The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 40449, 2022-09-04 09:53:21

ปัญหารถติด

ปัญหารถติด

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เพื่อแก้ปัญหาเรื่อง รถติด

** ชิ้นงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สมาชิกในกลุ่ม

เด็กหญิง ขวัญจิรา นาภูมิ เลขที่ 17
เด็กหญิง จิตสุภา รอดทุกข์ เลขที่ 18
เด็กหญิง ณัฐชา ทองย้อย เลขที่ 22

เด็กหญิง นงนภัส ขาวดี เลขที่ 24
เด็กหญิง สุธาสินี ทองมณี เลขที่ 33
เด็กหญิง อาทิตย์ญา ชลธีศรีถาวร เลขที่ 36

คำนำ

ผู้บริหารประเทศในอดีต ขาดวิสัยทัศน์อันยาวไกล และไม่ใส่ใจความเป็นอยู่
ของประชาชน จึงไม่ได้พัฒนาระบบขนส่งมวลชนให้เท่าทันกับการเจริญเติบโตของ
บ้านเมือง ทำให้ปัญหาจราจรเกิดขึ้น และค่อยๆก่อตัวสะสมปัญหาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ความล้มเหลวของระบบขนส่งมวลชนที่ผ่านมา เป็นสาเหตุสำคัญที่บีบบังคับให้คน

ต้องดิ้นรนหารถส่วนตัวเพื่อใช้ในการเดินทาง สะสมกันมาหลายสิบปี จนฝังราก
กลายเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง และรถยนตร์คือปัจจัยที่ 5 ในการดำเนินชีวิต

สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำนำ ก

สารบัญ ข

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 1-2

ระบุปัญหา 3-4

รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 5-
6
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 7-8

วางแผนและดำเนินการแก้ไขปัญหา 9-10

ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข 11-13

วิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือ14-16

ชิ้นงาน 17
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหารถติด

1.

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

เป็นการเรียนรู้ทางวิศวกรรมเพื่อตอบ

สนอง ความต้องการและการถ่ายทอด

ความคิดของผู้ออกแบบ จากการระบุ

ปัญหาแล้วกำหนดปัญหาที่ ต้องการ

แก้ไข และทำการค้นหาแนวคิดที่


เกี่ยวข้อง และทำการวิ
เคราะห์เพื่อ


เลือกวิธีการที่เหมาะสม สำหรับแก้ไข

ทำการวางแผนและพัฒนาสิ่งของ


เครื่องใช้หรือวิธีการ เพื่อสร้างชิ้นงาน

หรือวิธีการ เรียบร้อยแล้วและนำไป

ทดสอบ ถ้าหากมีข้อบกพร่องจะทำการ

แก้ไข ดังนั้นกระบวนการออกแบบ

เชิงวิศวกรรมจึงประกอบด้วย 6 ขั้น


ตอน ดังนี้

2.

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ระบุปัญหา

รวบรวมข้อมูลและเเนว
คิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา

ออกแบบวิธีการ
แก้ปัญหา

ทดสอบ ประเมินผล วางแผนและดำเนิน
และปรับปรุงแก้ไขวิธี การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาหรือชิ้น
นำเสนอวิธีการแก้
งาน ปัญหา ผลการแก้
ปัญหาหรือชิ้นงาน

3.

ระบุปัญหา

เป็นขั้นตอนเพื่อให้ทำความเข้าใจปัญหาหรือ
ความต้องการในชุมชน ที่วิเคราะห์ สถานการณ์
ที่ประสบปัญหาจากแหล่งต่างๆ เพื่อนำไป
แก้ไขสาเหตุของปัญหา จากอะไร และความ
ต้องการเป็นอย่างไร โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมใน
การวิเคราะห์มีขั้นตอนอยู่ ๔ ขั้นตอน ดังนี้
_ศึกษาปัญหา
_สาเหตุของปัญหา
_ศึกษาความสามารถของการแก้ปัญหา
_ศึกษาวิธีการแก้ปัญหา

สาเหตุสำคัญที่สุดของปัญหาการจราจรติดขัด คือ มีการใช้รถส่วนตัวกันมากกว่า
การขนส่งสาธารณะ ซึ่งไม่มีเมืองใหญ่ ๆ ที่ไหนในโลกเขาทำกัน แม้แต่
เมืองที่ประชาชนจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีกว่า ซึ่งสามารถซื้อรถยนต์ได้
มากกว่าคนไทย แต่ประเทศเหล่านั้นกลับเลือกใช้การขนส่งสาธารณะเป็น
หลัก ใช้รถส่วนตัวเฉพาะบางกรณีเท่านั้น การใช้รถส่วนตัวมาก ทำให้เปลือง

