The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปาริชาติ รอดเพ็ชร, 2021-10-17 09:12:33

เรื่อง อากาศรอบตัวเรา

อากาศ ป. 3

บทเรียน วิชาวิทยาศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3

เรือ่ ง อากาศรอบตัวเรา

โดย
ครปู าริชาติ รอดเพ็ชร

โรงเรียนชมุ ชนพิบลู สงคราม

อากาศและมลพิษทางอากาศ

เป้าหมายการเรียนรู้

1. ระบสุ ่วนประกอบของอากาศ บรรยายความสาคัญของ
อากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิตได้

2. ตระหนกั ถึงความสาคัญของอากาศ โดยนาเสนอแนว
ทางการปฏิบตั ิตนในการลด การเกิดมลพิษทางอากาศได้

อากาศทีอ่ ย่รู อบตวั เรา เพือ่ น ๆรู้หรือไม่ว่า กิจวัตรประจาวนั ของ
มีความสาคญั อย่างไร เราก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศได้หรือไม่

เพราะอะไร

เพือ่ น ๆ คิดว่า ในอากาศ
มีส่วนประกอบอะไรบ้าง

อากาศและมลพิษทางอากาศ

อากาศ (air) เปน็ สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติทีอ่ ย่รู อบตวั เรา
เราไม่สามารถมองเห็นอากาศได้ เพราะอากาศมีสถานะเป็นแก๊ส
ไม่มีสี และไม่มีกลิน่ อากาศประกอบด้วยแก๊สหลายชนิดทีม่ ีปริมาณ
ต่างกนั รวมท้งั ไอน้าและฝ่นุ ละอองต่าง ๆ หากส่วนประกอบในอากาศ
มีสดั ส่วนไม่เหมาะสม จะส่งผลกระทบหรืออาจเปน็ อนั ตรายต่อการ
ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ทีอ่ ย่บู ริเวณน้ันได้

ส่วนประกอบของอากาศ

อากาศที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรามีส่วนประกอบ
ของอากาศเปน็ แก๊ส หลายชนิด ซึ่งภายใน
อากาศจะประกอบไปด้วยแก๊สชนิดต่าง ๆ ดงั นี้

แก๊สไนโตรเจน (N2 ) มีอย่ใู นอากาศร้อยละ 78 เปน็ แก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดในอากาศ แก๊ส
ไนโตรเจนทาหน้าทีเ่ จือจางแก๊สออกซิเจนทีม่ ีอย่ใู น อากาศให้มีปริมาณทีเ่ หมาะสมกับการ
ดารงชีวิตของสิง่ มีชีวิต

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน (O2 )
(CO2 ) มีอย่ใู นอากาศร้อยละ มีอย่ใู นอากาศร้อยละ 21 เปน็
0.04 แก๊สอืน่ ๆ ได้แก่ แก๊ส แก๊สทีส่ าคัญที่สุดของสิง่ มีชีวิต
อาร์กอน ไอน้า และฝ่นุ เพราะสิง่ มีชีวิตต่าง ๆ ใช้แก๊ส
ละออง มีอย่ใู นอากาศร้อยละ ออกซิเจนในการหายใจ
0.96

1.2 สมบตั ิของอากาศ

อากาศเป็นสสารที่มีสถานะแก๊ส ซึ่งมีมวล ต้องการทีอ่ ยู่
มีรปู ร่างไม่แน่นอน ไม่มีสี ไม่มีกลิน่ และสัมผัสได้ ซึ่งสิง่ เหล่าน้ี คือ
สมบัติของอากาศ

อากาศมีมวล
เมื่อเราเป่าอากาศเข้าไปใน
ลูกโป่งให้มีขนาดต่างกัน แล้ว
ผูกไว้ทีป่ ลายไม้ท้งั 2 ข้าง
ไม้จะเอียงไปทางลูกโป่งทีม่ ี
ขนาดใหญ่ แสดงว่า

“อากาศมีมวล”

อากาศสมั ผัสได้

เมื่อเราเป่าอากาศเข้าไปในลกู โป่ง
แล้วปล่อยอากาศออกจากลูกโป่ง
เราจะสมั ผัสถึงอากาศที่ปล่อย
ออกมาจากลกู โป่งได้

อากาศมีแรงดันทุกทิศทาง
เมือ่ เราเป่าอากาศเข้าไปใน
ลูกโป่ง ลูกโป่งจะขยายตัว
ออกทุกด้าน ซึง่ เกิดจาก
แรงดนั ของอากาศที่ดัน
ลกู โป่งทุกทิศทาง

อากาศต้องการที่อยู่

เมือ่ เราเป่าอากาศเข้าไปในลูกโป่ง
ลกู โป่งจะพองขึ้น แต่เมือ่ เราปล่อย
อากาศออก ลกู โป่งจะแฟบลง
แสดงว่าอากาศต้องการที่อยู่

1.3 ความสาคัญของอากาศ

สิง่ มีชีวิตใช้แก๊สออกซิเจนในการหายใจ เพื่อ
สร้างพลงั งานให้กับร่างกาย แล้วปล่อย
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา

พืชใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในกระบวนการสร้าง
อาหารของพืชและจะคายแก๊สออกซิเจนออกมา

แก๊สออกซิเจนในอากาศจะทาให้เกิด
กระบวนการเผาไหม้ เพือ่ ให้ความร้อน

และแสงสว่างแก่มนษุ ย์

อากาศมีมวล อากาศจึงมแี รงตา้ นทาน อากาศที่ห่อหุ้มโลกจะช่วยกรอง
วัตถุตา่ ง ๆ ที่ตกมาจากฟา้ เช่น ความร้อนที่มาจากดวงอาทิตย์
กอ้ นอกุ กาบาต เมื่อเขา้ สู่ชั้น เพื่อให้ส่องลงมายงั โลกน้อยลง
ทาให้อณุ หภมู ิบนโลกไม่ร้อนเกินไป
บรรยากาศของโลกจะเกดิ การเผาไหม้
แล้วทาให้มีขนาดเลก็ ลง

