The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Onanong Pongklang, 2019-12-17 03:12:09

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย

เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคานึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และก่อให้เกิด
ผลเสียหายตอ่ สง่ิ แวดล้อมนอ้ ยท่ีสดุ รวมท้งั ตอ้ งมกี ารกระจายการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ
อย่างทั่วถึง ในปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีความเส่ือมโทรมมากขึ้น
ดังน้ันการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงมีความหมายรวมไป ถึง
การพัฒนาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มด้วย

1

การใชเ้ ทา่ ท่ีมคี วามจาเปน็ เพอื่ ใหม้ ที รพั ยากรไว้ใชไ้ ดน้ านและเกดิ ประโยชนอ์ ย่างค้มุ ค่ามากทส่ี ดุ

2

ส่ิงของบางอย่างเมอื่ มีการใช้แล้วครั้งหน่ึงสามารถท่ีจะนามาใชซ้ ้าได้อีกหรือสามารถ
ที่จะนามาใช้ได้ใหม่โดยผ่านกระบวนการต่างๆ ซ่ึงเป็นการลดปริมาณการใช้
ทรัพยากรและการทาลายส่ิงแวดล้อมได้

3

สง่ิ ของบางอยา่ งเม่อื ใช้เป็นเวลานานอาจเกดิ การชารุดได้ เพราะฉะน้นั ถ้ามกี ารบูรณะซอ่ มแซม
ทาใหส้ ามารถยดื อายุการใชง้ านตอ่ ไปไดอ้ กี

4

เปน็ วิธกี ารทจี่ ะช่วยลดความเส่ือมโทรมของทรัพยากรด้วยการบาบัดกอ่ น ส่วนการฟ้ืนฟู
เปน็ การรอ้ื ฟ้นื ธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดมิ

5

เปน็ วธิ ีการทจ่ี ะชว่ ยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาตินอ้ ยลงและไมท่ าลายสิ่งแวดล้อม

6

เป็นวิธกี ารท่ีจะไมใ่ ห้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มถกู ทาลาย

1

โดยสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่ถูกต้องตามหลักวิชา
เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นในการอนุรักษ์ เกิดความรัก
ความหวงแหน และใหค้ วามร่วมมอื อยา่ งจริงจัง

2

การจัดตั้งกลุ่ม ชุมชน ชมรม สมาคม เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่างๆ
ตลอดจนการให้ความร่วมมือท้ังทางด้านพลังกาย พลังใจ พลังความคิด ด้วยจิตสานึกในคุณค่า
ของส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรท่มี ตี ่อตวั เรา

3

ช่วยกันดูแลรักษาให้คงสภาพเดิม ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม เพ่ือประโยชน์ในการดารงชีวิต
ในท้องถิ่นของตน การประสานงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักระหว่าง
หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน ให้มีบทบาทหน้าท่ีในการปกป้อง
คุ้มครอง ฟ้นื ฟูการใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ ค่าและเกิดประโยชน์สงู สุด

4

ช่วยในการจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การใช้
ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณ์เคร่ืองมือ
เครื่องใช้ให้มีการประหยัดพลังงานมากขึน้ การค้นคว้าวจิ ัยวิธีการจัดการ การปรับปรุง พัฒนา
สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพและยง่ั ยนื เป็นตน้

5

ในการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาส่ิงแวดล้อมท้ังในระยะสนั และระยะยาว เพื่อเป็นหลักการให้หน่วยงานและ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเกี่ยวข้องยึดถือและนาไปปฏิบัติ รวมท้ังการเผยแพร่ข่าวสารด้านการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ท้ังทางตรงและทางออ้ ม

หมายถึง แรงงงานท่ีได้มาจากธรรมชาติ เช่น ได้จาก

นา้ แสงแดด คล่ืน ลมและเช่อื เพลงิ ธรรมชาติ (Fossil Fuel) ซง่ึ ได้แก่ ถ่านหิน
น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ นอกจากนียังได้พลังงานจากความร้อนใต้พิภพ แร่
นิวเคลียร์ ไม้ฟืน แกลบ และชานอ้อย พลังงานท่ีได้จากแหล่งต่างๆ เรียกว่า
พลังงานตน้ กา้ เนิด (Primary Energy)

ส่วนพลังงานท่ีไดม้ าด้วยการน้าพลงั งานต้นก้าเนดิ ดังกล่าวมาแปรรูปเพ่ือ
ใช้ประโยชน์ในลกั ษณะตา่ งๆ เช่น พลังงานไฟฟ้า ผลิตภัณฑป์ ิโตรเลยี ม ถา่ นโค๊ก
และก๊าซหุงต้ม เราเรียกพลังงานประเภทนีว่า พลังงานแปรรูป (Secondary
Energy)

เป็นพลังงานหมุนเวียน ซ่ึงเปน็ พลังงานทส่ี ะอาด ไมส่ ง่ ผลต่อสิ่งแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่

ฟืนและถ่าน พลงั งานน้า

พลังงานลม

พลงั งานแสงอาทิตย์

พลังงานความรอ้ นใตพ้ นื พภิ พ พลงั งานจากชีวมวล

เป็นพลังงานสิ้นเปลืองไม่สามารถฟื้นฟูข้ึนมาใหม่เป็นพลังงานท่ีเกิดจากซากสัตว์
ถกู ทบั ถมไวน้ ับล้านๆ ปี ไดแ้ ก่

ถ่านหิน เกิดจากการท่ีพืชถูกทับถมในหนองน้าใต้ดินและโคลนในสภาพท่ี

ไม่เน่าเปื่อย แต่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ได้ออกซิเจนของแบคทีเรีย ต่อมา
พ้ืนโลกได้เปลี่ยนแปลงทางด้านธรณีวิทยาแรดกดดันที่เกิดขึ้นทาให้น้าและสาร ละเหย
ถูกขจัดออกไป ทาให้อะตอมของไฮโดรเจนรวมตัวกับอะตอมของคาร์บอนได้เป็น
สารประกอบไฮรโดรคาร์บอน หรอื ถ่านหนิ ชนดิ ต่างๆ ข้ึนมา


Click to View FlipBook Version