The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถ่ายทอดข้อมูล ที่อ่านเข้าใจง่าย และตอบคําถามที่คุณพ่อ คุณแม่อยากรู้ เกี่ยวกับการดูแลรักษาเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by E-book Dent-QSNICH, 2020-05-20 21:48:01

ไขข้อข้องใจ ผู้ปกครองเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

ถ่ายทอดข้อมูล ที่อ่านเข้าใจง่าย และตอบคําถามที่คุณพ่อ คุณแม่อยากรู้ เกี่ยวกับการดูแลรักษาเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

Keywords: cleft lip cleft palate

คลายสงสยั
ไขข้อข้องใจ

ผปู้ กครองเด็ก

ปากแหวง่ เพดานโหว่

����������� ������������������������������-OK.indd 1 19/9/2562 BE 11:33

ผู้จจัดาทกำหในจังสือ

หนงั สอื ไขขอ้ ขอ้ งใจผปู้ กครองเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหวฉ่ บบั น ้ี จดั ทาำ ขน้ึ
โดยทมี สหวทิ ยาการ สถาบันสุขภาพเดก็ แห่งชาตมิ หาราชิน ี ที่พยายาม
ถา่ ยทอดขอ้ มลู ที่อ่านเข้าใจง่าย และตอบคำาถามที่คุณพ่อ คุณแม่อยากรู้
เกี่ยวกับการดูแลรักษาเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

เนอ้ื หาและคาำ แนะนาำ ตา่ งๆ ในหนงั สอื เลม่ น ้ี เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล
ของการดแู ลเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว ่ แมว้ า่ อาจจะมรี ายละเอยี ดปลกี ย่อย
บางเร่ืองท่ีแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละรายซ่ึงแสดงถึงความมีเอกลักษณ์
เฉพาะตวั ในการดแู ลผปู้ ว่ ยกลมุ่ น ้ี คณะผจู้ ดั ทาำ ไดพ้ ยายามกลน่ั กรองถงึ ความ
เหมาะสม และเลอื กแลว้ ซง่ึ แนวทางนน้ั ๆ มาใหก้ ารดแู ลบตุ รหลานของทา่ น

อยา่ งไรก็ตามเพียงความสามารถของผใู้ ห้การรักษาไมอ่ าจคนื รอยย้มิ สู่
เด็กปากแหวง่ เพดานโหว่ไดอ้ ย่างสมบรู ณ ์ ผู้ทมี่ ีส่วนสำาคัญท่สี ดุ ต่อความ
สำาเร็จในการรักษา คือ ผู้ปกครองทีต่ อ้ งอาศัยความพยายามและทุ่มเทใน
การดูแลเด็กและปฏิบัติตามคำาแนะนำาของผู้ให้การรักษาอย่างเคร่งครัด

คณะผู้จัดทำาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะมีส่วนช่วยให้
ผู้ปกครองเกิดความเข้าใจและม่ันใจในการรักษาเด็กปากแหว่งเพดานโหว่
ของสถาบนั สขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชนิ ี พร้อมคนื รอยยม้ิ สุขภาพกาย
และใจที่ดสี ู่เด็กปากแหว่งเพดานโหว่ทุกคนสบื ไป

คณะผู้จัดทาำ
กันยายน 2562

����������� ������������������������������-OK.indd 2 19/9/2562 BE 11:33

สารบัญ

หนา้
ภาวะปากแหว่งเพดานโหวก่ บั กมุ ารแพทย์ 1
ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว่กับ ศัลยแพทยต์ กแตง่ 4
ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว่กับ โสต ศอ นาสกิ แพทย์ 7
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่กบั การฝกึ พูด 9
ภาวะปากแหวง่ เพดานโหวก่ ับ ทนั ตแพทย์ 11
ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว่กับ การกินนมแม่ 15
ภาวะปากแหว่งเพดานโหวก่ บั จติ แพทย์ 20
ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว่กบั จกั ษแุ พทย์ 22

����������� ������������������������������-OK.indd 3 19/9/2562 BE 11:33

ภาวะปากแหว่งเพดานโหวก่ ับกมุ ารแพทย์

พญ.จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์
งานพนั ธศุ าสตร์และเมตาบอลสิ ม กลมุ่ งานกมุ ารเวชศาสตร์

ปากแหวง่

ริมฝีปากของทารกในครรภ์จะพัฒนาสมบูรณ์ขณะมารดาตั้งครรภ์
สัปดาห์ท ี่ 4-7 ถา้ มกี ารพฒั นาหรอื ประสานของเนอ้ื เยอื่ ของริมฝีปากไม่
สมบูรณ์ จะเกิด ภาวะปากแหวง่ ความรุนแรงของ ปากแหวง่ มีต้งั แต่ รอย
แหวง่ ของริมฝปี ากเล็กนอ้ ย จนถงึ แหวง่ ลกึ เขา้ ไปในจมูก ปากแหวง่ อาจมี
ข้างเดียวหรือ 2 ขา้ งกไ็ ด้

เพดานโหว่

เพดานปากของคนเราพฒั นาสมบรู ณ ์ ขณะทม่ี ารดาตง้ั ครรภ ์ สปั ดาห ์
ที ่ 6-9 เพดานโหวเ่ กดิ จาก เนือ้ เยอ่ื เพดานไม่ไดเ้ ชือ่ มตดิ กนั สมบูรณ ์ ซึง่
ความรนุ แรงมีตงั้ แต ่ โหวเ่ ลก็ นอ้ ย จนถงึ โหว่ตลอดแนวเพดาน

อบุ ัติการณก์ ารเกิด พบไดบ้ อ่ ยหรือไม่

พบเด็กปากแหวง่ เพดานโหว ่ 1 คน จากเดก็ 700-800 คน

1 คลายสงสัย... ไขข้อขอ้ งใจ 19/9/2562 BE 11:33
ผู้ปกครองเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่
สถาบันสขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาตมิ หาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 4

สาเหตุเกิดจากอะไร

แบ่งสาเหตปุ ากแหว่ง เพดานโหว่ เปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่
- กลมุ่ แรก คอื มี ปากแหวง่ เพดานโหว ่ อยา่ งเดียว (โดยทไ่ี ม่มี
ความผดิ ปกตอิ นื่ รว่ มด้วย) พบเปน็ ส่วนใหญ ่ ร้อยละ 70 กลุม่ น้ียงั ไม่มี
ขอ้ สรปุ สาเหตทุ ่แี นช่ ดั ในเบอื้ งตน้ คดิ ว่าเกิดจากหลายๆ ปัจจยั (พันธุกรรม
และสง่ิ แวดลอ้ ม) รว่ มกนั บางรายมสี าเหตมุ าจากพนั ธกุ รรม บางราย มาจาก
สง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ยาหรอื สารตา่ งๆ ทม่ี ารดาใชห้ รอื โรคในมารดาระหวา่ งตง้ั ครรภ์
- กลมุ่ ท ่ี2 สว่ นนอ้ ย รอ้ ยละ 30 จะมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ความผดิ ปกติ
อน่ื ๆ รว่ มดว้ ย อาจมสี าเหตจุ ากโครโมโซมผดิ ปกต ิ หรอื โรคพนั ธกุ รรมอน่ื ๆ
ดงั นน้ั จึงจาำ เป็นตอ้ งตรวจร่างกายท้ังหมด เพือ่ หาความผดิ ปกติใน
ระบบอ่ืนๆ กอ่ นทีจ่ ะวนิ ิจฉัยหรือสรปุ วา่ เป็นชนดิ ใด

ปจั จยั เสย่ี งทท่ี ำใหเ้ กดิ อาการปากแหวง่ เพดานโหว่
มีอะไรบ้าง

- ในปจั จบุ นั พบวา่ ปจั จยั เสย่ี งทท่ี าำ ใหเ้ กดิ อาการปากแหวง่ เพดานโหว ่
ได้แก ่ การสูบบุหรใ่ี นระหว่างตงั้ ครรภ ์ มารดาเปน็ เบาหวาน มารดาทานยา
กันชกั เชน่ valproic acid โดยเฉพาะในชว่ ง 3 เดือนของการตงั้ ครรภ์

