารณาอนมุ ัติภายในสามสิบ
วนั นับจากวนั แจงผลตามขางตน กรณีไมด าํ เนนิ การ สมศ.รายงานตอหนว ยงานตนสังกดั ของสถานศึกษาน้ันเพอื่ สั่ง
การตอ ไป
ท่มี า: กฎกระทรวงวา ดว ยระบบ หลกั เกณฑ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.2553

คูมอื กลมุ งานพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวชั รวทิ ยา 14

Flowchart ขั้นตอนการดาํ เนนิ งานการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนวัชรวทิ ยา

ขั นเตรียมกา/สรร้างความ
ตระหนัก/แต่งตั งคณะกรรมการ

วางแผนการปฏบิ ัตงิ าน
กาํ หนดเป้ าหมาย/มาตรฐานการศกึ ษา

ดาํ เนินการตามแผน (D)

ตรวจสอบประเมินผล/เก็บข้อมลู (C)

ถูกต้อง/ครบถ้วน ? ไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน

ถกู ต้อง/ครบถ้วน

จดั ทาํ รายงานพฒั นาคณุ ภาพ
ประจําปี /

คูมอื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวิทยา 15

ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนวัชรวิทยา
โรงเรยี นวชั รวิทยาไดจ ัดใหมรี ะบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ประกอบดวย การ

ดาํ เนนิ งานโดยยดึ หลกั การมสี ว นรวม 8 ประการ ดังน้ี
1. กําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
2. จดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาที่มงุ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3. จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4. ดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
5. จัดใหม ีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
6. จดั ใหม ีการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
7. จัดทาํ รายงานประจําปท ี่เปนรายงานประเมินคณุ ภาพภายใน
8. จดั ใหมกี ารพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอยางตอเนอื่ ง
1. การกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
โรงเรียนวชั รวิทยากาํ หนดมาตรฐานสถานศกึ ษาสอดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ เอกลักษณข อง

สถานศึกษา และมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกําหนด และ
ครอบคลมุ สาระการเรยี นรู และกระบวนการเรยี นรู รวมทัง้ คาํ นงึ ถึงศกั ยภาพของผูเ รยี น ชมุ ชน และทอ งถ่ิน

2. การจัดทาํ แผนพัฒนาสถานศกึ ษาท่ีมงุ เนนคณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรียนวัชรวิทยามกี ารจดั ทาํ แผนพฒั นาสถานศกึ ษาท่มี งุ เนนคุณภาพการศกึ ษา โดยมีวิธดี ําเนนิ การตอไปน้ี
คอื
(1) ศกึ ษาสภาพปญหาและความตอ งการทจี่ าํ เปนของสถานศกึ ษาอยา งเปนระบบ
(2) กาํ หนดวิสัยทศั น พนั ธกิจ เปา หมาย และความสําเร็จของการพัฒนาไวอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม
(3) กาํ หนดวิธดี าํ เนนิ งานทีม่ ีหลักวิชา ผลการวจิ ยั หรอื ขอมูลเชิงประจกั ษท ี่อา งองิ ไดใ หค รอบคลมุ การพฒั นา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาดานการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู กระบวนการเรียนรูการสงเสริมการเรียนรู การวดั และ
ประเมนิ ผล การพัฒนาบคุ ลากร และการบรหิ ารจัดการ เพอ่ื นําไปสูม าตรฐานการศึกษาที่กําหนดไว
(4) กาํ หนดแหลง วทิ ยาการภายนอกทใี่ หการสนับสนุนทางวชิ าการ
(5) กาํ หนดบทบาทหนาทีใ่ หบุคลากรของสถานศกึ ษาและผูเรยี นรบั ผดิ ชอบและดําเนนิ งานตามทกี่ าํ หนดไว
อยางมีประสิทธิภาพ
(6) กําหนดบทบาทหนาทแ่ี ละแนวทางการมสี วนรวมของบิดา มารดา ผูปกครองและองคกรชุมชน
(7) กําหนดการใชงบประมาณและทรพั ยากรอยา งมีประสิทธภิ าพ
(8) จดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป
3. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
โรงเรยี นวชั รวทิ ยามีการกําหนดโครงสรางการบริหารจดั การที่เออ้ื ตอการพฒั นางาน และสรา งระบบการ
ประกนั คุณภาพภายใน มคี ณะทํางานทําหนาท่ี วางแผนตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ และจัดทาํ รายงานการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาประจําปของสถานศึกษา โดยแตง ตงั้ คณะทาํ งานทม่ี ีตัวแทนบคุ ลากรจากหลายฝายมารวมคิด รวม
วางแผน และรวมติดตามตรวจสอบ เกบ็ ขอมูล สาํ หรบั การจัดระบบสารสนเทศนนั้ โรงเรยี นวชั รวิทยามกี ารจัดระบบ
สารสนเทศใหเ ปน หมวดหมใู หครอบคลุมและขอมลู มคี วามสมบรู ณ คนไดง ายและสะดวกรวดเร็ว มีการนําขอมลู มาใช
ใหเ กิดประโยชนอ ยูเสมอ การจดั หมวดหมู ขอ มลู สารสนเทศ
4. ดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
ในแผนพฒั นาสถานศกึ ษาทีม่ ุงเนน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัชรวทิ ยา มีโครงการ / กจิ กรรม ทตี่ อ ง
ดําเนนิ งานใหบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค และเกิดผลสําเรจ็ ตามที่ระบุไวใ นตวั ชีว้ ัดของโครงการการดาํ เนินงานตามแผนนั้น

คมู อื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวชั รวิทยา 16

โรงเรยี นไดมีระบบการทาํ งานที่เนนการมสี วนรวม โดยดําเนินการตามวงจรการพัฒนาคณุ ภาพ PDCA ของเดมมิง่
(Deming Cycle)

มาตรฐานและตวั บ่งชี ของ

โรงเรียน - กระบวนการ
วางแผน (Plan) - วิธีการ

มาตรฐาน

ปรับปรุง/พัฒนา (Act) ลงมือปฏิบัติ (Do) - บนั ทกึ

ตรวจสอบ/ประเมนิ มาตรฐาน
สารสนเทศ

(ตวั ชี ว/ัดเกณฑ์

โรงเรียน)