เม่ืออากาศไดร้ บั ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ อากาศจะเคล่ือนท่ี
สงู ขนึ้ ทาํ ใหเ้ กิดลมพดั และก่อใหเ้ กิดการหมนุ เวียนของนา้ํ ซง่ึ จะ
ปรบั อณุ หภมู ิของโลกใหม้ ีความเหมาะสมตอ่ การดาํ รงชีวติ ของ

ส่งิ มีชวี ติ บนโลก

มลพิษทางอากาศต่อสิง่ ชีวิต

มลพิษทางอากาศ หมายถึง

ภาวะของอากาศที่มีการเจือปนด้วยสารต่าง ๆ
ทีก่ ่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและเปน็ อันตราย
ต่อสิ่งมีชีวิต เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สออกไซด์ของ
ไนโตรเจน ฝ่นุ ละอองต่าง ๆ ซึง่ สารทีก่ ่อให้เกิด
มลพิษทางอากาศสามารถเกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทาของมนษุ ย์
เช่น ภเู ขาไฟปะทุ ไฟป่า การปล่อยควนั พิษ
ของโรงงานอุตสาหกรรม การเผาไหม้เชื้อเพลิง
ของรถยนต์

ผลกระทบของมลพษิ ทางอากาศ

มลพิษทางอากาศอาจก่อให้เกดิ อนั ตรายต่อสขุ ภาพของมนษุ ย์ได้ เช่น กอ่ ให้เกดิ การระคายเคืองของ
ดวงตา จมกู และคอ เกดิ โรคที่เกี่ยวกบั ระบบทางเดินหายใจ เกดิ อาการวิงเวียนศรี ษะ คลื่นไส้ อาเจียน
หมดสติ หรือตายได้ มีผลต่อการมองเหน็ เช่น การเกิดควนั หรือฝนุ่ ละอองปนในอากาศมาก ทาให้แสง
สว่างจากดวงอาทิตย์สอ่ งลงมาได้น้อยกวา่ ปกติ ทาให้เกดิ อบุ ตั ิเหตทุ างอากาศหรือบนท้องถนนได้ง่าย

สตั ว์ต่าง ๆ อาจได้รบั สารพิษเข้าสู่ร่างกายได้โดยตรงจาก การหายใจ การกนิ หญ้า
หรือกนิ พืชอืน่ ๆ ทีม่ ีสารพิษจาก อากาศตกสะสมอยู่ทีพ่ ืชในปริมาณมาก อาจทาให้
ร่างกายของสัตว์มคี วามผิดปกติหรือตายได้

พืชเปน็ สิ่งมชี ีวิตที่ อาจได้รบั ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศนอ้ ยเมื่อเทียบกบั
สิง่ มีชวี ติ ชนิดอื่น ซึ่งผลกระทบทีพ่ ืชได้รบั เช่น มีฝุ่นเกาะที่บริเวณใบของพืช
ทาให้พืชสร้างอาหารได้นอ้ ยลง การเปลี่ยนสีของใบ การเกดิ แผลทีใ่ บของพืช

แนวทางการปฏิบตั ติ น เพอ่ื ลดมลพษิ ทางอากาศ

1.ไมเ่ ผาขยะ เชน่ 2. ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ 3. ชว่ ยกนั ปลูกตน้ ไม้
ยาง พลาสติก เพราะตน้ ไมด้ ูดซบั แกส๊
ทที่ ําให้เกิดววันพษิ ทที่ าํ มาจากพลาสตกิ วารบ์ อนไดออกไซด์ได้
หรือโฟม เช่น ใชป้ ่ินโต
แทน กลอ่ งโฟม ใชถ้ งุ ผ้า
แทนการ ใช้ถงุ พลาสติก

4. ใชร้ ถจักรยานหรอื การเดนิ 5. หม่ันตรวจสอบสภาพ 6. ใช้พลงั งานจากแหล่ง
เพื่อเดนิ ทาง ไปตามสถานที่ ของเวร่อื งยนต์ ให้อยู่ในสภาพท่ี พลงั งานหมนุ เวียน เช่น
ต่าง ๆ ท่ีมี ระยะทางใกล้ ๆ สมบูรณ์ อย่างสม่ําเสมอ ใชพ้ ลังงานแสงอาทิตย์
แทนการขบั รถยนต์ ในการผลิตไฟฟ้าหรอื ให้
ววามรอ้ น

เกรด็ วทิ ย์ นา่ รู้

ฝนุ่ PM 2.5 เปน็ ฝุ่นละอองที่มีขนาดเลก็ มาก เลก็ กวา่ เส้นผมถึง
20 เทา่ เมื่อเราสูดอากาศท่ีมีฝนุ่ PM 2.5 เข้าไปจะทาํ ให้ฝนุ่ ผ่านขนจมูก
เขา้ สปู่ อดและหลอดเลอื ดไดง้ า่ ย อาจทาํ ให้เราเปน็ โรวเกี่ยวกับระบบ
ทางเดินหายใจได้ เราจึงววรอย่ใู นบรเิ วณทีไ่ มม่ ีฝนุ่ หรอื ววรใส่หน้ากาก
อนามยั ชนดิ พิเศษ (N95) เพื่อป้องกันฝุ่น PM 2.5

จบแลว้ วะ่


Click to View FlipBook Version