การปอ้ งกัน

- เนื่องจากยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ทำาให้ไม่มีแนวทางป้องกัน
ความผิดปกตปิ ากแหวง่ เพดานโหว่ทีช่ ัดเจน

คลายสงสยั ... ไขขอ้ ขอ้ งใจ 2

ผูป้ กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเดก็ แห่งชาตมิ หาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 5

การตรวจวนิ จิ ฉัยหาสาเหตทุ างพันธุกรรม

- เนื่องจากปากแหว่งเพดานโหว่อย่างเดียว ไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด
การตรวจพันธุกรรมจงึ ไม่นิยมทาำ ในกลมุ่ นเ้ี พือ่ หาสาเหตุ
- ในรายทม่ี ปี ากแหวง่ เพดานโหวร่ ว่ มกบั ความผดิ ปกตอิ น่ื การตรวจ
พันธุกรรมทางห้องปฏิบตั กิ าร ม ี 2 ชนดิ ใหญ่ๆ ไดแ้ ก่
1. การตรวจแทง่ พนั ธกุ รรมหรอื โครโมโซม มตี รวจทว่ั ไปทง้ั การตรวจ
กอ่ นคลอด (เชน่ การเจาะน้าำ คร่าำ ) หรือการตรวจในเลือดหลังคลอด
2. การตรวจพันธุกรรม ยีน หรอื หนว่ ยย่อยในโครโมโซม ซึ่งยนี ใน
ร่างกายคนเรามหี ลายหม่นื ยีน การตรวจแทง่ โครโมโซมทป่ี กต ิ ไม่ได้บง่ บอก
ถงึ รายละเอยี ดของยนี ในรายที่สงสยั ความผิดปกติของยีน จำาเปน็ ตอ้ งตรวจ
เฉพาะยีนนัน้ ๆ

โอกาสเกิดซา้ํ

- ขนึ้ อยกู่ บั สาเหตขุ องการเกิดโรค
- ในกลมุ่ ทไ่ี มท่ ราบสาเหต ุ (มอี าการปากแหวง่ เพดานโหวอ่ ยา่ งเดยี ว
โดยไมม่ คี วามผดิ ปกตอิ น่ื รว่ ม) โอกาสเกดิ ขน้ึ ซา้ำ ขน้ึ กบั จาำ นวนคนในครอบครวั
ที่มอี าการและชนดิ ของอาการ ดงั ในตาราง

จำานวนคนในครอบครัวทม่ี อี าการ โอกาสเกิดขึน้ ซำ้าในบุตรคนถัดไป

บตุ ร 1 คนมีปากแหว่งขา้ งเดียว รอ้ ยละ 2 - 3
บตุ ร 1 คนมีปากแหว่งเพดานโหว่ขา้ งเดียว ร้อยละ 4
บตุ ร 1 คนมปี ากแหวง่ เพดานโหว่ 2 ขา้ ง ร้อยละ 5 - 6
บตุ ร 1 คนมีอาการ ร้อยละ 10
บิดาหรอื มารดา + บุตร 1 คน มีอาการ ร้อยละ 10
บดิ าหรอื มารดามอี าการ รอ้ ยละ 4

3 คลายสงสัย... ไขขอ้ ข้องใจ 19/9/2562 BE 11:33
ผ้ปู กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 6

ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่กับศัลยแพทย์ตกแตง่

พญ.เพญ็ พกั ตร์ เกรกิ มธุกร
งานศัลยศาสตรต์ กแต่ง กลมุ่ งานศลั ยศาสตร์

การผา่ ตัด ทำเมื่อไหร่

ถ้าน้องมกี ารเจริญเตบิ โต ตามเกณฑ ์ และไมม่ ี
โรคร่วมอน่ื ๆ
- การผา่ ตัดเชอื่ มรมิ ฝีปากที่แหวง่ มกั ทำาตอน
นอ้ งอายปุ ระมาณ 3 เดือน นำ้าหนกั ประมาณ 4-5
กิโลกรัม
- การผา่ ตดั เชอ่ื มเพดานโหว ่ มักทาำ ตอนน้อง
อายุประมาณ 9-18 เดอื น น้ำาหนักประมาณ 9-10
กโิ ลกรัม
คุณหมอจะประเมินปัจจัยร่วมหลายๆ อย่าง
นอ้ งจะตอ้ งผา่ นกระบวนการดมยาสลบกอ่ นการผา่ ตดั
ถา้ ไมอ่ ยากถกู เลอื่ นวนั ผา่ (ผปู้ กครองอตุ สา่ ห ์ลางาน
มาเฝ้าลกู ) ต้องขอความร่วมมือผปู้ กครอง ดแู ลนอ้ ง
ใหแ้ ข็งแรง ไม่มีตวั รอ้ น ไม่มไี ข้สงู ในช่วงวันผ่าตดั

คลายสงสัย... ไขขอ้ ข้องใจ 4

ผู้ปกครองเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเด็กแหง่ ชาตมิ หาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 7

การผ่าตัดทำอยา่ งไร

- มีรายละเอียดเยอะมาก แตก่ ารซอ่ มริมฝปี าก
และเพดานเดก็ จะใช้เน้ือเยื่อตวั เดก็ เอง แบ่งเฉลี่ย มา
ซอ่ มจดุ ทข่ี าด ไมไ่ ดใ้ ชอ้ ปุ กรณเ์ ทยี มใสไ่ ปในตวั นอ้ ง หลงั
จากผ่าเสร็จทุกรายจะมแี ผล และส่วนใหญจ่ ะใชไ้ หม
ที่ละลายเองไดเ้ ยบ็ (ใชเ้ วลานานเป็นเดอื น กวา่ จะ
ละลายหมด) เราต้องการความร่วมมอื จากผู้ปกครอง
อยา่ งยงิ่ ในการดูแลแผลเหลา่ น ้ี ผลลัพธ์การผ่าตัดจงึ
จะออกมาดี

เตรยี มตัวกอ่ น และหลังผา่ ตัดอยา่ งไร

- การมารบั การผา่ ตดั ซอ่ มรมิ ฝปี ากแหวง่ นอ้ งจะนอนโรงพยาบาล
ประมาณ 2-3 คนื (เช่นเดียวกับการมารบั การซ่อมเพดานโหว)่
การเตรยี มเดก็ เพอ่ื ใหด้ มยาสลบไดอ้ ยา่ งปลอดภยั จาำ เปน็ ตอ้ งใหน้ อ้ ง
งดอาหาร นา้ำ นม ก่อนผ่าตัด อย่างเครง่ ครดั แตไ่ มต่ อ้ งกลวั
นอ้ งจะไดร้ บั นา้ำ เกลอื เขา้ ทางระบบเสน้ เลอื ดในช่วงเวลาท่ีงดนน้ั
- หลงั ผา่ ตัด เน้นการให้เดก็ กลบั มาใชง้ านรมิ ฝีปาก ดูด กลนื
ใหเ้ รว็ ท่สี ดุ ***
คณุ หมอ & ทีมพยาบาลจะมาสอนรายละเอยี ด วธิ กี ารดแู ล
แผลเด็ก ให้สามารถทาำ ไดด้ ้วยตัวผูป้ กครองเอง (งา่ ยมาก) รวมถึง
ชนดิ อาหารท่เี ด็กควรหรือไม่ควรทาน และการกลับมาพบแพทย์
ตามนดั หมายก็สาำ คัญมาก

5 คลายสงสัย... ไขข้อขอ้ งใจ 19/9/2562 BE 11:33
ผปู้ กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบนั สขุ ภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 8