นอกจากนี้ โรงเรยี นมกี ารตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพภายใน เกยี่ วกบั เร่อื งตอ ไปน้ี เพ่อื ใหกา วทัน
สภาวการณป จ จุบนั ดวย คือ

1) วสิ ยั ทศั น และภารกจิ ของสถานศกึ ษา เชน วิเคราะหด ูวาวสิ ยั ทศั น และภารกจิ สอดคลอ งกับ
มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน และสอดคลอ งกับสภาวะปจ จบุ ันหรอื ไม ควรปรับปรงุ เปลีย่ นอะไรบาง
จัดกิจกรรมอยางไรจงึ จะเหมาะสม

2) แผนพฒั นาสถานศกึ ษา เชน แผนพัฒนาสะทอ นความตอ งการของชมุ ชนจริงหรอื ไม มีการ
รวบรวมและวิเคราะหข อมลู ตลอดจนนําผลมาใชในการวางแผนครอบคลมุ ครบถว น กจิ กรรมตามแผน
สัมพันธก ันและสอดรับกบั วิสัยทศั นแ ละเปาหมาย แผนพัฒนาโดยรวมมีความชดั เจน เขา ใจงา ย และมที ศิ
ทางการพัฒนาทช่ี ดั เจน

3) การพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู เชน บรรยากาศและสภาพแวดลอ มสนับสนนุ
การเรียนรู สะทอนความสําเร็จของผเู รียน ครเู ลือกใชยุทธศาสตรการสอนหลากหลายและสอดคลอ งกบั
ความตอ งการของผเู รียน ครูและผูเรยี นมีปฏสิ ัมพนั ธท ส่ี งผลตอ การเรียนของผเู รียน การจดั กระบวนการ
เรยี นรู เนนใหผ ูเรียนไดม ีโอกาสฝกแกปญ หา ฝก การคดิ สรา งสรรคทส่ี มั พนั ธก ับชีวติ จริง ตลอดจนพัฒนา
นิสยั รักการเรียน ผเู รยี นกลาคดิ กลา แสดงออก สถานศกึ ษามกี ระบวนการพัฒนาหลกั สตู รที่สอดคลอ งกับ
มาตรฐานการศกึ ษาชาติและมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

4) ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของผูเรียน เชน ผูเรียนประสบความสําเร็จจากการเรยี นรทู ี่ผูสอนเปน ผูจดั
กิจกรรมการเรียนการสอน ผลงานของผเู รียนมคี วามหมาย บง บอกถงึ สิง่ ทผ่ี ูเรยี นรูเขา ใจ และทําได ผลงานแสดง
ความคดิ สรางสรรค และผเู รยี นไดมโี อกาสนําความรูไปใช ผสู อนใชวิธกี ารประเมนิ ท่ีหลากหลายและสอดคลอ งกบั
สภาพจริง มีการเปด โอกาสใหผ เู รยี นและผูปกครองมสี ว นรวมในการกําหนดเกณฑการประเมนิ สถานศึกษาจดั สงิ่

คูม อื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวิทยา 17

อาํ นวยความสะดวกเพอ่ื ใหผูเ รยี นสามารถทาํ งานรวมกันไดอยางดี
5) การพฒั นาองคกร เนอื่ งจากสถานศึกษาเปน แหลงหรือศนู ยการเรียนรูท่สี าํ คญั ในชุมชน ฉะน้นั

นอกเหนือจากการบริหารจัดการดานการพฒั นาหลกั สตู รและการเรียนการสอน การพฒั นาผสู อนและอน่ื ๆ ที่
เกย่ี วขอ งแลว สถานศึกษาตอ งมุงเนน การพัฒนาสถานศึกษาโดยเฉพาะหอ งสมุดใหเ ปน แหลงเรียนรขู องชุมชนไดเปน
อยางดี ดังนนั้ ประเด็นในการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพภายใน จงึ วเิ คราะหดูวา ผูบริหารอทุ ศิ ตนเพื่อองคก ร
เพือ่ นรวมงาน และเพอ่ื การพฒั นาการศึกษาอยา งไร เปน ผูนําในการสรางสังคมแหงการเรียนรู และสามารถแนะนาํ
นวัตกรรมหรือแหลงนวตั กรรมสําหรบั ผสู อนได มกี ารประชมุ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและเปดโอกาสให ผูสอน/
คณะทาํ งานมีสว นรว มในการตัดสนิ ใจในเชิงบรหิ าร มีการสรางความสมั พนั ธท ีด่ ีกับชุมชนและรวมกิจกรรมตา ง ๆ กบั
ชุมชน มีการรวบรวมแหลงภมู ิปญญาชาวบา น และเชิญปราชญชาวบา นมาเปนทป่ี รึกษา ใหค วามรู มกี ารพบปะและ
เปลย่ี นประสบการณก ับสถานศึกษาอ่ืน ๆ เพ่อื เทยี บเคยี งการพัฒนา

6) การพฒั นาวชิ าชีพครู เชน มกี ารใช แหลงวทิ ยาการภายนอก (สถาบนั อุดมศกึ ษา องคก รธุรกิจภาครัฐและ
เอกชน) ชวยใหค รู เกดิ การเรียนรู มกี ารเปด โอกาสใหครแู ลกเปลี่ยนประสบการณ และความคดิ ในการพัฒนาวชิ าชีพ
ดว ยวิธกี ารตา งๆ สนบั สนนุ ให ครมู ีการวิจัยคนควา ความรูใหมเก่ียวกับการเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล จดั หา
งบประมาณและสิ่งสนับสนนุ สง เสรมิ ใหมีการสมั มนาหรอื พัฒนาวิชาชีพในรูปแบบตา งๆ การตรวจสอบและทบทวน
คุณภาพภายในสถานศึกษาที่ดาํ เนินการอยางจรงิ จงั ชวยใหส ถานศึกษามีขอมูลถกู ตอ งและเพยี งพอในการวางแผน
พัฒนาสถานศึกษาท่เี นนคุณภาพการศึกษาในรอบปถ ดั ไป นอกจากนี้ ผลจากการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพ
ภายในสถานศึกษายังมีสวนชว ยกระตนุ ผูท เี่ ก่ียวขอ ง ทัง้ นกั การศึกษา ผูปกครอง และชุมชนใหต ระหนกั ถึงการกาํ หนด
นโยบายและทิศทางการพัฒนาการศกึ ษาในระดับทองถิ่น หรือระดบั ชาติ