พื้นที่ถนนมาก มีการจราจรที่คับคั่งจนเกินไป เมื่อเทียบกับการขนส่งสาธารณะ
เช่น รถใต้ดิน รถไฟ รถเมล์ ที่ใช้พื้นที่ต่อคนน้อยกว่ารถส่วนตัวมากมาย
หลายเท่า สาเหตุที่คนกรุงเทพ ฯ และ คนเมืองใหญ่ใช้รถส่วนตัวกันมาก
เป็นทั้งเรื่องค่านิยม และ เนื่องมาจากไม่มีบริการขนส่งสาธารณะที่ดีพอ



พูดได้เลยว่า ปัญหาการจราจรคับคั่งในกรุงเทพฯ สะท้อนให้เห็นว่าความเจริญ
ทางเศรษฐกิจรวมศูนย์ที่กรุงเทพฯ และ ปริมณฑลมากไป คนชั้นกลางชั้นสูง
ใช้รถส่วนตัวกันมาก การจะแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯและปริมณฑล ต้อง
เชื่อมโยงกับการแก้ไขนโยบายพัฒนาประเทศให้มุ่งกระจายการพัฒนาสู่ต่าง
จังหวัด และ พัฒนาเพื่อคนจนมากขึ้น ไม่ใช่แค่แก้ ปัญหาจราจร เท่านั้น
ซึ่งนอกจากจะแก้ไม่ได้ผลแล้ว ยังต้องใช้งบประมาณสิ้นเปลืองมากขึ้น ทำให้
มีงบประมาณเหลือไปช่วยต่างจังหวัดลดลงไปอีก กลายเป็นปัญหางูกินหางไม่รู้

จบสิ้น

5.

รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่
เกี่ยวข้องกับปัญหา

เป็นตอนที่เกิดจากการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา จาการหาวิธีหลากหลาย
การค้นหาวิธีแลัการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ จากการสอบถาม การสืบค้นหรือ
การสำรวจ การสัมภาษณ์ เป็นการศึกษาองค์ความรู้จากศาสตร์อื่นๆ โดยวิธีการแก้
ปัญหาจากการรวบรวมข้อมูล ดังนี้

การสัมภาษณ์

การรวบรวมข้อมูลที่น่าเชื่อถือและเป็นที่นิยมนำมาใช้ในการตอบคำถาม หากต้องการ
ซักถามจากผู้สัมภาษณ์กรณีคำถามที่ไม่เข้าใจ สามารถถามคำถามจากผู้สัมภาษณ์
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และมีความซื่อสัตย์ที่เป็นข้อมูลจริง

การสืบค้น

เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสืบค้น หรือสำรวจจากแหล่งข้อมูลที่ทำการเลือก และ นำ
ข้อมูลที่สำรวจมาวิเคราะห์ผล เพื่อนำผลมาแก้ปัญหาหรือเก็บข้อมูลในการวิจัยที่เป็น
ประโยชน์ ซึ่งการสืบค้นหรือสำรวจเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย

จากปัญหารถติดในปัจจุบัน ทำให้พวกเราเห็นว่า
มันกลายเป็นปัญหาหนึ่งในชีวิตประจำวันที่เจอกันอยู่ตลอด

จากการสอบถามข้อมูลจากผู้ที่ประสบเจอกับตนเอง
พบว่า ผู้คนในเมืองใหญ่ส่วนมากเจอกับปัญหานี้ ซึ่งผู้ที่ให้
สัมภาษณ์บอกว่ามันอาจเกิดจากการที่ผู้คนส่วนมากซื้อรถใช้
กันเอง เพื่อความสะดวกทำให้เกิดการแออัดกันของรถ และ

พื้นที่ที่มีอยู่อย่างจำกัด

และจากการรวบรวมข้อมูลสามารถพูดได้เลยว่า ปัญหาการ
จราจรคับคั่งในกรุงเทพฯ สะท้อนให้เห็นว่าความเจริญทาง
เศรษฐกิจรวมศูนย์ที่กรุงเทพฯ และ ปริมณฑลมากไป คน
ชั้นกลางชั้นสูงใช้รถส่วนตัวกันเยอะจนเกินความสมควร

7.

ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา

ข้อนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ ซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้
เสมอไป อาจเป็นวิธีการก็ได้ และการออกแบบไม่จำเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป
อาจเป็นแค่ลำดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนซึ่งรวมปฏิบัติการลงไปด้วย
นั่นคือ เมื่อออกแบบไว้แล้ว ต้องลงมือทำ และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ออกแบบไว้

ประกอบไปด้วยการถ่ายทอดความคิด และความคิดสร้างสรรค์ ดังนี้

3.1 การถ่ายทอดความคิด

การถ่ายทอดความคิดเป็นการออกแบบเพื่ออธิบายให้เข้าใจในการออกแบบ สามารถ
แบ่งออกได้ 3 แบบ ดังนี้

• ภาพร่าง (sketch)

เป็นภาพที่เเสดงรายละเอียดในช่วงต่างๆของชิ้นงานที่ได้ออกแบบไว้ ประกอบด้วย รูป
ร่าง ลักษณะ หลักการทำงาน และกลไกภายใน การถ่ายทอดความคิดในการร่างแบบ

2 มิติ และ 3 มิติ

วิธีการออกแบบการแก้ปัญหานี้คือ

-ขยายถนนให้กว้างเท่ากันตลอดสาย
-พยายามลดการตัดกระแสของรถที่วิ่งบนถนนให้มากที่สุด
โดยกำหนดจุดเส้นทางให้รถที่ออกจากตรอกซอกซอยไปออก

ในทางเดียวกัน เพื่อลดการตัดกระแสของรถทางตรง
-ทำสะพานลอย หรือ อุโมงค์ตามสี่แยกที่มีรถมาก เพื่อลด

ปัญหาได้มากขึ้น
-แก้ปัญหาเวลามีการกีดขวางเส้นทางการจราจรให้ได้เร็วที่สุด

-ปรับปรุงการปล่อยสัญญา ไฟจราจร ให้สัมพันธ์กัน ให้รถวิ่ง
ได้ต่อเนื่องตลอดเส้นทาง

-พยายามขยายถนนเพื่อรองรับกับจำนวนรถที่เพิ่มขึ้นให้ทัน
กัน

9.

วางแผนและดำเนินการแก้ไขปัญหา

วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหาเป็นลำดับขั้นตอน และเวลาที่นำไปใช้ใน

การสร้างชิ้นงาน เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา หลังจากที่ได้ออกแบบจะลงมือปฏิบัติ

จากการร่างแบบ และเริ่มสร้างต้นแบบ เพื่อกำหนดการทํางานตามที่ได้ตั้งเป้า


หมายไว้ และระยะเวลาในการกำหนดขั้นตอนต่างๆ

แผนการดำเนินการปฏิบัติงาน

กิจกรรม ระยะเวลาในการดำเนินการ

ลำดับที่

สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤษจิกายน

1. คิดหัวข้อเรื่องและการศึกษาเอกสาร

2. การเขียนโครงเรื่อง
3. การปฏิบัติโครงเรื่อง

4. การเขียนรายงาน

5. การนำเสนอและแสดงผลโครงเรื่อง

เราจะเริ่มการวางแผนการทำงานด้วยการสอบถามข้อมูล หรือสัมภาษณ์
จากผู้ประสบปัญหาจริง โดยนำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียงแล้วเริ่มสร้าง

โครงเรื่องไว้ และลงมือปฏิบัติตามที่วางเอาไว้

11.

ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้
ปัญหาหรือชิ้นงาน

เป็นการตรวจสอบชิ้นงานที่ได้มีการสร้างต้นแบบ เเละสร้างขึ้น
เพื่อสอดคล้องกับการถ่ายทอดความคิด

มีการทำงานและมีข้อบกพร่องอย่างไร หากมีพบเจอข้อผิดพลาด
จากการสร้างต้นแบบที่ไม่สอดคล้องกับการถ่ายทอดความคิด ควร

ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาชิ้นงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

การทดสอบ

เป็นการนำชิ้นงานไปตรวจสอบว่ามีการทำงานได้จริงหรือไม่ มีข้อ
บกพร่องอย่างไร

หากพบข้อผิดพลาดของชิ้นงานให้ทำการแก้ปัญหา และ
ทำการบันทึกข้อมูลต่างๆ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติแก้ไขชิ้นงาน

ครั้งต่อไป

12.