พ่อแม่ตอ้ งเสียเงนิ สำหรบั การผ่าตดั เท่าไหร่

ในส่วนของการผา่ ตัด ในโรคกล่มุ นี ้ สามารถใช้
สิทธ์สิ ง่ ตวั ผ่าตดั ไดฟ้ ร ี ถา้ น้องมีใบส่งตัวระบวุ ันท่ี
ครอบคลมุ การผา่ ตดั จากโรงพยาบาลตน้ สงั กดั กรณี
ตอ้ งการสอบถามขน้ั ตอน รายละเอยี ด ทางโรงพยาบาล
มีแผนกอธิบายแนะนำาสิทธ์ิบัตรทองที่พอจะชว่ ยให้
คำาอธิบายผู้ปกครองได้ (กรณีแรงงานต่างด้าวที่
ทำางานถูกกฎหมายในไทย แนะนำาให้คุยสอบถาม
คำาแนะนำาสทิ ธต์ิ ่างๆ ไดท้ แี่ ผนกน้เี ช่นกัน (ขอ้ มูล ณ
กรกฎาคม 2562)

หมอผา่ ตดั อยากใหพ้ ่อแม่มีสว่ น
ในการรักษาดูแลลูก อย่างไร

- ภาวะท่ีน้องเป็น ตอ้ งได้รับการดูแลติดตาม ต้งั แต่
เป็นทารก จนนอ้ งโตเป็นวยั รนุ่ โดยหมอและทีมงาน
หลายแผนก อยากใหผ้ ปู้ กครองพยายามทาำ บนั ทกึ รปู ถา่ ย
ใบหนา้ นอ้ ง (อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 รปู ) จดนดั หมายแผนก
ตา่ งๆ นัดกับใคร / เบอรโ์ ทรติดต่ออะไร
กรณมี าตามวันนัดไมไ่ ด ้ ควรประสานงานเลื่อนนัด
แต่เนิน่ ๆ อย่าปลอ่ ยปละ ละเลย จะเป็นผลเสยี กับทาง
น้องเอง อยา่ ลืมเอาบนั ทกึ มาดว้ ยทกุ ครง้ั ที่มา รพ.
(เปน็ ของมคี า่ ท่สี ดุ )

คลายสงสยั ... ไขข้อขอ้ งใจ 6

ผูป้ กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบนั สุขภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 9

ภาวะปากแหว่งเพดานโหวก่ ับ
โสต ศอ นาสิกแพทย์

พญ.นาฏยพร จรัญเรอื งธรี กุล
กลุ่มงานโสต ศอ นาสิก

การเปน็ เพดานโหว่ส่งผลตอ่ การได้ยินอยา่ งไร

เพราะเมอ่ื เปน็ เพดานโหว ่ ตาำ แหนง่ และการทาำ งาน
ของกลา้ มเนอื้ บรเิ วณเพดานออ่ นมคี วามผดิ ปกต ิ ซง่ึ
กล้ามเนื้อนี้ เชื่อมตอ่ กับรูเปดิ ของทอ่ ระบายอากาศ
ระหว่างหลังโพรงจมกู กับหชู นั้ กลาง ทาำ ใหม้ ีปญั หา
การระบายนา้ำ และอากาศจากหชู ้ันกลาง เกดิ นำา้ คง่ั
ในหูชั้นกลาง นาำ ไปส ู่ การปดิ ก้ันการนาำ เสยี งผา่ นหู
ช้นั กลาง การได้ยินจึงลดลง

แนวทางรักษาภาวะนาํ้ ค่ังในหชู น้ั กลางทำอย่างไร

เน่ืองจากการทำางานของกล้ามเนื้อเพดานอ่อน
มคี วามผดิ ปกติในภาวะเพดานปากโหว ่ จึงทาำ ให้
นำ้าค่ังในหูช้ันกลางอยู่นานและมีลักษณะเหนียวข้น
แลว้ ส่งผลให้สูญเสียการไดย้ ิน จึงเป็นขอ้ บ่งชหี้ นง่ึ
ในการผ่าตัดฝงั ท่อระบายนำา้ ไว้ที่แก้วห ู เพือ่ แกไ้ ข
การได้ยนิ

7 คลายสงสยั ... ไขข้อขอ้ งใจ 19/9/2562 BE 11:33
ผู้ปกครองเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่
สถาบันสุขภาพเดก็ แห่งชาตมิ หาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 10

เด็กทเี่ ปน็ เพดานปากโหวต่ ้องไดร้ บั การตรวจหูเมือ่ ไหร่

ต้งั แต่แรกคลอดควรไดร้ ับการตรวจคดั กรองการ
ได้ยนิ เน่ืองจากจดั อยใู่ นกล่มุ ทเ่ี สยี่ งต่อการสญู เสยี
การไดย้ นิ พบแพทยต์ รวจหแู ละตดิ ตามการไดย้ นิ ทกุ
6 เดอื น เมอื่ พบความผิดปกตจิ ะได้รีบรกั ษา (จะมี
การตรวจพเิ ศษ เรือ่ งการได้ยนิ หลายชนิด แพทยจ์ ะ
พจิ ารณาอายุทเ่ี หมาะสมกับการตรวจแต่ละชนิด

เด็กท่เี ป็นเพดานปากโหว่เป็นหูหนวกไดไ้ หม

ทว่ั ไปพบไม่คอ่ ยบ่อย แตถ่ ้าเดก็ เป็นเพดานโหว่
รว่ มกับความผดิ ปกติอ่นื ๆ เช่น syndrome (กลมุ่
อาการ) ต่างๆ ก็มีโอกาสเปน็ ไดม้ ากขึ้น ซึ่งจะตอ้ ง
ฟนื้ ฟกู ารไดย้ ินโดยการใสเ่ คร่ืองชว่ ยฟงั

คลายสงสยั ... ไขข้อข้องใจ 8

ผู้ปกครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 11

ภาวะปากแหวง่ เพดานโหวก่ บั การฝึกพูด

อ.วราภรณ์ วิไลนาม
งานแก้ไขการพูด กล่มุ งานโสต ศอ นาสกิ

ทำไมเด็กปากแหวง่ เพดานโหวต่ อ้ งฝึกพูด

แมเ้ ดก็ จะไดร้ บั การผา่ ตดั เรยี บรอ้ ยแลว้ กต็ าม แตเ่ ดก็ สว่ นใหญ่
ยังมีปัญหาความผิดปกติด้านการพูดท่ีต้องได้รับการแก้ไขท่ี
แตกตา่ งกัน ได้แก ่ พดู ล่าชา้ กว่าวยั พดู ไมช่ ดั พดู เสยี งข้นึ จมกู
มลี มร่ัวทางจมกู ขณะทพี่ ูด รวมถึงการยน่ จมูกขณะพดู ร่วมดว้ ย
บางรายอาจพดู เสยี งผดิ ปกต ิ เดก็ มกั ขาดความมน่ั ใจในการสอ่ื สาร
ไมค่ อ่ ยพดู สง่ ผลกระทบดา้ นจติ ใจได ้ เดก็ จงึ ควรไดร้ บั การฝกึ พดู
โดยนักแก้ไขการพดู อย่างเหมาะสมตอ่ ไป

เม่ือไหรท่ ต่ี ้องมาฝึกพูด

ในชว่ ง 10-18 เดอื น ภายหลงั จากผา่ ตดั รมิ ฝปี ากและเพดาน
เรียบร้อยแล้ว เด็กควรได้รับการส่งพบนักแก้ไขการพูดทันที
เพอ่ื รบั การประเมนิ การพดู และวางแผนการฝกึ พดู เดก็ ปากแหวง่ -
เพดานโหวแ่ ตล่ ะรายอยา่ งเหมาะสม และเพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการ
รกั ษา พอ่ แมค่ วรพาเดก็ มาฝกึ พดู อยา่ งสมา่ำ เสมอและตอ่ เนอ่ื ง

