๑.๑.๒ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
๑) ตาํ แหน่งท่ตี ั้ง
ปร ะเทศ ลาวมีพ ร มแ ดนด้าน ทิศเหนื อติด กั บป ร ะเทศจี น
และเมียนมา ด้านทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม
ด้ า น ทิ ศ ใ ต้ ติ ด ก ั บ ป ร ะ เ ท ศ ก ั ม พู ช า ด้ า น ทิ ศ ต ะ ว ั น ต ก
ตดิ กบั ประเทศไทย มีเน้ือที่ประมาณ ๒๓๖,๘๐๐ ตารางกิโลเมตร
ลาวเป็นประเทศทไี่ ม่มีทางออกสทู่ ะเล แตม่ ีภูมปิ ระเทศเป็นท่ีราบ
และภเู ขาสลับซบั ซอ้ น แมน่ ้ําสายสาํ คัญของลาว ไดแ้ ก่ แม่น้ําโขง
และแม่น้ํ าอู
แผนท่แี สดงอาณาเขตของประเทศลาว
๒) เศรษฐกจิ
ป ร ะ ช า ก ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม
พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ยาสูบและไม้
อุตสาหกรรมท่ีสําคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมด้านพลังงานไฟฟ้า
โทรคมนาคม และเหมืองแร่ ประเทศไทยเป็นผู้สั่งซ้ือพลังงาน
ไฟฟา้ รายใหญจ่ ากประเทศลาว
การทาํ เกษตรกรรมข้าวโพดในประเทศลาว
๓) สงั คม
ประเทศลาวเป็นประเทศท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ
แต่กลุ่มชาติพันธ์ุลาวเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็น
พ ว ก ไ ท ข า ว ไ ท ดํ า แ ล ะ ก ลุ่ ม ท่ี อ า ศ ั ย อ ยู่ ใ น บ ริ เ ว ณ ภู เ ข า
ได้แก่ ม้ง เย้าและข่า ประชากรของประเทศลาวส่วนใหญ่นับถือ
พระพทุ ธศาสนา
ประชาชนส่วนใหญน่ ับถอื พระพทุ ธศาสนา
ประตูชยั อนสุ รณ์สถานทสี่ รา้ งข้นึ ใน พ.ศ. ๒๕๑๒
เพ่ือระลกึ ถึงวรี ชนที่ตอ่ สูใ้ นสงคราม
๔) การเมืองการปกครอง
ลาวได้รับเอกราชให้ปกครอง ตนเองจากฝร่ังเศส
เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๗ ปัจจุบันลาวมีระบอบการปกครองแบบ
สาธารณรัฐ ที่นํ าโดยพรรคคอมมิวนิสต์ ช่ือพรรคประชาชน
ปฏิวัติลาว มีประธานประเทศเป็ นประมุขของประเทศ
บรหิ ารงานอยู่ทก่ี รุงเวียงจันทนซ์ ่ึงเป็นเมอื งหลวง
ประเทศลาว
๕) พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์
ดินแดนลาวมผี ู้ต้ังถ่ินฐานมาชา้ นาน ต่อมาจึงได้มกี ารพัฒนา
เ ป็ น บ้ า น เ มื อ ง ก ษ ั ต ริ ย์ ล า ว พ ร ะ อ ง ค์ แ ร ก ที่ ไ ด้ ร ว บ ร ว ม ล า ว
เป็ นปึ กแผ่น คือ เจ้าฟ้างุ้ม ซ่ึงปกครองอาณาจักรล้าน ช้าง
ที่มีอิทธิพลในลุ่มน้ํ าโขง บริเวณเมืองหลวงพระบาง จนกระท่ังถึง
เมืองเวียงจันทน์และดินแดนบางแห่งในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
ของประเทศไทยในปัจจบุ นั
พระเจา้ ฟา้ ง้มุ
๑.๑.๓ ราชอาณาจักรกมั พูชา
๑) ตาํ แหน่งทต่ี ัง้
ประเทศกัมพูชามีพรมแดนด้านทิศเหนือติดกับประเทศไทย
และลาว ด้านทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ด้านทิศใต้
ติดกับอ่าวไทย มีเน้ื อที่ประมาณ ๑๘๑,๐๓๕ ตารางกิโลเมตร
ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ก ั ม พู ช า มี ท ั้ ง ภู เ ข า แ ล ะ ที่ ร า บ ก ว้ า ง ใ ห ญ่
และมีทะเลสาบน้ํ าจืดขนาดใหญ่ท่ีสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
