The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nsmu_it, 2024-03-12 04:54:09

แผนการจัดการความรู้ ปีงบประมณ 2564

แผนการจัดการความรู้ 2564

แผนการจัดการความรู้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2564 โดย คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ และ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง


สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 การจัดการความรู้ ความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ 2 นโยบายการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 กลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 แผนยุทธศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2566-2567 3 ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ 4 รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 4 ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนการจัดการความรู้ แผนการด าเนินงานการจัดการความรู้ 5 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจ 7 การศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมเสริมสร้างความรู้ในการพัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย R2R 10 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการสายวิชาการและสายสนับสนุน12 แผนที่การด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) 15 KM 7 ขั้นตอน 16 ภาคผนวก ภาคผนวก ก. KM Road Map 18 ภาคผนวก ข. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 19 ภาคผนวก ค. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพ 22 ภาคผนวก ง. รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงานทุกหน่วยงาน 27 ภาคผนวก จ. รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงานของบุคลากรสายสนับสนุน 28 กิจกรรม Show Case Best Practice จ านวน 13 ผลงาน ภาคผนวก ฉ. ผลงานที่ส่งเข้าร่วมงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ าปี2564 29 “MAHIDOL QUALITY FAIR 2021 (Mahidol Culture : M-A-H-I-D-O-L)


1 ส่วนที่ 1 การจัดการความรู้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ความเป็นมา การพัฒนาระบบการจัดการความรู้เป็นเรื่องที่ส าคัญและมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง คณะพยาบาลศาสตร์ ซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2439 จนถึงปัจจุบันมีอายุกว่า 124 ปี มีวัฒนธรรมการถ่ายทอดความรู้มายาวนานและ ต่อเนื่อง หลากหลายรูปแบบ เช่น ถ่ายทอดความรู้จากอาจารย์ผู้มีความช านาญไปยังอาจารย์ใหม่ พี่สอนน้อง หรือการถ่ายทอดความรู้ของผู้เกษียณให้กับบุคลากรในคณะฯ ท าให้เกิดการเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ตรง และองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวสั่งสมและเกิดเป็นประสบการณ์ นอกจากนี้ยังการน าความรู้ที่มีอยู่แล้วมาพัฒนาต่อ ยอดเป็นงานวิจัย ซึ่งก่อให้เกิดงานวิจัยตรงตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์ในคณะฯ ในขณะเดียวกันมีการ พัฒนาคุณภาพของหน่วยงานของตนเองอย่างต่อเนื่อง เช่น การท าให้ขั้นตอนการท างานเร็วขึ้น ซึ่งด าเนินงาน มาอย่างต ่อเนื ่องยาวนาน แต ่อย ่างไรก็ตามความรู้ที ่ได้รับการถ ่ายทอดต ่างๆ ส่วนใหญ ่ไม ่ได้ถูกเก็บเป็นลาย ลักษณ์อักษร หรือมีการเผยแพร่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานให้ชัดเจน ท าให้องค์ความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ที่เป็นต้นแบบในเรื่องต่างๆ ไม่มีหลักฐานหรือไม่เกิดการน าใช้อย่างกว้างขวาง คณะพยาบาลศาสตร์จึงเริ่มพัฒนาระบบการจัดการความรู้อย่างจริงจังให้ครอบคลุมทุกพันธกิจ และเกิดการ น าความรู้มาใช้ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาเว็บไซต์การจัดการความรู้เพื่อใช้เป็นช่องทางใน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้แต่การจัดการความรู้ยังอยู่ในระบบ อินทราเน็ต ยังไม่ได้มีการเผยแพร่ออกไปภายนอก ต่อมาในปีงบประมาณ 2551 คณะฯ มียุทธศาสตร์และแผนงานที่ ชัดเจนในการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จึงได้มีการจัดตั้งคณะท างานพัฒนาระบบการจัดการ ความรู้ขึ้น เพื่อเข้ามาด าเนินการในเรื่องดังกล่าว ในปีงบประมาณ 2552 คณะฯ ได้แต่งตั้ง “คณะกรรมการพัฒนา องค์กรแห่งการเรียนรู้”และ “คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการความรู้” ขึ้น ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 2 ชุดได้ ประสานงานและท างานร่วมกันในการด าเนินการให้เกิดการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ และพัฒนาระบบการจัดการความรู้ขึ้นภายในคณะฯ รวมทั้งผลักดันให้เกิดระบบการจัดการความรู้ของ ภาควิชาต่างๆ ด้วย ในปีงบประมาณ 2554 คณะฯ ได้ทบทวนและวางแผนการด าเนินการด้านการจัดการความรู้ ใหม่ โดยได้รวมคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด เข้าด้วยกัน และตั้งชื่อใหม่เป็น “คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการ เรียนรู้และการจัดการความรู้” และมีบุคลากรและหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดการความรู้ โดยตรง ผลักดันให้เกิดองค์ความรู้มากขึ้นทั้งที่เป็นความเชี่ยวชาญตามพันธกิจ เช่น พันธกิจการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ รวมถึง การบริหารจัดการ และการประกันคุณภาพ ต่อมาปี 2562 เริ่มมีการผลักดันให้เกิดการ จัดการความรู้ทั้งองค์กร โดยให้สายสนับสนุนและลูกจ้างเข้ามามีส่วนร่วมท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้ง องค์กรต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้คณะพยาบาลศาสตร์เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และพร้อมที่จะเผยแพร่ องค์ความรู้ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายสถาบันการศึกษาพยาบาลด้วยกัน


2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา การวิจัย บริการ วิชาการ บริหารจัดการ และการประกันคุณภาพของคณะพยาบาลศาสตร์ 2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 3. เพื่อให้บุคลากรสายสนับสนุนมีเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพงานที่หลากหลาย เช่น root cause analysis, flow chart 4. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มงาน ค้นหาแนวแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากรของคณะพยาบาลศาสตร์และบุคคลภายนอก 5. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์และจากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 6. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ไปยังหน่วยงานภายนอกและสถาบันการศึกษาพยาบาล นโยบายการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง ได้วางนโยบายการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ไว้ดังนี้ 1. สร้างระบบการจัดการความรู้ด้วยการส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้ การสร้างองค์ความรู้ การจัดเก็บความรู้รวมทั้งการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ให้เป็นเครื่องมือพัฒนางานอย่างต่อเนื่องอันน าไปสู่การ สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ 2. สนับสนุนให้ทุกหน่วยงาน/ภาควิชาฯ มีการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ รวมทั้งการน าองค์ ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงานของหน่วยงาน/ภาควิชา เพื่อให้เกิดการ ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทุกหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอกสถาบัน กลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ กลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลที่ส าคัญ มีดังนี้ 1. มีคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 2. มีหน่วยงานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง เป็นผู้ด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ จากกลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ดังกล่าว คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล น าไปสู่การปฏิบัติโดยมีระบบ และกลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ภายในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคณะพยาบาล ศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะฯ รวมถึงการจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในระดับภาควิชา และหน่วยงาน 2. จัดท าโครงการ/ กิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์