6. จดั ใหมกี ารประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
จากการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในสถานศึกษาดงั ไดก ลา วไวข า งตน โรงเรียนจะมี ขอมูล
สารสนเทศสาํ หรบั ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาที่กําหนด การประเมินคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ครอบคลมุ มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และจัดทาํ รายงานการพฒั นาคุณภาพการศึกษาประจําปต อไป
7. จดั ทํารายงานประจําปท ่เี ปนรายงานประเมินคณุ ภาพภายใน
การจดั ทํารายงานการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาประจําป เสนอตอหนวยงานตน สงั กดั หนวยงานทเี่ ก่ยี วของ
และเปด เผยตอ สาธารณชน และเพื่อรองรับการประกนั คณุ ภาพภายนอก การจดั ทาํ รายงานการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาประจําปของสถานศึกษา มีแนวทางไวจ ดั ทําโดยเสนอใหแ บง รายงานเปน 4 บท คอื
บทที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา
บทท่ี 2 แผนพฒั นาคณุ ภายการศกึ ษาประจาํ ป
บทที่ 3 ผลการพฒั นาตามมาตรฐานการศกึ ษาทกี่ ําหนดไวใ นแผนพฒั นาสถานศกึ ษา
บทที่ 4 สรุปผลการพฒั นาและการนําผลไปใช
นอกจากนี้ โรงเรียนไดระบุหลกั ฐานขอมลู ผลสัมฤทธ์ขิ องการประเมนิ ตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาไว
ดว ยเมอ่ื จัดทํารายงานการพฒั นาคุณภาพการศึกษาประจาํ ปเสรจ็ เรียบรอยแลว สถานศกึ ษา สงรายงานตอสํานกั งาน
เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาตน สังกัดภายในเดอื นพฤษภาคมของทกุ ๆ ป และสงใหสํานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพสถานศกึ ษา (สมศ.) เฉพาะในปทีเ่ ขา รบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
8. จัดใหม กี ารพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอยา งตอเนอ่ื ง
ในการทาํ ใหคณุ ภาพของสถานศึกษาดํารงอยอู ยางย่งั ยนื น้นั โรงเรียนตรวจสอบและทบทวนการดําเนินงาน
ตามโครงการ/กจิ กรรม อยเู สมอ โครงการ/กจิ กรรมทที่ ําตองคุมคา และเกิดประโยชน สงผลถงึ ผเู รียน การพิจารณา
โครงการ/กิจกรรมท่จี ะทําตอไปหรือไมน นั้ พิจารณาดงั นี้

คูมือกลุมงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวทิ ยา 18

1. ถา เปน โครงการท่ดี ี สมควรดําเนินตอไปกด็ ํารงโครงการน้ันไว
2. ถา เปนโครงการท่ดี ี แตยงั ดาํ เนินการไมส าํ เร็จหรอื ไมบรรลเุ ปา หมายเพราะมีจดุ บกพรอง ถาปรับปรงุ แกไข
สามารถบรรลุผลสําเรจ็ ไดก็ดําเนนิ การตอไปและทาํ ใหด ยี งิ่ ขน้ึ
3. ถาเปนโครงการทม่ี คี วามกา วหนา ในการดําเนนิ งานอยูต ลอดเวลา ก็พฒั นาดําเนินโครงการน้ันตอไปอยา ง
ไมห ยุดย้งั
4. หากมเี หตกุ ารณห รือสิ่งท่สี อ เคา วาจะเกดิ ปญ หาตอ งหาทางปองกันไวก อน กจ็ าํ เปนตอ งจดั ทําโครงการ
ใหมๆ ข้นึ เพื่อปอ งกนั ปญหา
อยา งไรกต็ าม ในการทาํ ใหค ณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาพัฒนาอยา งตอ เน่ืองนั้นโรงเรยี นคาํ นงึ ถึงสิง่
ตอ ไปน้ี
(1) สรางจติ สํานึกการพัฒนาใหเ กิดขน้ึ ในหมูค รูและบคุ ลากรทกุ คนในโรงเรียน
(2) เนน ยํ้าหรอื กําหนดเปน นโยบายการทํางานอยางมรี ะบบ รวมทง้ั ตอ งทาํ งานอยางมีเปา หมายทาํ งานเปน
หมคู ณะ และตองทาํ อยา งตอ เนอ่ื ง
(3) พัฒนาสถานศึกษาใหเปนองคก รแหงการเรยี นรู (Learning Organization) การจะทาํ ใหสถานศึกษาเปน
องคกรแหงการเรยี นรไู ด ตอ งทําใหบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาเปน บุคคลแหงการเรยี นรู คือรจู ักพัฒนาตนเอง ใฝร ู
หม่นั แสวงหาความรูอ ยูเสมอ มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู แบง ปนความรกู ันตลอดเวลา เกดิ ทีมผเู ชี่ยวชาญในเร่ืองตา งๆ
หลากหลายจนไดรับการยอมรบั จากผูเ ก่ยี วขอ ง มีการเผยแพรประชาสมั พนั ธและแลกเปล่ียนความรกู บั องคก รอนื่ ๆ
สถานศึกษาก็จะเปนองคกรแหงการเรยี นรทู ี่มคี วามเคลื่อนไหวในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาอยตู ลอดเวลา ผลผลติ
ขององคก รแหง การเรียนรู เห็นไดจาก
1) ผลสมั ฤทธิข์ องงานสงู ข้ึน
2) เกิดการพฒั นาคน
3) มีการพัฒนาความรู
4) องคก รมีศกั ยภาพสงู ข้ึน