คือ โตนเลสาบ หรือทะเลสาบเขมร มีแม่น้ํ าสายสําคัญ ได้แก่
แม่น้ําบาสกั และแมน่ ้ําโขง
แผนท่แี สดงอาณาเขตของประเทศกมั พชู า
๒) เศรษฐกิจ
สินค้าเกษตรกรรมที่เป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศ
กัมพูชา ได้แก่ การประมงและการทําป่าไม้ สําหรับสินค้าส่งออก
ได้แก่ ข้าว ไม้ และยางพารา รองลงมา ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง
ผลไม้ และปลา
การประมงในประเทศกมั พชู า
๓) สงั คม
ประเทศกมั พูชา ประชากรสว่ นใหญเ่ ป็นกล่มุ ชาติพันธ์ุเขมร
นอกจากน้ียังมีกลุ่มชาติพันธุ์เวียดนาม จีน จาม และชาวเขาเผ่า
ต่ า ง ๆ อ า ศ ั ย อ ยู่ ป ร ะ ช า ก ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส่ ว น ใ ห ญ่ น ั บ ถื อ
พระพทุ ธศาสนา ภาษาประจําชาติ คอื ภาษาเขมร
นครวัดเป็นศาสนสถานที่สาํ คญั ของประเทศกัมพชู า
๔) การเมอื งการปกครอง
กัมพูชาได้รับเอกราชให้ปกครองตนเองจากฝร่ังเศส
เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๗ ปัจจบุ ันประเทศกัมพูชาปกครองด้วยระบอบ
ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข บริหารประเทศ
โดยคณะรัฐมนตรี ซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ
มีศูนย์กลางการปกครองท่ีกรุงพนมเปญ ซ่ึงเป็นเมืองหลวง
ของประเทศ
ประเทศกมั พชู า
๕) พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์
กัมพูชาเป็นชาติที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน สามารถ
ก่อต้ังอาณาจักรต่าง ๆ เช่น อาณาจักรฟูนันท่ีมีศูนย์กลางอยู่ท่ี
บริเวณสามเหล่ียมปากแม่น้ํ าโขง หรืออาณาจักรเจนละในบริเวณ
ลุ่มน้ํ าโขง ต่อมากษัตริย์กัมพูชา คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๒
ได้รวบรวมดินแดนต่าง ๆ ที่เคยข้ึนอยู่กับอาณาจักรเจนละ
ในลุ่มน้ํ าโขง และเมืองในบริเวณทะเลสาบเขมรเป็นอาณาจักร
กมั พูชา
๑.๒ ความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ ง
ประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน
การศึกษาเก่ียวกับความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก ั บ ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ น บ้ า น จ ะ ทํ า ใ ห้ เ ข้ า ใ จ เ ก่ี ย ว ก ั บ
ประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบ้านไดด้ ยี ่ิงข้ึน
๑.๒ ความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ ง
ประเทศไทยกบั ประเทศเพ่อื นบ้าน
เม่ือมองภาพเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้จากสายตาของ
คนภายนอก อาจคิดว่าคนในภูมิภาคนี้ มีลักษณะเหมือนกัน
เน่ืองจากรูปร่างหนา้ ตาของผู้คน เช่น คนไทย กัมพูชา มาเลเซีย
เมียนมา และลาวไม่แตกต่างกันมากนัก ประชากรส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอาศัยอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เป็น
เขตร้อนช้ืนเช่นเดียวกัน อีกทั้งยังรับประทานอาหารหลัก คือ ข้าว
เหมือนกันอีกด้วย แต่ในข้อเท็จจริง ประเทศไทยมีความแตกต่าง