3 3. จัดกิจกรรมการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามประเด็นส าคัญของคณะฯ ได้แก่ การศึกษา วิจัย บริการ วิชาการ บริหารจัดการและการประกันคุณภาพ ทั้งในระดับภาควิชาฯ หน่วยงาน และระดับคณะฯ 4. ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามประเด็นต่างๆ และเผยแพร่ ความรู้ผ่านทางเว็บไซต์การจัดการความรู้และเว็บไซต์ของภาควิชาฯ 5. สนับสนุนให้มีการน าความรู้จากการจัดการความรู้ไปใช้ในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง 6. จัดเวทีให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนระหว่างหน่วยงานภายในคณะฯ รวมถึงส่งเสริมให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ ไปภายนอกองค์กร แผนยุทธศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2564-2567 แผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 กลยุทธ์ที่ 4.5 พัฒนาระบบและกลไกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในทุกพันธกิจ


4 ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทิศทางและกลไกสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ ประธาน รองคณบดีพัฒนาคุณภาพ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ กรรมการ 3. รองศาสตาจารย์ ดร.วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์ กรรมการ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภัค เภตราสุวรรณ กรรมการ 5. อาจารย์กุลธิดา หัตถกิจพาณิชสกุล กรรมการ 6. อาจารย์ ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ กรรมการ 7. อาจารย์เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล กรรมการ 8. อาจารย์สุรัสวดี ไวว่อง กรรมการ 9. นางนภัสสร ลาภณรงค์ชัย กรรมการและเลขานุการ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง 10. นายกณพ ค าสุข กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 11. นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ 1. จัดท าแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2. สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะพยาบาลศาสตร์อย่างต่อเนื่อง 3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการความรู้ทั้งในระดับภาควิชา และส านักงานของ คณะพยาบาลศาสตร์ 4. สร้างองค์ความรู้จากการจัดการความรู้และน าองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร


5 ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้วางแผนการ ด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ ดังนี้ เป้าประสงค์หลัก: เพื่อพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ นโยบาย: ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบทั่วทั้งองค์กร เป้าประสงค์: มีประยุกต์การจัดการความรู้ในการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ในพันธกิจด้านต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทิศทางและกลไกสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ก าหนดทิศทางการจัดการความรู้ที่มีผล ต่อยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แผนการจัดการความรู้ที่ส่งเสริม ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดท าแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ที่สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่สอดคล้องกับ พันธกิจการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ บริหารจัดการและการประกันคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. ส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับมีส่วน ร่วมเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนการจัดการ ความรู้อย่างต่อเนื่อง จ านวนผลงานที่ได้จากบุคลากร โครงการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ การพัฒนาคุณภาพงาน กิจกรรมที่ 1 เสริมสร้างความรู้ใน การพัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย R2R กิจกรรมที่ 2 สัญจรพบหน่วยงาน 2. พัฒนาศักยภาพด้านการจัดการ ความรู้ จ านวนผลงานที่น าไปขอต าแหน่งที่ สูงขึ้นของสายสนับสนุน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิด การขับเคลื่อนการจัดการความรู้อย่าง ต่อเนื่อง จ านวนองค์ความรู้จากการจัดการ ความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ 1. โครงการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ การพัฒนาคุณภาพงาน กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการจัดการ ความรู้กับการด าเนนิงานตามพันธ กิจการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ กิจกรรมที่ 6 ถ่ายทอดความรู้ผู้ เกษียณอายุราชการ


6 ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. สร้างแรงจูงใจด้วยการให้รางวัล เกียรติบัตร และยกย่องเชิดชู เพื่อ กระตุ้นการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ ในแต่ละหน่วยงาน 1. โครงการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ การพัฒนาคุณภาพงาน กิจกรรมที่ 7 จัดประกวดผลงาน การจัดการความรู้ (Show Case Best Practice) 2. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานที่ ได้รับรางวัล 2. สื่อสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม KM แก่บุคลากรทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง 1. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ KM ทุก ช่องทาง 2. สร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพและเหมาะสม


7 แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2564 : โครงการ กิจกรรมชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตาม2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม : ได้องค์ความรู้จากการจัดการความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 1 การก าหนดประเด็น ความรู้และเป้าหมาย ของการจัดการความรู้ - ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อ ก าหนดประเด็นการจัดการความรู้ ตามพันธกิจของสายวิชาการ ในระดับคณะฯ - กลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของภาควิชาฯ ก าหนดประเด็นและเป้าหมายการ จัดการความรู้ของกลุ่ม ต.ค. 63-ก.ย. 64 - ได้ประเความรู้ตอย่างน้อ- ได้ประความรู้อ2 ก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรสายวิชาการ ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีบุคลากกิจกรรม3 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน พันธกิจด้านการศึกษา การวิจัย บริการวิชาการ และด้านอื่นๆ - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีจ านวนความรู้ในอย่างน้อ


รการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพงาน การจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ มพันธกิจการศึกษา การวิจัย และอื่นๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ กับการด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ เด็นและเป้าหมายการจัดการ ามพันธกิจในระดับคณะฯ ย 3 เรื่อง เด็นและเป้าหมายการจัดการ ย่างน้อย 7 เรื่อง - ความรู้ในพันธกิจด้านการศึกษา การวิจัย และด้านอื่นๆ - สร้างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติในระดับภาควิชา และส านักงานของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน กรสายวิชาการเข้าร่วมใน ที่จัด บุคลากรสายวิชาการเข้าร่วมในกิจกรรมการ จัดการความรู้ในพันธกิจด้านการศึกษา การ วิจัย บริการวิชาการ และด้านอื่นๆ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน นองค์ความรู้จากการจัดการ นพันธกิจด้านต่างๆ ย 10 เรื่อง - มีการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ในพันธ กิจด้านการศึกษา การวิจัย และด้านอื่นๆ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการด าเนินงาน ตามพันธกิจต่างๆ ของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


8 ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา - จัดกิจกรรม KM Day ส าหรับสาย วิชาการ 4 ติดตามผลงาน 1. ผลงานหลังจากจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพันธกิจด้าน การศึกษา การบริการวิชาการ และ ด้านอื่นๆ 2. ผลงานหลังจากกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ ของภาควิชา ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีจ านวนความรู้ในอย่างน้อ5 การรวบรวมความรู้ และจัดเก็บอย่างเป็น ระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็นลายลักษณ์ อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้ ไว้บนเว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีการจัดที่ได้ไว้บน6 การน าความรู้ที่ได้จาก การจัดการความรู้มา ปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานจริง น าความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียน ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีการน าประโยชน


ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ - มีโครงการที่น าเสนอในงาน KM Day ส าหรับสายวิชาการ ได้รับการคัดเลือก ส่งเข้าประกวดในงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล นองค์ความรู้จากการจัดการ นพันธกิจด้านต่างๆ ย 10 เรื่อง 1. ผลงานหลังจากจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในพันธกิจด้านการศึกษา การบริการ วิชาการ และด้านอื่นๆ อย่างน้อย 3 เรื่อง 2. ผลงานหลังจากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของภาควิชา อย่าง น้อยภาควิชาละ 7 เรื่อง คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน เก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ นเว็บไซต์ รวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่องค์ความรู้ของ คณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน องค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ น์อย่างน้อย 3 เรื่อง มีการน าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการ ปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


9 ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 7 รายงานแจ้งที่ประชุม กค. และทีมบริหาร 1. ขั้นตอนการด าเนินงาน 2. ความส าเร็จของงาน ต.ค. 63-ก.ย. 64


ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ - - คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