คมู อื กลุม งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นวชั รวิทยา 19

งานระบบควบคุมภายใน

การควบคุมภายใน หมายถงึ กระบวนการท่ีผูบรหิ ารและบุคลากร
ของหนวยงาน กําหนดใหม ขี นึ้ เพอ่ื ใหการดําเนนิ งานมีความมน่ั ใจวา การ
ดาํ เนนิ งานโดยใชร ะบบการควบคุมภายในของหนว ยงาน จะทาํ ใหห นว ยงาน
สามารถดําเนินงานบรรลุผลสําเร็จตามวตั ถุประสงคไ ดอ ยางราบรนื่ ไมเ สยี่ งที่จะ
กอ ใหเกดิ ความผดิ พลาด อันเปน เหตทุ จี่ ะทาํ ใหเ กดิ ความเสียหายหรอื ความ
สน้ิ เปลืองแกห นวยงาน

วตั ถปุ ระสงคข องการจดั ใหมีระบบควบคุมภายใน
1.เพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของหนวยงาน (Operation Objective ; O) ทาํ ใหก ารดาํ เนนิ งาน

การใชท รพั ยากรของหนวยงานเปนไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถลดความผดิ พลาดในการดาํ เนนิ งาน ขจดั ความ
ส้นิ เปลอื งทรพั ยากรทอี่ าจเกิดขึ้น

2.ทาํ ใหการจดั ทํารายงานทางการเงิน (Financial Reporting Objective ; F) เปนไปอยางถูกตอง โปรง ใส
ทันตอ เวลา และเช่ือถอื ได

3.ทําใหก ฎหมาย ระเบยี บขอ บงั คบั ทเ่ี ก่ียวขอ ง (Compliance Objective ; C) ไดม กี ารยดึ ถือปฏบิ ตั ิอยา ง
จริงจงั และสมํา่ เสมอ

คูมอื กลมุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นวัชรวทิ ยา 20

การดําเนินงานระบบควบคุมภายในโรงเรียนวัชรวทิ ยา

ระบบควบคุมภายในโรงเรียนวชั รวทิ ยาประกอบดวยคณะกรรมการ จํานวน 3 ชดุ ดงั นี้

คณะกรรมการหนว ยรับตรวจ

ประธานกรรมการ คือ ผูอ ํานวยการโรงเรยี น
คณะกรรมการ ประกอบดวย รองผูอาํ นวยการโรงเรยี น หัวหนากลุม งาน

หวั หนากลุมสาระการเรียนรู หัวหนา งานประกันคณุ ภาพ
และหวั หนา งานควบคุมภายใน

คณะกรรมการสว นงานยอ ย
ประธานกรรมการ คือ รองผูอ าํ นวยการโรงเรียน / หวั หนากลุมงาน
คณะกรรมการ ประกอบดวย หัวหนางาน ครแู ละบคุ ลากรในกลมุ
งาน

คณะกรรมการกลุมสาระการเรียนรู
ประธานกรรมการ คอื หัวหนากลมุ สาระการเรยี นรู
คณะกรรมการ ประกอบดว ย ครูในกลุมสาระการเรยี นรู

คูมอื กลุมงานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวชั รวิทยา 21

แผนภูมคิ ณะกรรมการระบบควบคุมภายในโรงเรยี นวัชรวทิ ยา

กลมุ บรหิ ารงานงบประมาณ

หนวยรับตรวจ กลมุ บริหารงานวิชาการ กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
กลมุ บริหารงานทัว่ ไป กลุม สาระการเรียนรูคณิตศาสตร
กลมุ บรหิ ารงานบุคคล กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร
กลมุ งานนโยบายและแผน กลมุ สาระการเรียนรสู ุขศึกษาและพลศกึ ษา

กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ

บทบาทหนา ทขี่ องคณะกรรมการหนวยรบั ตรวจ

ประธานคณะกรรมการ
1.นิเทศ กาํ กับ ตดิ ตาม การทํางานของคณะกรรมการ
2.ใหคําแนะนาํ ปรกึ ษาและแกปญ หาตางๆ ท่เี กิดขึน้ แกค ณะกรรมการ
3.ประเมินองคป ระกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคป ระกอบ
4.ประชุมรวมกบั คณะกรรมการเพ่ือจดั ทาํ
4.1 แบบ ปอ.1 ทําหนงั สอื รับรองการประเมินผลการควบคมุ ภายใน
4.2 แบบ ปอ.2 ผลการประเมนิ องคป ระกอบของการควบคุม
4.3 แบบ ปอ.3 แผนการปรับปรุงการควบคมุ ภายใน
4.4 การประเมินการควบคุมภายในดว ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คูมอื กลมุ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนวชั รวิทยา 22

คณะกรรมการ

1.เขา รว มประชมุ และนาํ ขอมลู ปง บประมาณที่ผา นมาจากแบบตดิ ตามแผนการปรบั ปรุง การควบคมุ
ภายใน (แบบ ปอ.3) มาพิจารณาความเส่ียงทย่ี งั มอี ยู

2.นํารายงานผลการประเมินองคป ระกอบการควบคุมภายใน ( แบบ ปย.1 ) ของสวนงานยอยทุกสวนงาน
ยอ ยมาสรปุ ลงใน แบบ ปอ.2

3.จดั ทําการประเมินการควบคมุ ภายในดวยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาํ ความเส่ยี งทพ่ี บจากการประเมิน 5 องคประกอบผลการประเมนิ CSA และนาํ รายงานการประเมินผล
และการปรับปรุงการควบคมุ ภายใน(แบบ ปย.2)ของสวนงานยอ ยทุกสว นงานยอ ยมาสรุปลงใน แบบ ปอ.3
5.สรุปผลการประเมนิ เพอื่ จดั ทาํ หนงั สอื รบั รองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1)

บทบาทหนา ท่ขี องคณะกรรมการสว นงานยอ ย
ประธานคณะกรรมการ

1.นิเทศ กํากับ ติดตาม การทาํ งานของคณะกรรมการ
2.ใหค ําแนะนํา ปรึกษาและแกปญ หาตางๆ ท่เี กดิ ข้ึนแกคณะกรรมการ
3.ประเมนิ องคประกอบการควบคุมภายใน 5 องคประกอบ
4.ประชมุ รว มกบั คณะกรรมการเพือ่ จดั