จากประเทศเพ่อื นบ้านในบางประเด็น ดงั น้ี
๑.๒.๑ ทางด้านภมู ศิ าสตร์
ประเทศไทยมีที่ต้ังซ่ึงเป็นศูนย์กลางของภาคพ้ืนทวีปเอเชีย-
ตะวันออกเฉี ยงใต้ สามารถติดต่อกับประเทศเพ่ือนบ้านต่าง ๆ
ท้ังทางบกและทางน้ําได้โดยสะดวก ในขณะที่ประเทศเพ่ือนบ้านบาง
ประเทศ มีข้อจํากัดในการติดต่อกับประเทศอ่ืน เช่น ประเทศลาว
ซ่งึ ไมม่ ีทางออกสทู่ ะเล
๑.๒.๒ ด้านวฒั นธรรม
เ ป รี ย บ เ ที ย บ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ท า ง ว ั ฒ น ธ ร ร ม ร ะ ห ว่ า ง
ประเทศไทยกบั ประเทศเพ่อื นบา้ นในด้านต่าง ๆ ดังน้ี
๑) ชาติพันธุ์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกคนส่วนใหญ่เป็น
กลุ่มชาติพันธุ์มองโกลอยด์ รวมท้ังชาวไทย แต่ในแต่ละประเทศ
ประกอบดว้ ยคนเช้อื ชาติแตกตา่ งกนั
๒) ภาษา คนไทยใช้ภาษาไทยเป็ นภาษาประจําชาติ
ซ่ึงแตกตา่ งจากชาตอิ ่นื ๆ ภาษาไทยจงึ ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ประจํา
ชาติไทย
๓) ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยนับถือ
พระพุทธศาส นา เช่นเดี ยวกับกัมพูชา เมียน มา และลา ว
ในประเทศมาเลเซยี ประชากรส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาอิสลาม
ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทย
นับถอื พระพุทธศาสนา
ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศมาเลเซยี
นับถอื ศาสนาอสิ ลาม
๑.๒.๓ ด้านเศรษฐกิจ
คนไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรม
การเกษตร เช่น การทําน้ําผลไม้ อาหารกระปอ๋ ง เชน่ เดยี วกบั ประเทศ
เพ่ือนบา้ นบางประเทศ เชน่ กัมพูชา เมียนมา และลาว ขณะที่ประเทศ
มาเลเซียส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านอุตสาหกรรม และ
เทคโนโลยที ี่ทนั สมัย
๑.๒.๔ ภมู หิ ลังทางด้านประวตั ิศาสตร์
ประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบ้าน แม้ว่าจะมีที่ตั้งอยู่ใน
ภมู ิภาคเดียวกัน แต่มีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน ซ่ึงมีผล
ให้การพัฒนาประเทศแตกต่างกัน เช่น การเป็นอาณานิคมของชาติ
ตะวันตกในพทุ ธศตวรรษที่ ๒๕
๑.๒.๕ การเมอื งการปกครอง
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ก า ร ป ก ค ร อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศกัมพูชา
และประเทศมาเลเซีย แต่พระราชาธิบดีของแต่ละรัฐในมาเลเซีย
ผลัดเปล่ียนกันเป็นประมุขของประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยยังมี
ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ที่ แ ต ก ต่ า ง จ า ก ล า ว ซ่ึ ง ป ก ค ร อ ง ด้ ว ย
ระบอบสังคมนิยม
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข
ตาราง ตวั อยา่ งการเปรยี บเทียบประเทศไทย
กบั ประเทศเพ่อื นบา้ น
ตาราง ตวั อยา่ งการเปรยี บเทียบประเทศไทย
กบั ประเทศเพ่อื นบา้ น
จัดทำ E- book
โดย
นำงสำวอุดมลักษณ์ ลำเลิศ
เนือหำจำก สถำบนั พฒั นำคุณภำพวชิ ำกำร (พว.)