10 แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2564 : โครงการ กิจกรรมชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อให้บุคลากรสายสนับสนุนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถพั2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มงาน ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Besและเผยแพร่ไปสู่บุคลากรของคณะพยาบาลศาสตร และบุคคลภายนอก 3. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม : ได้องค์ความรู้ได้ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 1 การก าหนดประเด็น ความรู้และเป้าหมาย ของการจัดการ ความรู้ 1. ก าหนดประเด็นการจัดการ ความรู้ตามพันธกิจของสายวิชาการ และสายสนับสนุนในระดับคณะฯ ต.ค. 63-ก.ย. 64 (8 ต.ค.63 ประชุมวางแผน การด าเนินงาน) 1. ได้ประเด็นพัฒนางานป2 ก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่จะ พัฒนาความรู้และ ทักษะ บุคลากรสายสนับสนุน ต.ค. 63-ก.ย. 64 (8 ต.ค.63 ประชุมวางแผน การด าเนินงาน) มีบุคลากรสากิจกรรมที่จัด3 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ไปสู่ - จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ใน การพัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย R2R - สัญจรพบ 12 หน่วยงานๆ ละ 2 ครั้ง ต.ค. 63-ก.ย. 64 จ านวนหน่วยR2R โดยมีค่


รการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพงาน เสริมสร้างความรู้ในการพัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย R2R ัฒนางานประจ าสู่งานวิจัย R2R ในพันธกิจที่ส าคัญของคณะฯ st Practice) จัดท า R2R ในการพัฒนาคุณภาพงานในหน่วยงานสนับสนุนของคณะพยาบาลศาสตร์ กับการด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ นและเป้าหมายในการ ประจ าสู่งานวิจัย R2R หน่วยงานสายสนับสนุน 12 หน่วยงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน ายสนับสนุนเข้าร่วมใน ด บุคลากรสายสนับสนุนทุกท่านเข้าร่วมใน กิจกรรมการจัดการความรู้ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน ยงานพันธกิจหลักจัดท า าเป้าหมายอยู่ที่ 4 เรื่อง - มีการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ในพันธ กิจด้านการศึกษา การวิจัย และด้านอื่นๆ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการด าเนินงาน ตามพันธกิจต่างๆ ของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


11 ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย - จัด Show Case Best Practice 4 ติดตามผลงาน ผลงานหลังจากที่ได้สัญจรพบ 12 หน่วยงาน ต.ค. 63-ก.ย. 64 จ านวนหน่วยค่าเป้าหมาย5 การรวบรวมความรู้ และจัดเก็บอย่างเป็น ระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ที่ ได้ไว้บนเว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีการจัดเก็บความรู้ที่ได้ไว6 การน าความรู้ที่ได้ จากการจัดการ ความรู้มาปรับใช้ใน การ ปฏิบัติงานจริง น าความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียน ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ต.ค. 63-ก.ย. 64 มีการน าองค์ประโยชน์อย7 รายงานแจ้งที่ประชุม กค. และทีมบริหาร 1. ขั้นตอนการด าเนินงาน 2. ความส าเร็จของงาน ต.ค. 63-ก.ย. 64


ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ - มีโครงการยกระดับคุณภาพงานสู่ R2R ที่น าเสนอในกิจกรรม Show Case Best Practice ได้รับการคัดเลือก ส่งเข้าประกวด ในงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ยงานจัดท า R2R โดยมี ยอยู่ที่ 12 เรื่อง หน่วยงาน 12 หน่วยงานมีผลงาน R2R อย่างน้อย 1-2 ชิ้น คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน สรุปถอดบทเรียน/ ว้บนเว็บไซต์ รวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่องค์ความรู้ ของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน ค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ ย่างน้อย 1 เรื่อง มีการน าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน การปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน - - คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


12 แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2564 : โครงการ กิจกรรมชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุร2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม : ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 1 การก าหนดประเด็นความรู้ และเป้าหมายของการ จัดการความรู้ ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อก าหนดประเด็น การถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้เกษียณอายุ ราชการ ต.ค. 63-ก.ย. 64 2 ก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมาย ผู้เกษียณอายุราชการปีงบประมาณ 2564 สายวิชาการ 1. รศ.ดร.ทัศนี ประสบกิตติคุณ 2. รศ.ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ 3. รศ.ดร.อุษาวดี อัศดรวิเศษ 4. ผศ.วันดี โตสุขศรี 5. อ.ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ สายสนับสนุน 1. นางสาวกรุณา คุ้มพร้อม 2. นางสาวฉวีวรรณ สาระคง 3. นางสาววริษา หาเรือนธรรม 4. นางสาววิลาวัลย์ ดวงล้อมจันทร์ 5. นางสาวสุรางค์ ศิโรโรตม์สกุล ต.ค. 63-ก.ย. 64


รการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพงาน ถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการสายวิชาการและสายสนับสนุน ราชการ าชการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ 1 เรื่อง สร้างวัฒนธรรมองค์กรการ ถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ ผู้เกษียณอายุราชการเข้าร่วมใน กิจกรรมอย่างน้อย 2 คน สร้างวัฒนธรรมองค์กรการ ถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ - คณะกรรมการฯ


13 ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา สายลูกจ้าง 1. นายสมชาย น้อยปั่น 2. นางสุภาพร อิ่มมาก 3. นางเสาวนีย์จันทร์เฉลิม 4. นางแสงอรุณ เจียมเจริญ 3 ติดต่อผู้เกษียณอายุ และ วิทยากรผู้ด าเนินรายการ - ผู้เกษียณอายุถ่ายทอดประสบการณ์ - วิทยากรผู้ด าเนินรายการ ต.ค. 63-ก.ย. 64 4 การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับคณะฯ เพื่อให้ผู้เกษียณอายุราชการได้ถ่ายทอดความรู้ - ถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้เกษียณ อายุ ราชการ ต.ค. 63-ก.ย. 64 5 การรวบรวมความรู้และ จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 63-ก.ย. 64 6 การน าความรู้ที่ได้จากการ จัดการความรู้มาปรับใช้ ในการปฏิบัติงานจริง น าความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณอายุราชการไปใช้ใน การปฏิบัติงานจริง ต.ค. 63-ก.ย. 64


ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ มีผู้เกษียณอายุถ่ายทอดประสบการณ์ อย่างน้อย 2 คน ได้รับความรู้จาก ผู้เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง - ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอด ความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ อย่างน้อย 1 เรื่อง - สร้างวัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้ จากการถ่ายทอดความรู้ ของผู้เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ มีการจัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวม จัดเก็บ และ เผยแพร่องค์ความรู้ของ คณะฯ คณะกรรมการฯ มีการน าความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณ อายุราชการไปใช้ในการปฏิบัติงาน อย่างน้อย 1 เรื่อง มีการน าความรู้ที่ได้จากผู้ เกษียณอายุราชการไปใช้ใน การปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ


14 ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 7 รายงานแจ้งที่ประชุม กค. และทีมบริหาร 1. ขั้นตอนการด าเนินงาน 2. ความส าเร็จของงาน ต.ค. 63-ก.ย. 64


ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ - - คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


15 แผนที่การด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีแผนที่การ ด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) โดยเป็นการจัดเก็บในรูปแบบของคลังความรู้ที่เกิดจากการ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถเข้าไปได้ที่ Website KM http://www.elearning.ns.mahidol.ac.th/km/ ซึ่งได้จัดเก็บแบ่งเป็น 5 ด้าน ดังนี้