ประเมินผล

เป็นการนำชิ้นงานจากการทดสอบที่ได้ระบุปัญหาไว้มาประเมินผลที่เกิดขึ้น
หากชิ้นงานนั้นมีปัญหาไม่สามารถแก้ไขได้

ควรนำไปแก้ไขและนำไปปรับปรุง เพื่อให้ชิ้นงานนั้นออกมา มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น

การปรับปรุงแก้ไข

เป็นขั้นตอนจากการทดสอบ และนำมาปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน ควรปรับปรุงชิ้น
งานส่วนใดแล้วดำเนินการแก้ไข

เพื่อให้ชิ้นงานสมบูรณ์แบบและนำไปใช้งานได้เหมาะสมมากขึ้น

จากการทดสอบการใช้งานวิธีการแก้ สามารถช่วยให้พื้นที่บาง
ส่วน มีการจราจรที่มีความแออัดลดลง ผู้คนเริ่มใช้รถประจำ
ทางกันเยอะขึ้น ช่วยให้ประชาชนที่หาเช้ากินค่ำมีรายได้เพิ่ม
ขึ้น และยังช่วยลดปัญหามลพิษไปอีกด้วย แต่ปัญหานี้ก็ต้อง

แก้ไขกันต่อไปแบบต่อเนื่อง

14.

นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

เป็นการนำเสนอผลงานที่เกิดจากการ
ถ่ายทอดความคิด และขั้นตอนการทำงาน
จาก การออกแบบชิ้นงานเพื่อพัฒนาวิธีการ
โดยให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ
ทำงาน และชิ้นงานหรือ วิธีการที่ได้ ซึ่ง
สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การเขียน
รายงาน การทําแผ่นนำเสนอผลงาน การจัด
นิทรรศการ และการนำเสนอผ่านสื่อ
ออนไลน์ ผลลัพธ์จากการทดสอบเป็นไป
ตามเป้าหมาย และสรุป ในเชิงกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรมจากการสร้างและ
พัฒนาขึ้นมา



16.

ปั ญหารถติ ด

สาเหตุ สำคั ญที่ สุ ดของปั ญหาการจราจรติ ดขั ด
คื อ มี การใช้ รถส่ วนตั วกั นมากกว่ าการขนส่ ง
สาธารณะ ซึ่ งไม่ มี เมื องใหญ่ ๆ ที่ ไหนใน
โลกเขาทำกั น แม้ แต่ เมื องที่ ประชาชนจะมี
ฐานะความเป็ นอยู่ ที่ ดี กว่ า ซึ่ งสามารถซื้ อ
รถยนต์ ได้ มากกว่ าคนไทย แต่ ระเทศเหล่ า
นั้ นกลั บเลื อกใช้ การขนส่ งสาธารณะเป็ น
หลั ก ใช้ รถส่ วนตั วเฉพาะบางกรณี เท่ านั้ น
การใช้ รถส่ วนตั วมาก ทำให้ เปลื องพื้ นที่ ถนน

มาก มี การจราจรที่ คั บคั่ งจนเกิ นไป เมื่ อ
เที ยบกั บการขนส่ งสาธารณะ เช่ น รถใต้ ดิ น
รถไฟ รถเมล์ ที่ ใช้ พื้ นที่ ต่ อคนน้ อยกว่ ารถ

ส่ วนตั วมากมายหลายเท่ า สาเหตุ ที่ คน
กรุ งเทพ ฯ และ คนเมื องใหญ่ ใช้ รถส่ วน
ตั วกั นมากเป็ นทั้ งเรื่ องค่ านิ ยม และ เนื่ องมา

จากไม่ มี บริ การขนส่ งสาธารณะที่ ดี พอ

ที่ ม า : https://dparktraffic.com/traffic

17.
ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ

ปัญหารถติด

การใช้รถส่วนตัวมาก ทำให้เปลืองพื้นที่ถนนมาก มีการจราจรที่คับคั่งจนเกินไป
เมื่อเทียบกับการขนส่งสาธารณะ เช่น รถใต้ดิน รถไฟ รถเมล์ ที่ใช้พื้นที่ต่อคน
น้อยกว่ารถส่วนตัวมากมายหลายเท่า สาเหตุที่คนกรุงเทพ ฯ และ คนเมืองใหญ่ใช้
รถส่วนตัวกันมากเป็นทั้งเรื่องค่านิยม และ เนื่องมาจากไม่มีบริการขนส่งสาธารณะที่ดี
พอมีการใช้รถส่วนตัวกันมากกว่าการขนส่งสาธารณะ


Click to View FlipBook Version