9 คลายสงสยั ... ไขขอ้ ขอ้ งใจ 19/9/2562 BE 11:33
ผปู้ กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบนั สุขภาพเดก็ แหง่ ชาตมิ หาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 12

แนวทางการฝกึ พดู เดก็ ปากแหวง่ -เพดานโหว่
เป็นอยา่ งไรบา้ ง

เด็กจะต้องได้รับการฝึกพูดเพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้าน
ภาษาและการพดู ใหส้ มวยั ฝึกใหเ้ ดก็ ออกเสยี ง พยญั ชนะ สระ
ให้ชดั เจน แกไ้ ขเสยี งข้นึ จมูก การพูดท่ีมีลมรั่วออกทางจมกู
แกไ้ ขเสยี งพดู ผดิ ปกต ิ และการฝกึ ควบคมุ ไมใ่ หม้ กี ารแสดงออก
ของสีหนา้ ทผี่ ดิ ปกติขณะพดู รวมไปถงึ การใชเ้ คร่อื งมอื พิเศษ
ตา่ งๆ เพอื่ ประเมินและให้การรักษาผู้ป่วยอย่างเหมาะสม

คำแนะนำสำหรบั การฝกึ พดู ในเดก็ ปากแหวง่
เพดานโหวม่ อี ะไรบา้ ง

เนอ่ื งจากเดก็ แตล่ ะคนมปี ญั หาการพดู มากนอ้ ยแตกตา่ งกนั
และการฝึกพูดก็ต้องใชเ้ วลา จึงต้องอาศัยความรว่ มมือของ
พอ่ แม ่ ผใู้ กล้ชิด เป็นแบบอย่างที่ดีในการพูดแกเ่ ด็ก ควรพา
เด็กมารับการฝกึ พดู อย่างตอ่ เน่ืองและสมำ่าเสมอ นอกจากนี้
ควรหมั่นฝึกฝนการบ้านทไ่ี ด้รับไปอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพือ่ ให้เด็กมี
ภาษาและการพดู เป็นปกติโดยเร็ว

คลายสงสัย... ไขขอ้ ข้องใจ 10

ผปู้ กครองเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 13

ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว่กบั ทนั ตแพทย์

ทพญ.จิตรวรี จติ ตง้ั สมบรู ณ์
ทพญ.ยวุ นชุ นาควเิ ชียร
กลมุ่ งานทนั ตกรรม

การดแู ลสขุ ภาพช่องปากของ
เด็กปากแหว่งเพดานโหว่

เดก็ ปากแหวง่ เพดานโหวต่ อ้ งดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากและฟนั ใหด้ ี ไมค่ วร
มกี ารสญู เสยี ฟนั ไปกอ่ นเวลาอนั ควร เพราะฟนั จะชว่ ยเกบ็ รกั ษากระดกู สนั เหงอื ก
และมผี ลต่อการเจริญทางใบหน้าและขากรรไกรในอนาคต

การดูแลสุขภาพช่องปากแตล่ ะชว่ งวยั

1. ระยะก่อนฟันข้ึน (อายุ 0-6 เดือน)

ผู้ปกครองควรทำาความสะอาดช่องปากด้วยการใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำา
ต้มสุกทเี่ ยน็ แล้วพันรอบนวิ้ เช็ดเหงือก กระพุ้งแกม้ และล้ิน
ในกรณีที่ใส่อุปกรณ์ “แนม” (Nasoalveolar molding-NAM)
ซง่ึ เปน็ อปุ กรณท์ ช่ี ว่ ยในการดดู นมของทารก และชว่ ยใหก้ ารผา่ ตดั ทาำ ไดง้ า่ ยขน้ึ
การทำาความสะอาดช่องปากยิ่งมีความสำาคัญเพ่ือลดเช้ือจุลินทรีย์และ
ป้องกันการอักเสบติดเชอื้ ของเน้ือเยอ่ื ในชอ่ งปาก
หลังไดร้ บั การผา่ ตัดแก้ไขรมิ ฝปี ากและเพดานแล้ว ผปู้ ่วยจะยงั มี
ปญั หาในสว่ นของสนั เหงอื กแหวง่ ฟนั บรเิ วณนน้ั บดิ เก เปน็ เพราะการผา่ ตดั
ครง้ั แรก ศลั ยแพทยจ์ ะไมเ่ ขา้ ไปรบกวน ซอ่ มแซมสว่ นของเหงอื กทฟ่ี นั ยงั ไมข่ น้ึ
เพือ่ ไม่เป็นการรบกวนการเจริญเตบิ โตของหนอ่ ฟันท่ซี ่อนอยใู่ ต้เหงือก จึงมี
ปัญหาดังตอ่ ไปน้ี

11 คลายสงสัย... ไขข้อข้องใจ

ผู้ปกครองเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่
สถาบันสุขภาพเด็กแหง่ ชาตมิ หาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 14 19/9/2562 BE 11:33

- สันเหงอื กบนไมเ่ ชื่อมกนั
- มที างตดิ ตอ่ กนั ระหวา่ งชอ่ งปากและจมกู (Oro-nasal communication)
ทาำ ใหม้ เี ศษอาหารไปตดิ ทาำ ความสะอาดยาก มกี ลน่ิ ปาก
- ขาดกระดกู รองรบั ฟนั ในตาำ แหนง่ สนั เหงอื กแหวง่ ทาำ ใหฟ้ นั ไมส่ ามารถ
ขน้ึ ได ้ ซง่ึ การแกไ้ ขปญั หาดังกล่าว สามารถทาำ ไดโ้ ดยการผา่ ตดั ปลกู กระดกู
สันเหงอื ก (Alveolar bone graft: ABG) ในระยะฟนั ชุดผสมต่อไป

2. ระยะฟนั นำา้ นม (อาย ุ 6 เดือน - 6 ป)ี

2.1 ฟนั ซ่แี รกขนึ้ - อายตุ ำา่ กวา่ 3 ปี
เมือ่ ฟนั น้าำ นมซ่ีแรกขึน้ ผูป้ กครองตอ้ งเริ่มแปรงฟันให้อยา่ งน้อย
วนั ละ 2 ครัง้ คอื เช้าและก่อนนอน โดยใชย้ าสีฟันท่ีมสี ว่ นผสมของฟลูออ
ไรด์เข้มขน้ 1,000 ส่วนในล้านส่วน (ppm) ตามคาำ แนะนำาในตารางท ่ี 1

ตารางท ี่ 1 ปริมาณยาสฟี นั ผสมฟลอู อไรด์ที่แนะนำาโดยทนั ตแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย

เดก็ ควรเลกิ หลบั คาขวดนมหรอื หลบั คาเตา้ นมแมภ่ ายในอาย ุ 1 ขวบครง่ึ
เพ่ือลดความเสย่ี งทจ่ี ะทาำ ใหเ้ ดก็ มีฟันผรุ ุนแรง
ฟนั ในบรเิ วณใกลส้ นั เหงอื กแหว่งอาจขึ้นช้ากว่าปกติและเมื่อฟันข้ึน
มาแล้วตำาแหน่งของฟันก็จะเรียงตัวล้มเอียงเป็นท่ีเกาะของคราบจุลินทรีย์
ได้ง่าย จึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดฟันผุมาก ผู้ปกครองควรพาเด็กมาพบ
ทันตแพทยเ์ พือ่ ตรวจฟนั ทกุ 3-6 เดอื น

2.2 อาย ุ 3 - อายุต่ำากว่า 6 ปี
วยั นี้เด็กจะมีฟนั นาำ้ นมครบ 20 ซี่ ผูป้ กครองยงั ควรเป็นผู้แปรงฟนั
ควรเริม่ ใช้ไหมขัดฟันทาำ ความสะอาดซอกฟันตามคำาแนะนำาของทันตแพทย์

คลายสงสัย... ไขข้อข้องใจ 12

ผูป้ กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 15

3. ระยะฟันชุดผสม (อายุ 6-12 ปี)