16 กระบวนการขั้นตอนสู่ความส าเร็จด้านการจัดการความรู้ของ คค้นหาความรู้ที่ จะท าให้บรรลุ เป้าหมายของ องค์กร สร้างและ แสวงหาความรู้ ให้เหมาะกับงาน และเป้าหมาย จัดการความรู้ให้ เป็นระบบแบ่ง ชนิดประเภทให้ สืบค้นง่าย ปรับปรุงให้เป็น ภาษาเข้าใจง่าย


คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มี7 ขั้นตอน ดังนี้ เข้าถึงความรู้ (website) แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ (เวที) น ามาใช้ ประโยชน์ในการ ตัดสินใจเกิดผล ลัพธ์ที่ดี มุ่งสู่ เป้าหมายคณะฯ


17 ภาคผนวก


1ปี 2551 เกิดกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติจ านวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่มNSFIS กลุ่มNSCIPPA และกลุ่ม NSLP ปี เพิ่มกลุ่มนักปฏิกลุ่มการเรียนการและกลุ่มสปี 2562-2563 เริ่มปรับยุทธศาสตร์ใหม่สนับสนุนให้ ทุกหน่วยงานท า KM เพื่อพัฒนา คุณภาพงานอย่างจริงจัง ปี 2จัดหาเครือข่ายเพื่อให้เกิหน่วยงานภายนอกสถปี 2550 พัฒนา website KM เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ภาคผนวก ก


8 ปี 2553 ปรับรูปแบบการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการเป็นรูปธรรม ในรูปแบบคู่มือทางการพยาบาล 2552 ฏิบัติอีก 3 กลุ่ม คือ รสอน กลุ่มคนรักไอที สายสนับสนุน ปี 2554 ทบทวนการด าเนินการจัดการความรู้ใหม่ พร้อมตั้งคณะกรรมการ KM เฉพาะ ปี 2555-2556 สนับสนุนให้บุคลากรท า KM ต่อเนื่อง จัดเก็บองค์ความรู้ใน web site ปี 2557-2561 แบ่งตามกลุ่มให้เข้าถึงได้ สนับสนุนให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2564-2566 กิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ถาบัน และเครือข่ายพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล


19 ภาคผนวก ข ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้


20


21


22 ภาคผนวก ค โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพงาน


23


24


25


26


27 ภาคผนวก ง รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพจากทุกหน่วยงาน หน่วยงาน ชื่อผลงาน ชื่อผลงาน งานประชาสัมพันธ์และพัฒนา ภาพลักษณ์องค์กร 1. ท่องพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ ด้วยปลายนิ้วใน สถานการณ์ Covid-19 2. การ Tag รูปภาพเพื่อง่ายแก่การ ค้นหา งานห้องสมุด 3. การพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดทางการ พยาบาลแห่งประเทศไทย (Thailand Nursing Library Network Development) 4. การบริหารจัดการระบบงานสาร บรรณ ของงานห้องสมุด งานบริการการศึกษา 5. Online Interview With New Students การรับนักศึกษารูปแบบใหม่เพราะเราห่วงใย คุณ 6. E-Requirement Students Forms For New Situation 7. การพัฒนากระบวนการขอรับบริการห้อง LRC ส าหรับจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงปี 2564 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. การจัดพิธีประกาศการส าเร็จการศึกษา นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจ าปีการศึกษา 2563 ในรูปแบบออนไลน์ งานพัฒนานักศึกษา 9. การพัฒนาระบบการเบิกจ่ายค่าตอบแทน นักศึกษาที่ปฏิบัติงานให้คณะพยาบาลศาสตร์ นอกเวลา งานบริหารจัดการ 10. การบันทึกข้อมูลปฏิบัติงานประจ าวันด้วย Google Calender งานคลัง และพัสดุ (การเงิน) 11. คู่มือในการยืมเงินทดรองจ่าย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล งานคลัง และพัสดุ (พัสดุ) 12. ระบบจัดการครุภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยีคิว อาร์โค้ด งานพัฒนาคุณภาพและบริหาร ความเสี่ยง 13. พัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล KPI ตาม เกณฑ์ต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


28 ภาคผนวก จ รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงานของบุคลากรสายสนับสนุน กิจกรรม Show Case Best Practice จ านวน 13 ผลงาน ชื่อผลงาน หน่วยงาน 1. ท่องพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ ด้วยปลายนิ้วในสถานการณ์Covid-19 งานประชาสัมพันธ์และ พัฒนาภาพลักษณ์องค์กร 2. การพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดทางการพยาบาลแห่งประเทศไทย (Thailand Nursing Library Network Development) ห้องสมุด 3. การจัดพิธีประกาศการส าเร็จการศึกษา นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประจ าปีการศึกษา 2563 ในรูปแบบออนไลน์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การ Tag รูปภาพเพื่อง่ายแก่การค้นหา งานประชาสัมพันธ์และ พัฒนาภาพลักษณ์องค์กร 5. การบริหารจัดการระบบงานสารบรรณ ของงานห้องสมุด ห้องสมุด 6. Online Interview With New Students การรับนักศึกษารูปแบบใหม่ เพราะเราห่วงใยคุณ งานบริการการศึกษา 7. E-Requirement Students Forms For New Situation งานบริการการศึกษา 8. การพัฒนากระบวนการขอรับบริการห้อง LRC ส าหรับจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงปี 2564 งานบริการการศึกษา 9. การพัฒนาระบบการเบิกจ่ายค่าตอบแทนนักศึกษาที่ปฏิบัติงานให้คณะพยาบาลศาสตร์นอก เวลา งานพัฒนานักศึกษา 10. การบันทึกข้อมูลปฏิบัติงานประจ าวันด้วย Google calender งานบริหารจัดการ 11. คู่มือในการยืมเงินทดรองจ่าย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล งานคลัง และพัสดุ (การเงิน) 12. ระบบจัดการครุภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด งานคลัง และพัสดุ (พัสดุ) 13. พัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล KPI ตามเกณฑ์ต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ง า นพั ฒ น า คุ ณ ภ าพ แ ล ะ บริหารความเสี่ยง ตัวอย่างภาพหน้าคลิป VDO กิจกรรม Show Case Best Practice