4.1 แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมินองคประกอบของการควบคมุ ภายใน
4.2 แบบ ปย.2 รายงานการประเมนิ ผลและการปรับปรงุ การควบคุมภายใน
4.3 การประเมินการควบคุมภายในดวยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1.เขารวมประชมุ และนาํ ขอมูลปงบประมาณที่ผา นมาจากรายงานการประเมนิ ผลและการปรับปรงุ
การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) มาติดตามผลการปฏิบัติงานแลวสรุปลงในแบบติดตาม ปย.2

2.นําผลการประเมนิ องคป ระกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคประกอบภายในของสว นงานยอ ย ประเมนิ ผล
และสรปุ ลงใน แบบ ปย.1

3.จดั ทาํ การประเมนิ การควบคมุ ภายในดวยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นําความเสี่ยงทีย่ งั หลงเหลืออยจู ากแบบติดตาม ปย.2 ความเสย่ี งจากการประเมนิ 5 ประกอบและผลการ
ประเมิน CSA ประเมินผลและสรปุ ลงใน แบบ ปย.2
5.จดั สง แบบ ปย,1 และ แบบ ปย.2 ใหกบั หัวหนา งานควบคมุ ภายใน เพอื่ จดั เตรียมขอมลู ใหกบั
คณะกรรมการหนว ยรบั ตรวจ

คูมอื กลมุ งานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวิทยา 23

บทบาทหนา ท่ขี องคณะกรรมการกลุมสาระการเรยี นรู
ประธานคณะกรรมการ

1.นเิ ทศ กํากบั ตดิ ตาม การทาํ งานของคณะกรรมการ
2.ใหคําแนะนํา ปรกึ ษาและแกป ญ หาตา งๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ แกคณะกรรมการ
3.ประเมินองคป ระกอบการควบคมุ ภายใน 5 องคประกอบ|
4.ประชมุ รว มกบั คณะกรรมการเพือ่ จัด

4.1 แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมนิ องคประกอบของการควบคมุ ภายใน
4.2 แบบ ปย.2 รายงานการประเมินผลและการปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
4.3 การประเมินการควบคมุ ภายในดวยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)

คณะกรรมการ

1.เขา รวมประชมุ และนาํ ขอมูลปง บประมาณทผี่ านมาจากรายงานการประเมินผลและการปรบั ปรงุ
การควบคมุ ภายใน (แบบ ปย.2) มาติดตามผลการปฏบิ ัตงิ านแลว สรปุ ลงในแบบติดตาม ปย.2

2.นําผลการประเมนิ องคป ระกอบการควบคุมภายใน 5 องคป ระกอบ ภายในของกลุม สาระ
การเรยี นรูประเมินผลและสรปุ ลงใน แบบ ปย.1 |

3.จัดทาํ การประเมินการควบคุมภายในดว ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
4.นาํ ความเส่ยี งทยี่ งั หลงเหลอื อยจู ากแบบตดิ ตาม ปย.2 ความเสย่ี งจากการประเมิน 5 ประกอบและ
ผลการประเมิน CSA ประเมินผลและสรปุ ลงใน แบบ ปย.2
5.จัดสง แบบ ปย,1 และ แบบ ปย.2 ใหก บั หวั หนางานควบคุมภายในเพอ่ื จดั เตรยี มขอมลู ใหก ับ
สว นงานยอย (กลุม บริหารงานวิชาการ) และคณะกรรมการหนวยรบั ตรวจ

บทบาทหนาที่ของผรู ับผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรม

1.สรุปผลการดาํ เนนิ การโครงการ/กิจกรรม ตามแบบฟอรม ท่กี ําหนดให
2.จัดทําการประเมนิ การควบคุมภายในดว ยตนเอง (CSA : Control Self – Assessment)
กรณที ่มี ีความเสย่ี ง
3.นาํ ขอมลู ในขอ ที่ 1 เขา รว มประเมินผลการควบคุมภายในตามหนว ยงานทีส่ งั กัด (กลมุ สาระการเรียนรู หรือ
สว นงานยอ ย )

คมู ือกลุมงานพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา 24

งานสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาโรงเรยี นวัชรวทิ ยา
ระบบ (System) คอื ชดุ ขององคป ระกอบซงึ่ มปี ฏิสมั พนั ธ ตอกันในรปู ของความเปนหนงึ่

เดียวและดําเนินงานรวมไปสเู ปา หมายเดียวกนั ประกอบดว ยสว นสาํ คญั สี่ประการ คอื
1. ขอ มูลนาํ เขา (Input)
2. กระบวนการประมวลผล (Process)
3. ผลลัพธ (Input)
4. การควบคุมการยอ นกลับ (Feedback Control)
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถงึ ชดุ ของคน ขอ มลู และวิธกี าร ซ่ึงทํางานรว มกนั

เพอื่ ใหเ กดิ ความสําเร็จตามเปา หมายที่วางไว หรอื สารสนเทศ คอื ขอมูลท่ีผา นการประมวลผล บวก ลบ คูณ
หาร เปรียบเทยี บหรอื ตรวจสอบแลวมีความชัดเจนขน้ึ สามารถนํามาใชใ นการพจิ ารณาตัดสนิ ใจ หรอื ดาํ เนินการใด ๆ
ตอไปได สารสนเทศจะถูกนาํ เสนอในรปู อตั ราสวน รอ ยละ การเปรียบเทยี บ เชน

- อตั ราครตู อ นักเรยี น
- การเปรยี บเทียบงบประมาณทไี่ ดร บั ปจจุบันกับอดีต
- การเปรยี บเทียบผลการดาํ เนินการนับแตเรม่ิ โครงการ
- การเปรยี บเทียบผลกําไรตอ การลงทุน
ทรพั ยากรทสี่ าํ คญั ท่ีสดุ ขององคการคอื คน คนคือผูสรา งงานผลิต เปนผูใ ชบรกิ าร เปน ผูแ กป ญหา และเปนผู
ตัดสนิ ใจ คนทีม่ ีคณุ ภาพจะเปนกระดกู สันหลงั ขององคการ