ทนั ตแพทยก์ าำ หนดเรียกเด็กท่มี ีอายรุ ะหวา่ ง 6-12 ป ี นีว้ ่า ระยะฟนั
ชดุ ผสมเพราะในชอ่ งปากปรากฎทัง้ ฟนั นำา้ นมและฟันแท้ ระยะฟันชดุ ผสมนี้
การดแู ละความสะอาดไมแ่ ตกตา่ งจากระยะฟนั นา้ำ นม แตเ่ ปน็ ชว่ งเวลาสาำ คญั
ท่ีทันตแพทย์เร่ิมให้การรักษาทางทันตกรรมจัดฟันเพื่อเตรียมช่องปาก
สำาหรับการผ่าตดั ปลูกกระดูกสันเหงอื กทเ่ี รยี กวา่ “การผ่าตัดแก้ไขสนั
เหงอื กแหว่ง” โดยทันตแพทย์จะพจิ ารณาตามความเหมาะสมในผูป้ ว่ ย
แต่ละราย ขน้ึ กับปัญหาการสบฟันของผูป้ ่วยและตาำ แหนง่ ฟนั ทใ่ี กล้กบั สัน
เหงือกแหวง่

ข้ันตอนการรกั ษาและการดแู ลผูป้ ว่ ย แบง่ เป็น
1. ช่วงก่อนผ่าตัด
ผปู้ ว่ ยจะไดร้ บั การตรวจประเมินรา่ งกายท่ัวไป ตรวจช่องปาก และ
ตรวจทางภาพถา่ ยรงั ส ี โดยทันตแพทยเ์ ฉพาะทางศลั ยกรรมช่องปาก และ
ทนั ตแพทยจ์ ดั ฟัน เพอื่ วางแผนการรักษาร่วมกัน รวมท้ังประเมนิ การดูแล
สุขภาพช่องปากของผ้ปู ว่ ย วา่ สามารถให้ความรว่ มมือในการดแู ลช่องปาก
ไดด้ ี เนื่องจากจะมผี ลต่อภาวะแทรกซ้อนของแผลผ่าตดั และจะทาำ การนัด
วนั ผ่าตัดหากผปู้ ว่ ยไดร้ บั การประเมินวา่ พร้อมสาำ หรับการผา่ ตดั แลว้
2. ชว่ งการผา่ ตัด
ก่อนวันผ่าตดั 1 วัน ผ้ปู ่วยและผู้ปกครองจะตอ้ งเตรียมตัวมานอน
โรงพยาบาล เพอ่ื รบั การตรวจประเมนิ จากทมี วสิ ญั ญ ี (ทมี แพทยผ์ ใู้ หก้ ารดม
ยาสลบ) และตอ้ งงดน้าำ งดอาหาร (มือ้ หนัก) กอ่ นผา่ ตดั เป็นเวลา 8 ชัว่ โมง
สามารถดื่มนา้ำ หรอื อาหารเหลวใสได ้ 4 ชวั่ โมงกอ่ นการผา่ ตัด
ในวนั ผ่าตัด เจ้าหนา้ ทีจ่ ะไปรบั ผ้ปู ่วยเพือ่ มารอในหอ้ งเตรยี มผ่าตัด
ซ่งึ อนุญาตใหผ้ ู้ปกครองอยกู่ บั เดก็ ได้ 1 คน การผ่าตัดใช้เวลาประมาณ
2-4 ช่วั โมง มกี ารเปดิ แผลผ่าตัด 2 ตำาแหนง่ คอื ในชอ่ งปาก บรเิ วณทม่ี ี
สันเหงือกแหว่งและบรเิ วณสะโพก สำาหรับการนำากระดูกไปเสรมิ บรเิ วณสนั
เหงอื ก เม่ือทำาการผา่ ตดั เสรจ็ ผู้ปว่ ยจะถกู พามาทห่ี อ้ งพกั ฟ้ืนหลงั ผ่าตัด

13 คลายสงสยั ... ไขขอ้ ขอ้ งใจ

ผูป้ กครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบนั สขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 16 19/9/2562 BE 11:33

4. ระยะฟนั แท ้ (อายุ 12 ปีเป็นต้นไป)

เดก็ จะมฟี นั แทข้ น้ึ เกอื บครบสมบรู ณ ์ และมคี วามสามารถในการดแู ล

ความสะอาดชอ่ งปากไดไ้ มต่ า่ งจากผใู้ หญ ่ อยา่ งไรกต็ ามผปู้ กครองควรกวดขนั
อยา่ งสมำ่าเสมอ ในส่วนของการรกั ษาทางทนั ตกรรม ทันตแพทยส์ ามารถ
แก้ไขความผดิ ปกติของการสบฟันด้วยการจดั ฟันไดเ้ ช่นเดยี วกับผปู้ ่วยทว่ั ไป
ยกเว้นในรายท่ีมีความผิดปกติของโครงสร้างกระดูกขากรรไกรรุนแรงอาจ
จะต้องพิจารณาเพ่อื รับการรกั ษาดว้ ยการจดั ฟนั รว่ มกบั การผา่ ตดั ในวยั ผใู้ หญ่
(อายมุ ากกวา่ 18 ป)ี ตอ่ ไป

คลายสงสยั ... ไขข้อขอ้ งใจ 14

ผปู้ กครองเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 17

ภาวะปากแหว่งเพดานโหวก่ บั
การกนิ นมแม่

อ.ศริ ลิ ักษณ์ ถาวรวฒั นะ
ศนู ย์เชีย่ วชาญพิเศษการพยาบาลนมแมใ่ นเดก็ ปว่ ย

นมแม ่ นอกจากจะเป็นอาหารทีด่ ีที่สดุ

สำาหรบั ทารกแรกเกดิ แล้ว นมแม่ยงั เปรยี บเสมือน
โอสถวเิ ศษ โดยน้ำานมแมม่ าพร้อมกับสารอาหาร
ครบถว้ นเหมาะสม มีภมู ติ า้ นทาน มีน้ำาย่อยท่ี
เหมาะสมมาพร้อมแลว้ สาำ หรับทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกดิ ปกต ิ หลงั คลอดโรงพยาบาล
จะสนับสนุนให้ทารกได้ดูดนมแม่ต้ังแต่อยู่บน
เตียงคลอด แม่ลกู อย่ดู ว้ ยกนั 24 ชัว่ โมง ทารกไดด้ ูดนมแม่ทกุ 2-3 ช่ัวโมง
หรือทกุ ครงั้ ที่ลกู ตอ้ งการ โดยมพี ยาบาลเปน็ ผู้สนบั สนุนช่วยเหลอื ให้ลูกดดู
นมแมจ่ ากเต้า พบวา่ ทารกท่ไี ด้รบั นมแม่จะแข็งแรง ไมค่ อ่ ยเจบ็ ปว่ ย จะ
ทาำ ใหก้ ารเจริญเตบิ โตของเดก็ สอดคลอ้ งเป็นไปตามแผนการรกั ษา
แตใ่ นทารกแรกเกดิ ทพ่ี บว่ามีภาวะปากแหว่งเพดานโหว ่ จาำ เป็นต้อง
ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนเป็นพิเศษ เพื่อให้ทารกกลุ่มนี้ได้ดูดนมแม่
และการให้คำาปรึกษามีความสำาคัญท่ีจะทำาให้แม่และครอบครัวผ่านพ้น
วิกฤตทางอารมณ์
คาำ ถามทท่ี าำ ใหแ้ มม่ คี วามกงั วล คอื ทาำ อยา่ งไรใหแ้ มม่ นี า้ำ นมเพยี งพอ
วธิ กี ารฝกึ ใหท้ ารกปากแหวง่ เพดานโหวด่ ดู นมแมเ่ ปน็ เรอ่ื งไมง่ า่ ย ตอ้ งใชเ้ วลา
และมีการวางแผนการรักษาท่เี หมาะสม ดงั นั้นการใหก้ าำ ลงั ใจมคี วามสำาคัญ
และการให้เวลาลกู ฝกึ ดูดนมแม่จากเตา้ จึงสาำ คัญมาก ทำาอย่างไรให้มนี ้าำ นม
เพยี งพอ โดยการกระตนุ้ เตา้ นมแม ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ กลไกการสรา้ งนา้ำ นมตามธรรมชาติ