29 ภาคผนวก ฉ ผลงานที่ส่งเข้าร่วมงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ าปี 2564 “MAHIDOL QUALITY FAIR 2021 (Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L)” โดยแบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ 1. I : Innovative Teaching Award จ านวน 1 ผลงาน 2. T : Team Good Practice จ านวน 1 ผลงาน 3. P : Poster & Oral Presentation (R2R) จ านวน 1 ผลงาน 4. P : Poster & Oral Presentation (Inno) จ านวน 13 ผลงาน 1. I : Innovative Teaching Award 1.1 ชื่อผลงาน Health Innovation Project : Interdepartmental Nursing Course เจ้าของผลงาน อาจารย์ ดร.รัตติมา ศิริโหราชัย และอาจารย์ ดร.ณัฐมา ทองธีรธรรม “นวัตกรรม” คือหนึ่งในเป้าหมายพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals) ดังนั้นการสร้าง พยาบาลวิชาชีพรุ่นใหม่ที่พร้อมทั้งองค์ความรู้ สมรรถนะ และทักษะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ จึงจ าเป็น สอดรับกับการเจริญเติบโต เชิงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ตลอดจนวิถีชีวิตประชาชนไทยปัจจุบันที่เปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัลแล้ว คณะพย าบ าลศ าสต ร์ มห า วิทย าลัยมหิดล เล็งเห็นอัต ถป ร ะโยชน์และก า รสนองนโยบ ายแห่งช าติ จึงพัฒนารายวิชา “พยคร 330 โครงการพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ (Health Innovation Project)” มีเป้าหมายเพื่อ นักศึกษาพยาบาลร่วมเรียนรู้พัฒนาตน ผ่านโครงงานนวัตกรรมทางสุขภาพ กระบวนการตั้งแต่วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพในคลินิก/ ชุมชน ระบุประเด็นปัญหาที่ต้องการเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพการบริการในคลินิก/ชุมชน ประสานความร่วมมือกับทีม พยาบาลและทีมสุขภาพ พัฒนา/สร้างนวัตกรรม น าไปใช้และประเมินผล และเผยแพร่ อันเป็นไปตามวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ การเรียนรู้ระดับรายวิชา ส่งผลให้นักศึกษาบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและน าจดลิขสิทธิ์วิดีโอการน านวัตกรรมได้ 2. T : Team Good Practice 2.1 ชื่อผลงาน พัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล KPI Online ตามเกณฑ์ต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (NSMU KPI Online) หน่วยงาน พัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง และงานนโยบาย แผน และงบประมาณ การพัฒนารูปแบบการจัดเก็บข้อมูล KPI Online ตามเกณฑ์ต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (NSMU KPI Online) จัดท าขึ้นเพื่อลดความซ้ าซ้อนของการขอข้อมูลตัวชี้วัดจากหน่วยงานอื่น เพื่อให้ได้ข้อมูลตัวชี้วัดที่ถูกต้อง และครบถ้วนครอบคลุมเกณฑ์ ในฐานข้อมูลรูปแบบออนไลน์ (NSMU KPI Online) และสามารถใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหาร และบุคลากรใน โดยเป็นการท างานร่วมกันระหว่าง งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง และงานนโยบายและแผนฯ กระบวนการเริ่มต้นจากการพิจารณาตัวชี้วัดที่มีความซ้ าซ้อนของทั้ง 2 หน่วยงาน สามารถลดจ านวนตัวชี้วัดจากของเดิม 335 ตัวชี้วัด เป็น 144 ตัวชี้วัด และเป็นฐานข้อมูลออนไลน์เดียวที่รวบรวมตัวชี้วัดที่ใช้ในเกณฑ์ต่างๆ ได้แก่ EdPEx /TQA, CHE QA Online3D, สภาการพยาบาล, AUN-QA, แผนยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์, PA ส่วนงาน, สงป. อีกทั้งยังเป็นการท าให้ ได้ข้อมูลตัวชี้วัดที่เป็นปัจจุบัน ส ามารถน าไปใช้ในการตัดสินใจ การเทียบเคียงข้อมูลกับคู่แข่ง ส่งผลให้คณะฯ มีการด าเนินงานที่บรรลุวิสัยทัศน์ในการเป็นสถาบันการศึกษาทางการพยาบาลชั้นน าในระดับชาติและนานาชาติ


30 3. P : Poster & Oral Presentation (R2R) 3.1 ชื่อผลงาน การศึกษาความร่วมมือระหว่างห้องสมุดทางการพยาบาลในประเทศไทย เจ้าของผลงาน สุรางค์ ศิโรโรตม์สกุล, ยุพิน ยังสวัสดิ์, นิภาพร เดชะ และวรรณทิน ยิ่งพัฒนพันธ์ ก า ร วิจัยนี้มี วัตถุป ระสงค์เพื่อศึกษ าและพัฒน าค ว าม ร่ วมมือ ระห ว่ างห้องสมุดท างก า รพย าบ าลเป็น ครั้งแรกในประเทศไทยผ่านระบบออนไลน์ โดยใช้ LINE Application ด าเนินการเชิญหัวหน้าห้องสมุดจากสถาบันการศึกษา ทางการพยาบาลของรัฐ จ านวน 40 แห่ง เข้าร่วมกลุ่มเครือข่ายห้องสมุดทางการพยาบาลแห่งประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า หัวหน้าห้องสมุดตอบรับเข้าร่วมเครือข่าย จ านวน 31 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 77.50 รูปแบบของกิจกรรมความร่วมมือที่ห้องสมุด ส่วนใหญ่ต้องการมากที่สุด ร้อยละ 91.67 คือ การสร้างฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการออนไลน์ในลักษณะ Open Access หัวข้อที่ต้องการให้ปรากฎในฐานข้อมูลมากที่สุด ร้อยละ 88.89 คือ ข้อมูลสิ่งพิมพ์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ห้องสมุด จัดซื้อและแบบ Open Access ผู้วิจัยจึงพัฒนากิจกรรมความร่วมมือระหว่างห้องสมุดโดยเชิญชวนแบ่งปันข้อมูลห้องสมุด สิ่งพิมพ์และฐานข้อมูล และพัฒนาเว็บไซต์ Thailand Nursing Research & Educational Resources Gateway โดยต่อยอด ผลงานใน พ.ศ. 2563 คือ Evidence-Based Nursing Practice & Research Support Website ให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงแหล่ง สารสนเทศด้านการเรียนการสอนและวิจัยที่ครอบคลุมยิ่งขึ้นแบบ Open Access และผลการวิจัยพบว่า หัวหน้าห้องสมุด มีคะแนนก่อนและหลังด าเนินกิจกรรม แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p < 0.05) 4. P : Poster & Oral Presentation (Inno) 4.1 ชื่อผลงาน Mom-Mate : คู่หู คู่คิด เพื่อนสนิทคุณแม่ เจ้าของผลงาน กรกนก เกื้อสกุล, ชนิตา ตัณฑเจริญรัตน์ และ ปิยาภรณ์ ล่าฟ้าเริงรณ การตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายประการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และบทบาทการเป็นมารดาการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นส่งผลให้สตรีตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลและต้องการข้อมูลเพื่อน าไปใช้ในการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง การ แสวงหาข้อมูลสุขภาพช่วยให้สตรีตั้งครรภ์มีความรู้ด้านสุขภาพเพื่อใช้ในการตัดสินใจทางสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และมีศักยภาพในการดูแลตนเองได้มากยิ่งขึ้น น าไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีของการตั้งครรภ์ ข้อมูลสุขภาพบนอินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ข้อมูลที่อยู่บนอินเตอร์เน็ตนั้นมีความหลากหลาย อาจไม่ได้ มาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ขัดแย้งกับข้อมูลที่ได้รับจากบุคลากรสุขภาพ ซึ่งอาจท าให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน จึงได้มีการพัฒนานวัตกรรมโมบายแอปพลิเคชั่น “Mom-mate คู่หู คู่คิด เพื่อนสนิทคุณแม่”เพื่อตอบสนองพฤติกรรม การแสวงหาข้อมูลสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และผลลัพธ์ที่ดีของการตั้งครรภ์ ภายหลังทดลองใช้งานพบว่า ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจ ด้านประโยชน์และด้านการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 81.8 และ 72.7 ตามล าดับ 4.2 ชื่อผลงาน การจัดพิธีประกาศการส าเร็จการศึกษาในรูปแบบออนไลน์ เจ้าของผลงาน อรรถพล ศิริพร, วัชรินทร์ ควรหาเวช, ปาลิดา วาศเตชาวุฒิ, บุลากร บัวหลวง, ขวัญใจ เนียมพิทักษ์ พิธีประกาศการส าเร็จการศึกษาเป็นกิจกรรมที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ท าให้เกิดความรัก ความ ผูกพันระหว่างครู-ศิษย์ เพื่อนร่วมรุ่น และรุ่นพี่-รุ่นน้องในสถาบันการศึกษา แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) ส่งผลให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมที่มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 50 คนภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งในพื้นที่ ศาลายา และบางกอกน้อยได้ คณะพยาบาลศาสตร์ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของพิธีประกาศการส าเร็จการศึกษา รวมถึงปัญหาการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จึงได้ปรับกระบวนการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ร่วมมือกับงานบริการการศึกษา และงานบริการวิชาการ ในการวิเคราะห์และวางแผนเพื่อการจัดเตรียมอุปกรณ์และสื่อวิดีทัศน์ ต่าง ๆ เพื่อจัดพิธีการประกาศการส าเร็จการศึกษาในรูปแบบออนไลน์ สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ก่อให้เกิด