ประเภทของระบบสารสนเทศ
1. ระบบประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing System : TPS) เปนเครอ่ื งมือของผูบริหารระดบั

ปฏบิ ตั กิ าร (Operating Manager) เชน ระบบสารสนเทศการบัญชี
2. ระบบสารสนเทศการจดั การ (Management Information System : MIS) เปนเครือ่ งของผบู ริหาร

ระดบั สั่งการ หรือระดับกลาง (Tactical Manager) มี 3 ประเภท คือ รายงานตามตารางการผลิต รายงาน
ตามตองการ และรายงานพเิ ศษ

3. ระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ (Decision Support System : DSS) เปนเครอ่ื งมอื ของผบู รหิ ารระดับ
นโยบาย หรือระดับสูง (Strategic Manager) และผูบริหารระดบั สั่งการหรือระดบั กลาง (Tactical Manager)

4. ระบบการสนับสนุนระดับนโยบาย (Executive Support System : ESS) จาํ เปนมากสําหรบั การ
บริหารระดบั สูง การพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยใช วฏั จักรของการพฒั นาระบบ SDLC เปนการตดิ ตอ ส่ือสารอยาง
ตอ เนอื่ งชดั

ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ(EIS)
โปรแกรมระบบสารสนเทศทางการศึกษาไดถูกออกแบบมาเพ่ือรองรบั กับรูปแบบการทาํ งานท่หี ลากหลาย

โดยสามารถท่ใี ชงานบนระบบเครือขายทีเ่ ปน Client/Server ,LAN (Netware, WindowsNT) ตวั โปรแกรมเปน
ระบบเปด (Open System) สามารถเชื่อมตอ กบั ฐานขอมูลไดม ากมาย ไมวาจะเปน Microsoft SQL, Informix
โปรแกรมระบบสารสนเทศทางการศึกษา แบง ออกเปน 2 สว น คือ สวนสําหรบั ผดู ูแลระบบ (Administrator) และ

คมู อื กลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นวัชรวทิ ยา 25

สวนสาํ หรับผใู ช (User) สวนผูดูแลระบบจะมหี นาทก่ี าํ หนดการเชอ่ื มตอ ฐานขอ มูล กาํ หนดผใู ชแ ละคอย
ดูแล ใหการใชงานโปรแกรมเปน ไปอยางราบรน่ื สวนของผใู ชน ้นั จะมสี วนกรอกขอ มลู สถติ ทิ างการศกึ ษา โปรแกรม
ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษา ไดถ ูกแบงโปรแกรมออกเปน 7 ระบบ คอื

1.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสําหรบั สถานศึกษา(EIS1) เปนระบบสําหรับกรอกขอมูลของสถานศึกษา
ทุกสังกัดตามแบบ รศ.รค. เพอ่ื ประมวลผลสงใหก ับหนวยงานระดบั สงู ข้นึ ไป

2.ระบบบรหิ ารสถานศกึ ษา(EIS2) เปนระบบที่ใชใ นงานบรหิ ารของสถานศกึ ษา
3.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสําหรับหนวยงานระดบั อาํ เภอ(EIS3) เปนระบบสาํ หรบั กรอกขอมลู ของ
อําเภอตามแบบ รศภ. เพอ่ื ประมวลผลสง ใหก บั หนวยงานระดับสูงข้นึ ไป
4.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาํ หรับหนวยงานระดับจงั หวัด(EIS4) เปนระบบสาํ หรับรวบรวมขอมูล
สารสนเทศของอาํ เภอทอ่ี ยูในจงั หวดั นัน้ ๆ และประมวลผลขอ มูลเพอ่ื สงตอ ใหก บั หนวยงานเขตและ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
5.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาํ หรับหนว ยงานระดับเขตการศึกษา(EIS5)เปนระบบสาํ หรบั รวบรวม
ขอ มลู สารสนเทศของจงั หวดั ทอี่ ยใู นเขตการศกึ ษานัน้ ๆ และประมวลผลขอมูลเพอ่ื สงตอใหกบั กระทรวงศกึ ษาธิการ
6.ระบบสารสนเทศทางการศกึ ษาสาํ หรับหนวยงานระดบั กระทรวงศกึ ษาธิการ(EIS6) เปนระบบสําหรับ
รวบรวมขอมลู สารสนเทศของจงั หวัด และประมวลผลขอมลู ในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธกิ าร
7.ระบบประมวลผลขอมลู (EIS7) เปน ระบบสําหรับประมวลผลขอมูลสารสนเทศของกระทรวงศึกษาธิการ
เพอื่ เผยแพรอ อกสู Homepage MOENet

การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศกึ ษาของ ศธ. ตามกรอบนโยบายดา น ICT
กระทรวงศึกษาธิการสนองนโยบายของรัฐบาลที่จะพัฒนาระบบเทคโนโลยีการศกึ ษาและเครอื ขา ย

สารสนเทศ เพอื่ เพิม่ และกระจายโอกาสทางการศกึ ษาใหค นไทยไดร บั โอกาสอยา งเทา เทยี มกันและเขาถึงการเรยี นรู
โดยยึดหลกั การสรา งชาติสรา งคนและสรา งงาน มีปญญาเปน ทุนในการสรางงานและสรางรายได ตง้ั แตร ฐั บาลภายใต
การบริหาร ของนายกรฐั มนตรีเขา มาบรหิ ารประเทศ พรอมท้ังไดก าํ หนดนโยบายเรง รดั ในการพัฒนาและสง เสริมการ
ใช ICTเพือ่ การศกึ ษา ปจ จบุ ันการดําเนนิ งานตามพนั ธกิจสําคญั ไดมคี วามกา วหนา ตามลาํ ดบั อยางจรงิ จงั และเปน
รปู ธรรม