15 คลายสงสัย... ไขขอ้ ข้องใจ

ผูป้ กครองเด็กปากแหว่งเพดานโหว่
สถาบันสุขภาพเด็กแหง่ ชาติมหาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 18 19/9/2562 BE 11:33

แนะนำาให้แม่หลังคลอดบบี นำ้านมทนั ทีภายใน 2 ชัว่ โมงหลงั คลอด
ในกรณีทีค่ ลอดปกต ิ หรอื บีบน้าำ นมทนั ทีภายใน 4 ชว่ั โมงหลงั คลอดในกรณี
ทีผ่ ่าคลอด การบีบน้ำานมสามารถบีบน้าำ นมโดยการใชเ้ ครื่องปม๊ั นมหรือบีบ
นา้ำ นมดว้ ยมอื โดยบีบวนั ละ 8 คร้ัง การบบี นาำ้ นมใน 3 วันแรก แม่จะ
พบแคเ่ พยี งมีนา้ำ นมซึม แต่มีความจาำ เป็นและสาำ คญั มากในการกระตนุ้ การ
สร้างนาำ้ นมในอนาคต แม่ไม่ควรท้อ

อนาคต แมไ่ มค่ วรท้อ

การบีบนำา้ นมดว้ ยมอื การบบี น้ำานมดว้ ยเคร่ือง นา้ำ นมแม่ในช่วง 5 วนั
หลงั คลอด

วิธีการฝกึ ใหน้ มแม่ในทารกปากแหว่งเพดานโหว่

โดยการดดู นมจากเตา้ และการเสรมิ นา้ำ นมใหล้ กู โดยวธิ ที าำ Lactation aid

เพอ่ื การปอ้ งกนั ภาวะตวั เหลอื งในทารกแรกเกดิ และการไดร้ บั นา้ำ นมไมเ่ พยี งพอ

Lacเtพa่อื tiกoาnรปa้อidงกเพัน่อืภกาาวระปต้อัวเงหกลันือภงาใวนะทตาัวรเกหแลรอื กงเใกนดิ ทแาลรกะกาแรารไรทกดไเา่ด้รกใับร้หิดับน้นนามนาในมนมไทมไาม่เพร่เกพยี แียงพรงกพอเอกดิ

การประคองเตา้ (C-hold) ทา่ ใหน้ มขวางตกั ประยกุ ต ์ ท่าให้นมขวางบนตัก
(Cross-cradle hold) (Cradle hold)

คลายสงสยั ... ไขขอ้ ขอ้ งใจ 16

ผ้ปู กครองเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 19

ท่าใหน้ มในททา่ารใกหแน้รกมเใกนิดทททาม่ี ่ีมรภี ีภกาาแววะระปกปาเกกาิแดกหแวหง่ ว ง่เพเดพาดนาโหนวโ่หว่

การเสรมิ นมโดยวิธีทำา Lactation aid

การกากบาทจกุ นม การใชพ้ ลาสเตอร์
กดปดิ รมิ ฝีปาก

17 คลายสงสัย... ไขขอ้ ขอ้ งใจ

ผู้ปกครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 20 19/9/2562 BE 11:33

การฝึกทารกแรกเกิดที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ แนะนำาถึง
ประโยชน์ของดูดนมแม่จากเต้าว่ามีผลดีต่อลูกท้ังทางด้านพัฒนาการ
อารมณแ์ ละการฝกึ พดู ในอนาคต การดดู นมแมจ่ ากเตา้ อาจดยู ากในระยะแรก
ต้องใช้เวลา ขอให้แม่อดทนและให้เวลาในการฝึกลูกดูดนมแม่จากเต้า
เพราะการดูดนมจากเต้าเป็นการเรียนรู้ของแม่และลูกและมีประโยชน์ต่อ
ลกู ในอนาคตพร้อมทง้ั สอนวธิ กี ารเสรมิ นมแม ่ โดยการทาำ Lactation aid
เพอ่ื ใชใ้ นกรณีทีต่ อ้ งการเสริมนมใหล้ กู แนะนำาแมใ่ ห้ทราบวา่ ลกู ดดู นมแม่
ทกุ 2-3 ชว่ั โมง หลงั ใหน้ มลกู แมค่ วรปม๊ั นมทกุ มอ้ื เพอ่ื กระตนุ้ การสรา้ งนา้ำ นม
เพราะระยะแรก แรงดดู ของลกู เบา จงึ ตอ้ งใชก้ ารปั๊มนมหรือบีบนำ้านมดว้ ย
มือตาม นอกจากนคี้ วรประเมนิ เรือ่ งสายใตล้ ิน้ สนั้ ตงึ (tongue-tie) หาก
พบให้สง่ ปรกึ ษาศัลยกรรม เพอ่ื การผา่ ตดั แก้ไขให้ใช้ลนิ้ ดดู นมแม่ง่ายขน้ึ
ซ่งึ ทารกปกตกิ ็ตอ้ งประเมินอยู่แล้ว โดยรวมควรใหท้ ารกดูดนมแม่จากเตา้
ก่อน 45 วนั เพอ่ื ปอ้ งกนั การปฏเิ สธการดดู นมแม ่ หลงั 45 วนั จึงใหด้ ูด
นมแมจ่ ากขวดได ้ โดยดูดนมแม่จากเต้าเปน็ หลกั
กรณีที่แม่ไม่สามารถมาฝกึ ดูดนมแมท่ ่คี ลินิกนมแม่ได ้ หรอื จำาเปน็
ตอ้ งใช้ขวดหรือลกู อายมุ ากกว่า 45 วัน คลินกิ นมแม่จะสอนการกากบาท
จกุ นม การดดู นมแม่จากเต้าและการดูดนมแม่จากขวดจาำ เป็นต้องอมุ้ ให้
ทารกเรอในระหว่างใหน้ มเพราะทารกจะดูดอากาศเข้าไปด้วย จงึ ตอ้ งสอน
แม่ช่วยอุ้มให้ลกู เรอระหว่างใหน้ ม
สอนการทาำ ความสะอาดชอ่ งปาก ทง้ั กอ่ นและระหวา่ งการใสเ่ พดาน
ปลอมรวมท้ังประเมินการใช้พลาสเตอร์กดปิดริมฝีปากตามท่ีทันตแพทย์
แนะนาำ

คลายสงสยั ... ไขขอ้ ข้องใจ 18

ผู้ปกครองเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบนั สุขภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 21

สรุปแนวทางการใหค้ ำปรกึ ษาและแผนการรักษา
ของคลินกิ นมแม่

1. ใหก้ าำ ลังใจและความม่ันใจแกผ่ ปู้ กครองหรอื ผเู้ ลี้ยงดู
2. แผนการรักษา สำาหรับส่งเสรมิ การกินนมแม ่ มดี ังน้ี
- ฝกึ ดดู นมแมจ่ ากเตา้ ทค่ี ลนิ กิ นมแม ่ ขน้ั ตอนนใ้ี ชเ้ วลาประมาณ 2 สปั ดาห์
- หากประเมินพบสายใตล้ ิน้ สัน้ ตงึ (tongue-tie) ทม่ี ผี ลต่อการดดู นมแม ่
จะสง่ พบกมุ ารศลั ยแพทย์
- พบกุมารแพทย์ เพื่อตรวจร่างกาย ดูภาวะเจ็บป่วยร่วมอื่นๆ และ
เตรียมพร้อมก่อนผ่าตัด
- กรณีมีปัญหาการกลืน การดูด จะส่งพบกุมารแพทย์เพื่อพิจารณา
กระตนุ้ การดูดกลืน
- บางรายอาจตอ้ งใชเ้ พดานปลอม หรอื NAM จะสง่ พบทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทาง
- ส่งพบศัลยแพทย์ตกแต่งเพ่ือเข้าสู่กระบวนการนัดผ่าตัดแก้ไขตามเวลา
ทเี่ หมาะสม
3. มกี ระบวนการตดิ ตาม นัดหมายว่าผ้ปู กครองทาำ ไดจ้ รงิ ไหม ติดขดั อยา่ งไร