31 ความรักและสายสัมพันธ์ที่ดีงามระหว่างสถาบันการศึกษา ครูและศิษย์ ทั้งยังเปิดโอกาสให้บุคคลในครอบครัว รุ่นพี่รุ่นน้อง และ เพื่อนร่วมงาน ได้มีโอกาสร่วมแสดงความยินดีในความส าเร็จนี้ผ่านช่องทางออนไลน์ได้อีกด้วย 4.3 ชื่อผลงาน การพัฒนาระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่า ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เจ้าของผลงาน สุกัญญา กิจจาสุนทร, ขวัญใจ เนียมพิทักษ์, เสาวณี หม่าตระกูล, พัฒนะ ผ่องศรี การพัฒนาระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่า ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้น าเทคโนโลยี สารสนเทศมาปรับกระบวนการท างานแบบเดิม โดยใช้ Google Form, Excel และใช้โปรแกรม ASP (Active Server Pages) ในการพัฒนาระบบฐานข้อมูลครอบคลุมทั้งในด้านข้อมูลน าเข้า การประมวลผล และการแสดงผล ผลลัพธ์คือ เพื่อลดขั้นตอนการ ท างาน จากเดิม 4 ขั้นตอน เหลือ 1 ขั้นตอน ลดระยะเวลาสืบค้นข้อมูล ลดทรัพยากร ข้อมูลมีความถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ร้อยละ 100 และผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจในระดับดี ร้อยละ 90 นอกจากนี้ผู้ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลต้องเป็นผู้ที่ ได้รับมอบหมาย โดยมี username และ password ในการเข้าถึงข้อมูล ซึ่งช่วยรักษาความปลอดภัยข้อมูลส่วนบุคคลของศิษย์ เก่าได้ดี ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (PDPA : Personal Data Protection Act, B.E. 2562 (2019) ในอนาคตสามารถน ามาประยุกต์ใช้กับหลักสูตรอื่นๆ ของคณะฯ และสามารถใช้ข้อมูลในการประชาสัมพันธ์ หรือกิจกรรม ข่าวสารต่างๆ ของคณะฯ และมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ข้อมูลศิษย์เก่าใช้อ้างอิงในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับคณะ และมหาวิทยาลัย 4.4 ชื่อผลงาน Smart Work Smart Time Form Anywhere เจ้าของผลงาน สิริลักษณ์ แซ่โล้ว, รัตนศิริ เจริญสุข, พัฒนะ ผ่องศรี, อริยา ธัญญพืช ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ท าให้การบันทึกเวลาเข้า-ออกงานและบันทึกภาระ งานของบุคลากรที่ท างานที่บ้าน (Work Form Home) มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการก ากับการด าเนินงาน ท าให้เห็นเป้าหมายของการท างานในแต่ละวันที่ชัดเจนขึ้น จากที่ผ่านมาคณะพยาบาลศาสตร์ ได้ให้บุคลากรใช้การบันทึกเวลาเข้า ออกด้วย google document และส่งภาระงานรายบุคคลทาง e-mail ซึ่งพบข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน และไม่สามารถ เชื่อมโยงและน าไปใช้ในงานอื่น ๆ ได้ งานทรัพยากรบุคคลร่วมกับงานเทคโนโลยีสารสนเทศจึงได้ร่วมกันปรับเปลี่ยนวิถีการ ลงเวลาการปฏิบัติงานของบุคลากร ให้สามารถใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา เข้าถึงสะดวก โดยผ่านแอพพลิเคชั่นบนมือถือของแต่ละบุคคล ท าให้คณะพยาบาลศาสตร์ มีข้อมูลการบันทึกเวลาปฏิบัติงานของบุคลากรและเป้าหมายในการท างานของแต่ละวันของบุคลากร น าไปสู่การวางแผนการด าเนินงานและการตัดสินใจในการบริหารงานในพันธกิจที่ส าคัญของคณะพยาบาลศาสตร์ 4.5 ชื่อผลงาน “LNIC application” โมบายแอปพลิเคชั่นต้านการติดเชื้อในผู้ป่วยโรคไตอักเสบลูปัส เจ้าของผลงาน ผชอ. สิริกาญจน์ หาญรบ, อ.ดร.ศิริเพ็ญ พงษ์ไพเชฐ, ผศ.ธนิษฐา สมัย โรคไตอักเสบลูปัสมีผลกระทบกับผู้ป่วยอย่างมาก ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจ จุดมุ่งหมายในการดูแลผู้ป่วย กลุ่มนี้ คือ ท าให้ผู้ป่วยด ารงชีวิตในระยะสงบให้ยาวนานที่สุด โดยการลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ท าให้ผู้ป่วยมีโรคก าเริบ เช่น การส่งเสริมพฤติกรรมการจัดการตนเอง ลดปัจจัยเสี่ยงที่ส าคัญ ได้แก่ การติดเชื้อ ความเครียด และแสงแดด การติดเชื้อเป็น สาเหตุหลักของการก าเริบในผู้ป่วยโรคไตอักเสบ การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นได้ง่ายและรุนแรงกว่ากลุ่มโรคอื่นๆ สาเหตุเกิดได้จาก ทั้งระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยที่ผิดปกติ ผลข้างเคียงจากยากดภูมิคุ้มกัน และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม โครงการนี้ จึงมีจุดประสงค์ในการพัฒนาโมบายแอพลิเคชั่นเป็นภาษาไทยที่ไม่ซ้ าซ้อน ง่ายต่อการใช้งาน เพื่อให้ตอบสนองปัญหาของผู้ป่วยที่ เกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส โดยมีทั้งการให้ความรู้ การฝึกทักษะ และการให้ก าลังใจ