คมู อื กลมุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวิทยา 26

คูมอื กลมุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวทิ ยา 27

ขอบเขตการดําเนินงานของระบบสารสนเทศทางการศึกษาโรงเรียนวัชรวิทยา
1.รวบรวมขอมลู จาก งานยอยในกลมุ บรหิ ารงาน กลมุ งาน และกลุมสาระการเรียนรู
2.จดั ทําขอมูลพ้ืนฐานเสนอตอ ผบู ริการเพอื่ ใชในการบรหิ ารงานโรงเรียน
3.เปนหนวยใหข อมูล ในลักษณะขอ มูลทตุ ิยภูมิกบั หนว ยงานทตี่ อ งการใชขอ มูล ในกรณีทต่ี องการขอมูลท่ี

ละเอียดและชัดเจน ใหป ระสานกบั แหลงขอ มลู ปฐมภมู โิ ดยตรง
4.จัดทาํ ฐานขอมูลผลงานนักเรยี น ครู โรงเรยี นวัชรวิทยา
5.จดั ทํารายงานสารสนเทศโรงเรียนวัชรวทิ ยาประจําปก ารศึกษา

หมายเหตุ
ขอ มลู ปฐมภมู ิ หมายถึงขอมลู ทไี่ ดจ ากแหลงเกบ็ ขอมลู โดยตรง ไดแก กลุมบริหารงาน กลุมงาน และกลุม

สาระการเรยี นรู
ขอ มลู ทุติยภูมิ หมายถึงขอ มูลทกี่ ลมุ บรหิ ารงาน กลุมงาน และกลมุ สาระการเรียนรู ประมวลผลแลวสรปุ ตาม

แบบฟอรม ทอี่ อกโดยงานสารสนเทศ

คมู อื กลุม งานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา 28

ระบบสารสนเทศดว ยเครอื ขายจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส (E-mail) โรงเรยี นวชั รวทิ ยา
วัตถปุ ระสงค
1. เพือ่ สรา งเครือขา ยการสอ่ื สารภายในองคกรที่สะดวกและมีประสทิ ธิภาพ
2. เพอ่ื ประสานงานรับสงขอมูลทจ่ี าํ เปน ไดอยางสะดวก รวดเรว็ ถูกตอ งตอเนื่องและทนั ทว งที

การดาํ เนนิ การโครงการ
1. สรางฐานขอ มูลการใช E-mail ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนวัชรวิทยา
2. ใชE-mail ท่ีไดจ ากฐานขอ มลู ในการสงเอกสารและงานท่ีจาํ เปนใหกบั บคุ ลากร ไดแก

ขา วสารทางการศกึ ษา ผลงานนักเรยี น ผลงานครู ผลงานโรงเรยี น สถิติจาํ นวนนักเรียน
(ขอมูลจากกลมุ บริหารงานทว่ั ไป) ความเคล่อื นไหวจาํ นวนนักเรียน อัตรากําลงั
ขา ราชการครู และขอ มูลอ่ืนๆทีจ่ าํ เปนสาํ หรบั ครูผูสอน

การใชบรกิ ารขอมูล (กรณีเปน ผูสง ขอ มลู มายงั งานสารสนเทศ)
1.เขา ใชง าน E-mail ของทา น
2.เลือกเขียนจดหมาย โดยระบบ E-mail ผรู บั คือ [email protected]
3.พมิ พรายละเอียดและแนบไฟลร ูปภาพที่ตอ งการจะสง
4.เมือ่ สงขอมลู เรียนรอ ยจะไดร ับอีเมลข อบคณุ ตอบกลบั

คมู อื กลมุ งานพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวชั รวทิ ยา 29

ระบบสารสนเทศดวยเครือขาย SMS โรงเรียนวัชรวทิ ยา

วตั ถุประสงค
1. เพ่อื สรา งเครอื ขา ยการส่ือสารภายในองคก รทสี่ ะดวกและมีประสทิ ธิภาพ
2. เพ่อื สรา งระบบส่อื สารขอ มูลทีร่ วดเรว็ และสามารถประสานงานกบั บุคลากร

ไดอยา งทันทว งที

การดาํ เนนิ การโครงการ
1.รับขอมลู จากหนวยงานที่ตองการประชาสมั พันธห รอื แจง ขอมลู ขา วสาร โดยลกั ษณะขอมูลขาวสารที่ตอ ง

เปนขอ มลู ในลักษณะทีเ่ ปน ประโยชนตอ องคก รโดยรวม ซ่งึ ไดแ ก
- การแจงประชาสมั พนั ธผลงาน รางวลั
- การแจงขา วการประชุม หรือการนดั หมายธุระของโรงเรียน
- แสดงความยินดี กบั บคุ ลากร
- กิจกรรมอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม
2.กรองขอความใหก ระชับ(สูงสุดไมเ กิน 70 ตัวอกั ษร) แลว สง ขาวโดยใชร ะบบ INTERNET ใหก บั บคุ ลากร

ไดรับทราบ

ชองทางการรับขอมลู เพือ่ สง ขาว SMS
1.เขียนแบบฟอรมสงท่ีโตะงานสารสนเทศ กลมุ นโยบายและแผน
2.แจงขาวทางอเี มล โดยสงอเี มลม าท่ี [email protected]
3.โทรศัพทแ จง ท่ีหมายเลขภายใน 15 (หองนโยบายและแผน) ในเวลาราชการ
4.โทรหมายเลข 084-812-5386 (เจา หนาทส่ี ง SMS ) ตลอด 24 ช่ัวโมง

คมู ือกลุมงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา 30

แบบฟอรมสง SMS

ระบบเครือขายสือ่ สารโรงเรียนวชั รวิทยา

สวนท่ี 1 รายละเอียดผรู ับ

ผูทต่ี อ งการสง ถงึ (เลือกไดมากกวารายการ)

( ) ครูทัง้ โรงเรียน

( ) คณะกรรมการสถานศึกษา

( ) เครอื ขายผูปกครองนกั เรยี น สําหรบั เจาหนาที่

( ) อ่นื ๆ (โปรดระบุช่ือพรอมเบอรโ ทร).........................................

..................................................................................................................... ผลการคัดกรองขอความ
.....................................................................................................................

..................................................................................................................... (ไมเกิน 70 ตัวอักษร)
.....................................................................................................................

..................................................................................................................... ................................................................

สว นที่ 2 วนั และเวลาสง ................................................................