19 คลายสงสยั ... ไขข้อข้องใจ

ผู้ปกครองเด็กปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบันสุขภาพเดก็ แหง่ ชาตมิ หาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 22 19/9/2562 BE 11:33

ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่กับจิตแพทย์

พญ.ศริ ิรตั น์ อุฬารตินนท์
หน่วยจติ เวชเดก็ และวัยรุ่น กลุ่มงานกมุ ารเวชศาสตร์

ถงึ แม้จะไมใ่ ช่ภาวะท่ีมอี นั ตราย การมภี าวะปากแหว่งเพดานโหว่
กส็ ามารถส่งผลกระทบต่อการเจรญิ เตบิ โต พฒั นาการทงั้ ทางด้านรา่ งกาย
จติ ใจ อารมณ ์ และพฤตกิ รรมรวมไปถงึ คณุ ภาพชวี ติ ของเดก็ และครอบครวั ได ้
การดแู ลเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว ่ จงึ เปน็ การทาำ งานรว่ มกนั ของทมี สหสาขา
วชิ าชีพ เพ่ือลดผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในระยะยาวต่อเดก็ ไมใ่ ช่เฉพาะทาง
ด้านรา่ งกายแตร่ วมไปถึงทางด้านจิตใจ

โดยผลกระทบทางด้านจิตใจท่สี ามารถพบได้ในผ้ปู ่วยเด็กปากแหว่ง
เพดานโหว ่ ไดแ้ ก ่ ปญั หาการมปี ฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม (Social interaction)
โดยเปน็ ผลมาจาก
(1) ปจั จยั ทัง้ ทางดา้ นรูปลักษณ์ที่ถูกมองเห็น
(2) ปัญหาทางด้านภาษาและการสือ่ สาร การออกเสยี ง
(3) การโดนล้อ กล่ันแกล้งจากเพอื่ น
(4) ผลทเ่ี กิดจากการตอ้ งขาดเรยี นบ่อยเพื่อมารับการรกั ษา
และบำาบัดฟน้ื ฟูตา่ งๆ
(5) ผลกระทบท่เี กดิ ตอ่ ครอบครวั ทั้งดา้ นการเขา้ ถงึ การรกั ษา การ
ให้การดูแลท่ีมีความยากลำาบากกว่าเด็กท่ัวไปและส่งผลต่อ
คณุ ภาพชวี ติ ของผู้ปกครองได ้

ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลร่วมกันทำาให้ให้เด็กอาจเติบโตมา โดยมี
ความวติ กกงั วลสงู ทางด้านการมีปฏสิ ัมพันธท์ างสงั คม การเรียน การใช้
ชวี ติ ประจำาวนั และสุขภาพรา่ งกาย ซึง่ หากไมไ่ ดร้ ับการแกไ้ ขอย่างเหมาะสม

คลายสงสัย... ไขข้อข้องใจ 20

ผ้ปู กครองเดก็ ปากแหว่งเพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาตมิ หาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 23

อาจมีผลกระทบในระยะยาวตอ่ ความภาคภมู ใิ จในตนเอง (Self esteem)
อันเป็นองค์ประกอบสำาคัญของการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดำารงชีวิตในสังคมได้
อยา่ งมคี วามสขุ

การประเมนิ และใหก้ ารดแู ลทางดา้ นจติ ใจในเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว่
และครอบครัว ตัง้ แตเ่ ริ่มมีปัญหาเพ่อื วางแผนให้ความชว่ ยเหลือ จงึ เปน็
อีกด้านหนงึ่ ท่ีไม่ควรมองขา้ ม โดยการประเมนิ ควรทาำ ใน 3 ชว่ ง ได้แก ่
(1) ชว่ งหลงั คลอดถึงขวบปีแรก เพือ่ ประเมนิ ผลกระทบและการ
ปรบั ตัวของครอบครัว
(2) ชว่ งวยั เรยี น เพอ่ื ประเมนิ ความสามารถในการปรบั ตวั ทโ่ี รงเรยี น
ภาวะวติ กกงั วล และปญั หาการเรยี นอนั อาจเป็นผลมาจาก
ปัญหาทางด้านภาษาและการสื่อสาร
(3) ชว่ งวยั รนุ่ เพอ่ื ประเมนิ ความกงั วลในการมปี ฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม
ภาพลกั ษณ์เก่ียวกบั ตนเองและความภาคภูมใิ จในตนเอง

ทัง้ น้เี พือ่ ใหเ้ ด็กปากแหวง่ เพดานโหว ่ สามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่มี ี
สขุ ภาพจติ ดีและเป็นประชากรทีม่ ีคณุ ภาพของสงั คมต่อไป

21 คลายสงสยั ... ไขขอ้ ข้องใจ

ผูป้ กครองเดก็ ปากแหวง่ เพดานโหว่
สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 24 19/9/2562 BE 11:33

ภาวะปากแหวง่ เพดานโหวก่ บั จกั ษุแพทย์

พญ.สมุ าลิน ตรัยไชยาพร
กลุ่มงานจกั ษุวิทยา

ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว ่ เปน็ ความพิการแต่กาำ เนิดท่อี าจเกิดรว่ มกับ
ภาวะความผิดปกติอื่นๆ ของอวัยวะใกล้เคียงบริเวณศีรษะและใบหน้าได้
(Craniofacial anomaly) เชน่ หู จมกู ฟนั รวมถึงสามารถพบความผิดปกติ
ทางตาร่วมด้วยได้
ตาของทารกในครรภ ์ จะพัฒนาสมบูรณ์ขณะทม่ี ารดาตงั้ ครรภส์ ัปดาหท์ ่ี
5-8 ซง่ึ เปน็ ชว่ งเวลาใกลเ้ คยี งกนั กบั การพฒั นาของอวยั วะอน่ื ๆ บรเิ วณใบหนา้
รวมถงึ รมิ ฝปี ากและเพดานปาก และเนอ่ื งจากเซลล์ต้นกำาเนดิ ที่พัฒนาเปน็
อวยั วะ มสี ว่ นทส่ี มั พนั ธก์ บั การสรา้ งเบา้ ตาและดวงตา เมอ่ื เซลลต์ น้ กาำ เนดิ น้ี
มกี ารพฒั นา หรอื การประสานของเนอ้ื เยอ่ื ทไ่ี มส่ มบรู ณ ์ จงึ สามารถพบความ
ผดิ ปกตทิ างตารว่ มดว้ ยได้

คลายสงสยั ... ไขขอ้ ข้องใจ 22

ผูป้ กครองเด็กปากแหว่งเพดานโหว่ 19/9/2562 BE 11:33
สถาบันสุขภาพเด็กแหง่ ชาติมหาราชนิ ี

����������� ������������������������������-OK.indd 25

การเป็นภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ จะพบความ
ผดิ ปกตทิ างตารว่ มดว้ ยมากแคไ่ หน อยา่ งไรบา้ ง