32 4.6 ชื่อผลงาน การบริหารจัดการระบบงานสารบรรณ ของงานห้องสมุด เจ้าของผลงาน ธารริน คงฤทธิ์, ศิริเพ็ญ เดโชสว่าง, ตะวัน ละม้ายแข งานห้องสมุดคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดให้บริการห้องสมุดทั้ง 3 วิทยาเขต ได้แก่ บางกอกน้อย ศาลายา และบางขุนนนท์ ซึ่งภาระงานหลักงานสารบรรณของงานห้องสมุดนั้น แต่เดิมมีผู้รับผิดชอบหลัก 1 คน แต่ปัจจุบันได้รับ มอบหมายจ านวนผู้ปฏิบัติงานมากขึ้น จึงท าให้ขาดการจัดระบบการบริหารงารสารบรรณที่ดี การด าเนินงานเกิดความซ้ าซ้อน ล่าช้า งานห้องสมุดจึงได้จัดท าโครงการครั้งนี้ขึ้น โดยน าร่องเรื่องการจัดระบบการใช้งานของทะเบียนคุมออกเลขที่หนังสือ ซึ่งจากเดิมนั้นเป็นสมุดบันทึก 1 เล่ม มีผู้ปฏิบัติงานหลักเป็นผู้รับผิดชอบ เมื่อผู้ปฏิบัติงานมีจ านวน 2 คนขึ้นไป ใช้สมุดบันทึก ร่วมกันทุกวิทยาเขต มีผู้รับผิดชอบหลักเป็นดูแลสมุดทะเบียนการออกเลขที่หนังสือ และเนื่องด้วยสถานการณ์โรคระบาด Covid-19 นี้ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ในการปฏิบัติงานที่บ้าน (WFH.) และส านักงาน เพื่ออ านวย ความสะดวก ลดขั้นตอนการท างาน ลดทรัพยากร ลดเวลาในการขอเลขที่หนังสือ และตรวจสอบได้ จึงเกิดผลงาน นี้ขึ้น โดยน าร่องการบริหารจัดการสมุดออกเลขที่หนังสือในรูปแบบ “ทะเบียนคุมเลขที่หนังสือออนไลน์” ผ่าน Office 365 4.7 ชื่อผลงาน ท่องพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ ด้วยปลายนิ้วในสถานการณ์ Covid-19 เจ้าของผลงาน อัญชลี เพลินมาลัย, ปริชาติ แก้วส าราญ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา-19 (Covid-19) ท าให้มีการควบคุมจ านวนการรวมตัว การ เดินทางข้ามพื้นที่ และก าหนดระยะเวลาเปิด-ปิดของสถานที่ ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานของพิพิธภัณฑ์การพยาบาลไทยของ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นอย่างมาก จึงได้จัดท าโครงการเพื่อพัฒนาแนวทางการสื่อสารและการน าชม ออนไลน์ของพิพิธภัณฑ์การพยาบาลไทยในสถานการณ์ Covid-19 และเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ของพิพิธภัณฑ์ให้มี ผู้ติดตามที่หลากหลายกลุ่มเพิ่มขึ้น โดยการน าเทคโนโลยีดิจิทัลต่างๆ ที่เราใช้เป็นประจ าในปัจจุบัน มาปรับและประยุกต์การใช้ งานให้เข้ากับสถานการณ์ ท าให้เข้าถึงกลุ่มผู้สนใจเข้าชมพิพิธภัณฑ์หรือข้อมูลข่าวสารประวัติการพยาบาลไทยได้ทราบข้อมูลง่าย ขึ้น และสามารถขยายกลุ่มเป้าหมายในการรับชมพิพิธภัณฑ์ได้หลากหลายกลุ่มเพิ่มขึ้น ซึ่งจากเดิมได้มุ่งเป้าไปเพียงแค่นักศึกษา พยาบาล และบุคลากรวิชาชีพการพยาบาล จากผลการด าเนินการ พบว่า ผู้เข้าชมที่มาจากทุกกลุ่มอาชีพ มีความพึงพอใจต่อการ เข้าชมพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ ร้อยละ 85 และจ านวนผู้ติดตามช่องทางประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ของพิพิธภัณฑ์มากขึ้น ร้อยละ 90 4.8 ชื่อผลงาน Online Interview With New Students การรับนักศึกษารูปแบบใหม่ เพราะเราห่วงใยคุณ เจ้าของผลงาน กฤศรามณ ฮวดศรี, สุชลิตา ยืนนาน, วงศ์วรรธน์ บุญวัฒน์ งานบริการการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบในการด าเนินการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต ผ่านระบบ TCAS โดยมีแผนการรับนักศึกษาปีละ 320 คน การด าเนินการรูปแบบเดิมคือการสัมภาษณ์ และตรวจร่างกายที่คณะพยาบาลศาสตร์ แต่จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ยังคงมีแนวโน้มการ แพร่ระบาดมากขึ้น รัฐบาลได้ออกมาตรการควบคุมเพื่อหวังให้จ านวนผู้ติดเชื้อลดลง เช่น การก าหนดพื้นที่ควบคุม การห้าม เดินทางออกนอกพื้นที่ เป็นต้น ท าให้ผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ไม่สามารถเดินทางมาสอบสัมภาษณ์ที่คณะฯ ได้ งานบริการการศึกษา จึงได้มีการปรับการด าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ เปลี่ยนรูปแบบการตรวจร่างกาย การส่งเอกสารประกอบการ สัมภาษณ์ รวมทั้งใช้วิธีการสัมภาษณ์ผ่านระบบ Online ทั้ง 3 รอบ ได้แก่ รอบ Portfolio รอบโควตา และรอบ Admission เพื่ออ านวยความสะดวกให้กับกรรมการและผู้เข้ารับการสอบสัมภาษณ์มากยิ่งขึ้น โดยผลการด าเนินงาน ท าให้สามารถจัดสอบ สัมภาษณ์ได้ในวันเวลาที่ก าหนด และมีผลความพึงพอใจในกระบวนการสัมภาษณ์ ร้อยละ 82