วันท่แี ละเวลาตองการใหสง ................................................................

( ) สงทันที ................................................................

( ) สงวนั .........ท่ี.......เดือน................................พ.ศ................เวลา................ ...................

สวนที่ 3 รายละเอียดขอ ความทตี่ อ งการใหสง (โดยยอ )

..........................................................................................................................................

..........................................................................................................................................

..........................................................................................................................................

..........................................................................................................................................

สว นท่ี 4 รายละเอียดผใู ชบ รกิ าร

ชอ่ื ครผู ูสง ขอ ความ......................................................โทร....................................................

ฝา ย/งาน/กลุมสาระการเรียนรู............ ................................................................................

รบกวนวางไวบ นโตะงานสารสนเทศ

เพ่อื จะรบี ดาํ เนินการใหเร็วทีส่ ดุ

ขอบคุณทีใ่ ชบ รกิ าร

งานสารสนเทศ โรงเรียนวัชรวิทยา

คมู อื กลุม งานพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวิทยา 31

เครือขายสารสนเทศออนไลน (SOCIAL NETWORK) โรงเรยี นวัชรวิทยา
http://www.facebook.com/watcharawittaya
วัตถปุ ระสงค

เพ่อื สรา งชองทางการแบงปน ขอมูลภายในหนวยงานท่ีบุคลากรสามารถ
นาํ เขาและใชประโยชนจากขอมลู ไดอยางสะดวกและรวดเรว็
ข้ันตอนการใชงาน
1. เขา เวบ็ ไซต โดยพิมพ http://www.facebook.com/watcharawittaya
การเขา ถึงทีง่ า ยท่สี ดุ งานเวบ็ ไซตโ รงเรียนไดทําลงิ ค face book ไวท ี่หนาเวบ็ ไซตโ รงเรยี นวัชรวทิ ยาแลวที่
http://www.wr.ac.th

คมู อื กลมุ งานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวิทยา 32

ระบบบริหารจัดการเกียรติบัตรโรงเรียนวชั รวทิ ยา
วัตถปุ ระสงค

1.เพ่ือกําหนดมาตรฐานของการออกเกยี รติบัตรโรงเรยี นใหเ ปนไปในรูปแบบเดยี วกัน
2.สรา งฐานขอมูลอา งองิ เกยี รติบัตรของโรงเรียนวชั รวทิ ยา
ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งาน

1.ผูตองการออกเกียรตบิ ตั รระบจุ ํานวนเกยี รตบิ ัตรในขน้ั ตอนของ
การเขียนแผนเพ่ือของบประมาณประจําป

2.เม่ือถึงกําหนดดําเนนิ โครงการและออกเกยี รตบิ ตั รสามารถตดิ ตอ
รับเกยี รติบัตรไดท่หี อ งกลมุ งานนโยบายและแผน (โตะ สารสนเทศ)
ตามจํานวนท่ีเขยี นไวใ นโครงการ

3.แบบฟอรม การพิมพเ กียรตบิ ัตร จะสงไปทางอีเมล โดยมีไฟล 2 ไฟล คือ
Name.xls เปนไฟลรายชอ่ื ใหท านเปด เพือ่ แกไขรายช่ือใหต รงกบั ทที่ า นตอ งการออกเกียรตบิ ตั รให เม่อื

แกไ ขเรยี บรอยใหป ด ไฟลท ันที
Card.doc เปน ไฟลพมิ พเกยี รตบิ ัตรท่เี ชื่อมโยงรายชอ่ื จาก Name.xls ทา นสามารถเลือกพิมพเ กียรติบตั ร

ไดค รั้งละหลายๆ ฉบบั ไดเ ลย
4.เลขท่เี กียรตบิ ตั ร ทานสามารถรับไดท ง่ี านสารสนเทศ ซงึ่ จะใหมาพรอ มกบั ตวั เกียรติบตั ร

คมู ือกลมุ งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นวัชรวทิ ยา 33

ฐานขอมลู ผลงานนกั เรยี น ครู และโรงเรียนวชั รวิทยา

วัตถุประสงค
1.เพ่อื บนั ทกึ และทาํ สถิติขอ มูล ผลงานและเกียรติประวตั ิของนกั เรียน ครู และโรงเรียนวัชรวทิ ยา
2.สรา งฐานขอมูลและเอกสารหลกั ฐานสาํ หรบั บุคลากรและนกั เรยี นใชใ นการอางอิงผลงาน

ขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน
1.ครผู เู ก่ียวขอ งหรือผูท ราบขอมูลสงขอมลู ใหก บั งานสารสนเทศ ไดห ลายชอ งทาง
- อีเมลล [email protected]
- โทรศพั ท ภายในหมายเลข 15 หรอื โทรศัพทห มายเลข 084 812 5386
- บนั ทกึ รายงานผอู ํานวยการ (จะถึงงานสารสนเทศเองโดยอตั โนมัติ)
(ควรมภี าพประกอบ 2-3 ภาพที่สอ่ื ถึงกจิ กรรมที่ดําเนินการดวย)
2.งานสารสนเทศจะดาํ เนินการจัดทาํ เปน ใบแสดงผลงาน
3.งานสารสนเทศจะแจงใบผลงานไปยงั อเี มลค รแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกทา นไดร ับทราบ
4.งานสารสนเทศจะพิมพใบแสดงผลงานและนาํ ไปประชาสัมพันธบริเวณที่ลงชอื่ ปฏิบตั ิราชการ

หนาหอ งธรุ การ
5.ส้ินปการศกึ ษาจะดําเนินการเปนรปู เลม ผลงานนักเรียน ครูและโรงเรียนประจาํ ปก ารศึกษา

คูม อื กลมุ งานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนวชั รวทิ ยา 34

คณะทํางาน

ทป่ี รึกษา

นายจาํ นง อนิ ทพงษ
นายสุนทร บญุ มี

กองบรรณาธกิ าร

นายชาตรี ศรีมว งวงค
นางดวงดาว บดรี ฐั
นายชวลิต เรอื นจรสั ศรี
นางสาวมาลัย ฟองนว้ิ
นางสาวกนกเรขา รักษช นม


Click to View FlipBook Version