ภาวะปากแหวง่ เพดานโหว ่ จะสามารถพบความผดิ ปกตทิ าง
ตารว่ มไดด้ ว้ ย แตพ่ บไมม่ าก เฉลย่ี ประมาณ 8% โดยความผดิ
ปกตทิ พ่ี บบอ่ ย มกั จะเปน็ ความผดิ ปกตเิ กย่ี วกบั เปลอื กตา เชน่
หนงั ตามว้ นออก (Ectropion), เยอ่ื ตาตดิ กนั (Symblepharon),
เปลอื กตาแหวง่ (Lid coloboma), หนงั ตาตก (Ptosis) ซง่ึ เปน็
ความผดิ ปกตทิ ส่ี ามารถสงั เกตเหน็ ไดจ้ ากภายนอก ทน่ี อกจาก
จะสง่ ผลถงึ ภาวะการอกั เสบ ระคายเคอื งของดวงตาแลว้ ยงั สง่
ผลถงึ ความสวยงามของรปู ลกั ษณภ์ ายนอกดว้ ย สว่ นความผดิ
ปกตทิ พ่ี บบอ่ ยรองลงมา ไดแ้ ก ่ภาวะตาเขตาเหล ่(Sqint), ความ
ผดิ ปกตขิ องเบา้ ตา, ความผดิ ปกตขิ องทอ่ ทางเดนิ นา้ำ ตา, ภาวะ
คา่ สายตาผดิ ปกต ิ (Refractive error), หรอื ความผดิ ปกติ
ภายในลูกตา เช่น ตอ้ กระจก (Cataract), เนื้อเยอ่ื มา่ นตา
แหวง่ หาย (Iris coloboma) หรอื เนอ้ื เยอ่ื จอประสาทตาแหวง่ หาย
(Retinal coloboma) เปน็ ตน้

เด็กท่ีมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่
ควรได้รบั การตรวจตาเมอื่ ไหร่

23 แนะนำาให้ตรวจตาเบ้ืองตน้ ตอนอาย ุ 0-6 เดือน และตรวจ
วดั คา่ สายตาละเอียด ชว่ งอาย ุ 4-6 ปี แตถ่ ้ามลี ักษณะความ
ผดิ ปกตทิ างตาทม่ี องเหน็ จากภายนอก หรอื ถา้ มอี าการทบ่ี ง่ ถงึ
ความผิดปกติของการมองเห็น เชน่ ไม่มองจอ้ ง ไมส่ บตา ไม่
มองหน้าพ่อแม่ มีภาวะตาเขตาเหล ่หรอื ตาสน่ั แนะนำาให้ตรวจ
ตากับจักษุแพทย์ทันที เพื่อตรวจหาความผิดปกติทางตา
ทสี่ ามารถพบรว่ มกับภาวะปากแหวง่ เพดานโหว ่ ซ่งึ สง่ ผลตอ่
การมองเหน็ จะได้ทาำ การรักษาฟน้ื ฟไู ด้ถูกต้อง

คลายสงสัย... ไขข้อขอ้ งใจ

ผปู้ กครองเด็กปากแหว่งเพดานโหว่
สถาบันสุขภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชินี

����������� ������������������������������-OK.indd 26 19/9/2562 BE 11:33

คณะกรรมการประสานงานการดแู ลรักษาผูป้ ว่ ยปากแหว่งเพดานโหวแ่ บบสหวิทยาการ
สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี

ประธานคณะกรรมการ นายแพทย์ทรงคณุ วฒุ ิ
แพทย์หญงิ วนดิ า ล้มิ พงศานรุ ักษ ์ ทนั ตแพทยเ์ ชี่ยวชาญ
รองประธานกรรมการ
ทันตแพทย์หญงิ ประไพ ชุณหคลา้ ย นายแพทย์เชี่ยวชาญ
คณะกรรมการ นายแพทยเ์ ชย่ี วชาญ
กลุ่มงานกมุ ารเวชศาสตร์ ทันตแพทยเ์ ช่ียวชาญ
แพทย์หญิงมริ า โครานา ทันตแพทย์ชำานาญการพเิ ศษ
นายแพทย์ประวิทย์ เจตนชัย เจา้ พนกั งานทันตสาธารณสุขปฏบิ ตั ิงาน
กลุ่มงานทนั ตกรรม นายแพทย์เชยี่ วชาญ
ทันตแพทย์นพปฎล จนั ทร์ผ่องแสง นายแพทย์เชี่ยวชาญ
ทนั ตแพทยห์ ญงิ จิตรวรี จิตตง้ั สมบรู ณ ์ นักจติ วทิ ยาคลินิกชาำ นาญการ
นางสาวจริ าวรรณ ชนะพันธ์ นายแพทยช์ าำ นาญการพิเศษ
กลุม่ งานโสต ศอ นาสกิ นายแพทย์ชำานาญการ
แพทยห์ ญิงภาวณิ ี อนิ ทกรณ์ นายแพทยช์ ำานาญการ
กลุม่ งานจติ เวช พยาบาลวชิ าชพี ชาำ นาญการพิเศษ
แพทย์หญงิ ศริ ิรัตน ์ อุฬารตินนท์ พยาบาลวิชาชพี ชาำ นาญการ
นางจณิ ณพตั ร ยอดไกรศร ี พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัติการ
งานศัลยกรรมตกแตง่ พยาบาลวชิ าชีพชาำ นาญการพเิ ศษ
แพทย์หญงิ เพญ็ พกั ตร์ เกริกมธุกร พยาบาลวิชาชีพชาำ นาญการ
กลมุ่ งานจกั ษุวทิ ยา นกั เวชศาสตร์การสื่อความหมายชาำ นาญการพเิ ศษ
แพทยห์ ญงิ สมุ าลนิ ตรยั ไชยาพร นักเวชศาสตรก์ ารส่ือความหมายปฏิบัตกิ าร
แพทย์หญิงศภุ วรรณ สุรกั ษร์ ัตนสกุล นกั สังคมสงเคราะหช์ าำ นาญการพิเศษ
งานการพยาบาลคลินกิ นมแม่ เจา้ พนกั งานการเงินและบัญชีชาำ นาญงาน
นางสาวศิรลิ ักษณ์ ถาวรวัฒนะ เจา้ พนกั งานเวชสถิติชาำ นาญงาน
นางสาวสุขฤทัย รตั นวงษ ์ นักวิชาการสถติ ิชาำ นาญการ
นางสาวหทัยทิพย์ โสมดาำ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์
งานพยาบาลผู้ป่วยผ่าตดั เจา้ พนกั งานเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ปฏิบัตงิ าน
นางกณภัทร พร้อมมงคล ทันตแพทยช์ าำ นาญการพเิ ศษ
นางสาวณัฐญา พิทักษว์ งศ ์ ทันตแพทยช์ ำานาญการ
งานแกไ้ ขการพูด
นางสาววราภรณ์ วิไลนาม
นางสาวนภสั วรรณ ยอดทอง
กลุ่มงานสงั คมสงเคราะหท์ างการแพทย์
นางสฑุ าวรรณ์ ไชยมลู
กลมุ่ งานการเงินและบัญชี
นางสาวด ี ปัททมุ มี
งานเวชระเบียนผปู้ ว่ ยนอก
นายพจน์สทิ ธ ิ์ สุตารมย์
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
นางสมลกั ษณ์ เป๋อรณุ
นางฉตั รตยิ า ทับทมิ
งานหลกั ประกนั สขุ ภาพ
นางสาวนิตยา ซองเหลียม
กรรมการและเลขานุการ
ทนั ตแพทย์กฤษฎ ี ปณั ณะรัส
กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ
ทันตแพทย์หญงิ ยุวนุช นาควเิ ชียร

����������� ������������������������������-OK.indd 27 19/9/2562 BE 11:34

สาระนา่ รเู้ กีย่ วกบั สุขภาพของลูกนอ้ ย

สถาบันสขุ ภาพเด็กแหง่ ชาติมหาราชินี
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธาณสุข

จดั ท�ำ โดย คณะกรรมการประสานงานการดูแลรกั ษาผปู้ ่วยปากแหว่งเพดานโหวแ่ บบสหวทิ ยาการ

����������� ������������������������������-OK.indd 28 19/9/2562 BE 11:34


Click to View FlipBook Version