33 4.9 ชื่อผลงาน E-Requirement Students Forms For New Situations เจ้าของผลงาน วงศ์วรรธน์ บุญวัฒน์, กฤศรามณ ฮวดศรี, สุชลิตา ยืนนาน E-Requirement Students Forms For New Situation เป็นการพัฒนากระบวนการให้บริการด้านการขอเอกสาร รับรองต่างๆ ของงานบริการการศึกษาด้วยระบบออนไลน์ จากที่ใดก็ได้เพียงปลายนิ้วให้กับนักศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบการให้บริการการขอใบค าร้องในการออกเอกสารรับรองต่างๆ ของงานบริการการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ เพื่อลด ขั้นตอน และระยะเวลาการให้บริการการยื่นค าร้องของนักศึกษา ซึ่งจากเดิมนักศึกษาจะต้องมาติดต่อขอรับบริการที่ส านักงาน การศึกษา งานบริการการศึกษา One Stop Services คณะพยาบาลศาสตร์ ศาลายา เปลี่ยนเป็น การกรอกข้อมูลออนไลน์ เมื่อ กรอกเสร็จเรียบร้อยแล้ว ระบบจะแปลงข้อมูลเป็นไฟล์ใบค าร้องสกุล .Pdf อัตโนมัติเข้า Email นักศึกษา, เจ้าหน้าที่การศึกษาที่ เกี่ยวข้อง และอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งระบบดังกล่าวเป็นการประยุกต์ใช้โปรแกรมร่วมกันระหว่าง Google Form, Google Slide, และส่วนเสริม Auto Crat ซึ่งระบบดังกล่าวช่วยอ านวยความสะดวกให้กับนักศึกษาเป็นอย่างมากภายใต้สถานการณ์ที่ไม่สามารถ เดินทางมายังคณะฯได้ เช่น การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (Covid-19) 4.10 ชื่อผลงาน การพัฒนากระบวนการขอรับบริการศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล ส าหรับจัดการเรียนการสอน เจ้าของผลงาน เบญจภรณ์ มาตรนอก, มณีรัตน์ ธรรมดี, กานต์พิชชา แซ่ลิ้ม, สุนิศา ประจ าเมือง ศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล (LRC) เป็นหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน การพัฒนาทักษะทางการพยาบาล ขั้นพื้นฐานและขั้นสูงให้นักศึกษาก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติจริงในหอผู้ป่วย ส าหรับนักศึกษาทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรพย.บ. ซึ่งมีรายวิชามาใช้บริการจัดการเรียนการสอนจ านวนมาก โครงการนี้จึงต้องการพัฒนากระบวนการขอรับบริการศูนย์การเรียนรู้ ทางการพยาบาล ส าหรับจัดการเรียนการสอน ให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น การด าเนินการหลักคือ สร้างเว็บไซต์ ส าหรับรวบรวมรายการอุปกรณ์ที่ใช้จัดการเรียนการสอนในทุก Lab ทุกรายวิชาของหลักสูตรพย.บ. ที่จะช่วยให้อาจารย์ผู้สอน หรือหัวหน้าวิชาที่ต้องการจัดการเรียนการสอนที่ศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาลมีความสะดวก รวดเร็วในการขอรับบริการ และ ยังสร้างความเข้าใจตรงกันระหว่างอาจารย์และเจ้าหน้าที่ประจ าศูนย์ฯ ลดความผิดพลาดในการจัดเตรียมอุปกรณ์ อีกทั้งยัง สามารถใช้ข้อมูลไปปรับปรุงรายการอุปกรณ์ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ หลังจากพัฒนากระบวนการ พบว่าอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์หัวหน้าวิชามีความพึงพอใจต่อการพัฒนากระบวนการ ขอรับบริการศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล ส าหรับจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 81.8 4.11 ชื่อผลงาน การพัฒนาระบบการเบิกจ่ายค่าตอบแทนนักศึกษาที่ปฏิบัติงานให้คณะพยาบาลศาสตร์นอกเวลา เจ้าของผลงาน สมใจ ลครศรี, ชัญญา แสงจันทร์, ปริณดา สันติสุขวันต์, อุราภรณ์ จ้อยจินดา, เวหา เกษมสุข, ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง งานพัฒนานักศึกษาจัดกิจกรรมการสนับสนุนทุนการศึกษาผ่านการปฏิบัติงานให้คณะพยาบาลศาสตร์นอกเวลา ซึ่ง ประกอบด้วย 3 กิจกรรมย่อยอย่างต่อเนื่องทุกเดือนตลอด 1 ปีงบประมาณ จากการด าเนินงานที่ผ่านมา นักศึกษาได้รับเงิน ค่าตอบแทนหลังการปฏิบัติงาน 2-3 เดือน จึงไม่ทันต่อความจ าเป็นในการน ามาใช้จ่ายในชีวิตประจ าวัน เนื่องจากนักศึกษาเขียน เอกสารการเบิกจ่ายไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง เอกสารการเบิกจ่ายกระจัดกระจาย การส่งเอกสารล่าช้า และใช้เวลามากในการแก้ไขและ รวบรวมเอกสาร งานพัฒนานักศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุ ปรับปรุง พัฒนาระบบ มีแนวทางในการด าเนินงาน ดังนี้ 1) ประชุมนักศึกษา 2) สร้างไลน์กลุ่ม 3) คัดเลือกตัวแทนนักศึกษาเพื่อประสานงาน ติดตาม ตรวจสอบเอกสาร 4) จัดท าแฟ้ม 3 แฟ้ม ส าหรับ 3 กิจกรรม ภายในแฟ้มประกอบด้วย คู่มือการเขียนเอกสารเบิกจ่าย เอกสารตารางเซ็นชื่อและลงเวลาปฏิบัติงานแยกซองเป็นรายบุคคลอย่าง ชัดเจน 5) ขออนุมัติยืมเงินทดรองจ่าย ผลการด าเนินงานพบว่านักศึกษาได้รับเงินค่าตอบแทนตามเวลา ที่ก าหนด ร้อยละ 100 หลักฐานการเบิกจ่ายผิดพลาดลดลง ร้อยละ 100 ระยะเวลาในการรวบรวมหลักฐานการเบิกจ่ายลดลง ร้อยละ 100 และนักศึกษา พึงพอใจต่อการด าเนินการ ร้อยละ 83.4


34 4.12 ชื่อผลงาน การบันทึกข้อมูลปฏิบัติงานประจ าวันด้วย Google Calender เจ้าของผลงาน โกวิทย์ ยอดแก้ว, จิตรสุนทร อ่อนน่วม, อัฐพล แก้วบุตร, สถาพร คล้ายสุบรรณ, ไตรภพ เนียมสุภาพ, สหภาพ เซ่งทอง หน่วยซ่อมบ ารุงของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้รับผิดชอบดูแลในการด าเนินงานซ่อมวัสดุอุปกรณ์ ต่างๆ ในคณะฯ ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ จากเดิมเมื่อมีอุปกรณ์เสียหาย ผู้รับผิดชอบของหน่วยงานนั้นต้องเขียนใบส่งซ่อม และ หน่วยซ่อมบ ารุงจะบันทึกข้อมูลในกระดาน เพื่อน าไปใช้เป็นหลักฐานและติดตามการท างานส่งซ่อม และน าข้อมูลการส่งซ่อมบันทึก ลงในคอมพิวเตอร์อีกครั้ง ท าให้เกิดความซ้ าซ้อนในการท างาน ข้อมูลเกิดความล่าช้า ส่งผลให้มีระยะเวลาการส่งซ่อมยาวนาน เมื่อถึง เวลาค้นหาข้อมูล จึงท าให้เสียเวลาในการค้นหาข้อมูล ผู้พัฒนาโครงการจึงได้พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลส าหรับการซ่อมบ ารุง โดยการน า Google calendar เข้ามามีส่วนช่วยให้มีระบบการท างานที่ง่ายขึ้น ท าให้การบันทึกข้อมูลรายละเอียดการท างานต่างๆ มี ความผิดพลาดน้อยลง และยังช่วยให้เราสามารถบริหารกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละวันได้อย่างแม่นย า และท าให้การท างานนั้นมี ประสิทธิภาพมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100 4.13 ชื่อผลงาน การพัฒนารูปแบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ของส านักงานบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เจ้าของผลงาน กาญจนา คงวารี, สุรีย์รัตน์ ดีสั้น, บุลากร บัวหลวง ส านักงานบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีหน้าที่สนับสนุนด้านการเรียนการสอนในระดับ บัณฑิตศึกษาแก่นักศึกษา และอาจารย์ โดยมีกระบวนการท างานตั้งแต่ก่อนรับเข้าศึกษาเข้ามาในหลักสูตร จนกระทั่งส าเร็จ การศึกษา จึงเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่หลักในการประสานงานระหว่างนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร กับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล รวมถึงหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภายใน และภายนอก เพื่อสนับสนุนการด าเนินการด้านการศึกษาตามแผน ยุทธศาสตร์ พันธกิจ และวิสัยทัศน์ของคณะพยาบาลศาสตร์ ดังนั้น การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ของส านักงานบัณฑิตศึกษา จึงนับเป็นภารกิจหนึ่งที่มีความส าคัญเพื่อให้เกิดการ รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ และทันเหตุการณ์ ส าหรับการเรียนของนักศึกษา ผู้จัดท าโครงการจึงมีความต้องการพัฒนา รูปแบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ของส านักงานฯ กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ให้ด าเนินงานอย่างเป็นขั้นตอน และมี ประสิทธิภาพ กล่าวคือ นักศึกษาได้รับข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน มีความถูกต้อง ชัดเจน รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ สามารถส่งข้อมูลหรือ โต้ตอบ และติดต่อสอบถามได้ ท าให้ได้รับการชี้แจงข้อมูลต่างๆ อย่างรวดเร็ว มีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย สอดรับกับฐาน วิถีชีวิตใหม่ (new normal) ของผู้คนในสังคมยุคดิจิทัล


Click to View FlipBook Version