The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nsmu_it, 2024-03-12 04:47:32

แผนการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2561

แผนการจัดการความรู้ 2561

แผนการจัดการความร ู ้ คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2561 โดย คณะกรรมการพัฒนาองค ์ กรแห่งการเร ี ยนร ู ้ และการจัดการความร ู ้ และ งานพัฒนาค ุ ณภาพและบริหารความเส ี่ยง


สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 การจัดการความรู้ ความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ 1 นโยบายการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ 1 กลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ 2 แผนยุทธศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2560-2563 2 รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 4 ส่วนที่ 2 การจัดทําแผนการจัดการความรู้ แผนการดําเนินงานการจัดการความรู้ 5 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ 6 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 8 ภาคผนวก คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 11 โครงการตามแผนปฏิบัติการ คณะพยาบาลศาสตร์ปีงบประมาณ 2561 14


1 ส่วนท 1 ี่การจัดการความรู้ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ความเป็นมา การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์เป็นเรื่องที่สําคัญและมีความจําเป็นอย่างยิ่ง คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มพัฒนาระบบการจัดการความรู้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาเว็บไซต์ การจัดการความรู้เพื่อใช้เป็นช่องทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้แต่ การจัดการความรู้ยังอยู่ในระบบอินทราเน็ตยังไม่ได้มีการเผยแพร่ออกไปภายนอกต่อมาในปีงบประมาณ 2551 คณะฯ มี ยุทธศาสตร์และแผนงานที่ชัดเจนในการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จึงได้มีการจัดตั้งคณะทํางานพัฒนา ระบบการจัดการความรู้ขึ้น เพื่อเข้ามาดําเนินการในเรื่องดังกล่าว ต่อมาในปีงบประมาณ 2552 คณะฯ ได้แต่งตั้ง “คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้”และ “คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการความรู้” ขึ้น ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 2 ชุดได้ประสานงานและทํางานร่วมกันในการดําเนินการให้เกิดการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และพัฒนาระบบการจัดการความรู้ขึ้นภายในคณะฯ รวมทั้งผลักดันให้เกิดระบบการ จัดการความรู้ของภาควิชาต่างๆ ด้วย และในปีงบประมาณ 2554 คณะฯ ได้ทบทวนและวางแผนการดําเนินการด้าน การจัดการความรู้ใหม่ โดยได้รวมคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด เข้าด้วยกัน และตั้งชื่อใหม่เป็น “คณะกรรมการพัฒนา องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้” และมีบุคลากรและหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดการ ความรู้โดยตรง ทําให้การทํางานของคณะกรรมการฯ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการ เรียนรู้และการจัดการความรู้ได้ดําเนินการในเรื่องของการจัดการความรู้และการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้จวบจนปัจจุบัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจการศึกษา การวิจัย และอื่นๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ 2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 3. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของ คณะพยาบาลศาสตร์และจากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ นโยบายการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง ได้วางนโยบายการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ไว้ดังนี้ 1. สร้างระบบการจัดการความรู้ด้วยการส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้การสร้างองค์ความรู้การ จัดเก็บความรู้รวมทั้งการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ให้เป็นเครื่องมือพัฒนางานอย่างต่อเนื่องอันนําไปสู่การสร้างองค์ ความรู้และนวัตกรรมใหม่


2 2. สนับสนุนให้ทุกหน่วยงาน/ภาควิชาฯ มีการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้รวมทั้งการนําองค์ความรู้ที่ ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินงานของหน่วยงาน/ภาควิชา เพื่อให้เกิดการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธภาพมากขิ ึ้น 3. เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ทั้งในระดับ ภาควิชาฯ และระดับคณะฯ เพื่อให้เกิดการถ่ายโอนความรู้จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง กลไกการดําเนินงานด้านการจดการความรัู้ กลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ที่สําคัญของ มีดังนี้ 1. มีคณะกรรมการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2. มีหน่วยงานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง เป็นผู้ดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ จากกลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ดังกล่าว คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล นําไปสู่การ ปฏิบัติโดยมีระบบ และกลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ภายในคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะฯ รวมถึงการจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในระดับภาควิชา และหน่วยงาน 2. จัดกิจกรรมการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ทั้งในระดับภาควิชาฯและระดับคณะฯ 3. จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 4. ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาล ศาสตร์และจากถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 5. เผยแพร่ความรู้ผ่านทางเว็บไซต์การจัดการความรู้และเว็บไซต์ของภาควิชาฯ ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบและกลไกการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแหงการเร่ ียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ แผนยุทธศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2560-2563 ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์หลัก กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ความเป็นเลิศทางการศึกษา เป้าประสงค์หลัก เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ของนักศึกษา (Outcome-based) 1.1 พัฒนาทุกหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานนานาชาติ (AUN-QA) 1.2 สร้างกลยุทธ์รับนักศึกษาเชิงรุก 1.3 สร้างระบบและกลไกให้ผู้เรียนเข้าถึงการเรียนที่หลากหลาย รูปแบบ 1.4 หล่อหลอมนักศึกษาสู่ความเป็นเลิศและสากล


3 ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์หลัก กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ความเป็นเลิศทางการวิจัย เป้าประสงค์หลัก เพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ มุ่งเน้นสร้างองค์ความรู้หรือ นวัตกรรมใหม่ 2.1 ผลักดันการพัฒนาโครงการวิจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะเชิง นโยบายและตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ 2.2 สร้างระบบ กลไก และบรรยากาศคณะแห่งการวิจัย 2.3 พัฒนาการวิจัย และนวัตกรรมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพและ ภาคเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ความเป็นเลิศทางการบริการวิชาการและ พันธกิจสัมพันธ์กับสังคม เป้าประสงค์หลัก เพื่อสร้างความเป็นเลิศในการบริการวิชาการและสร้างความ เข้มแข็งให้เกิดกับชุมชนจากการ ประสานความร่วมมือกับ เครือข่ายภาครัฐ และภาคเอกชน 3.1 บริการวิชาการแบบบูรณาการทั้งองค์กรเพื่อสังคม 3.2 จัดการบริการวิชาการ (ประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา ชุด บริการ และนวัตกรรม) ที่มีประเด็นทันสมัยตอบโจทย์ลูกค้าและ สังคม 3.3 ประสานความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชนในการจัดบริการ วิชาการที่ครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 4 ความเป็นเลิศทางการบริหารจัดการอย่าง ยั่งยืน เป้าประสงค์หลัก เพื่อสร้างความเป็นเลิศทางการบริหาร จัดการอย่างยั่งยืน PR & Branding HR Best Practice 4.1 ประชาสัมพันธ์/สื่อสารภายในองค์กรอย่างมืออาชีพผ่านช่องทาง ที่หลากหลาย เพื่อรองรับทุกพันธกิจและทําการตลาดเชิงรุก มุ่งสู่ ความเป็นสากล 4.2 ยกระดับระบบการบริหาร HR สู่มาตรฐานสากล 4.3 รักษาความเชี่ยวชาญ และปลูกฝังความชํานาญใหม่ IT Infrastructure 4.4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน ในทุกพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ Administration & Governance 4.5 พัฒนาระบบและกลไก เพื่อให้ได้องค์ความรู้ของสถาบันจากการ จัดการความรู้ 4.6 นําแนวทางมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์สู่การปฏิบัติ 4.7 พัฒนาระบบคุณภาพตามเกณฑ์EdPEx Financial 4.8 จัดหารายได้และบริหารจัดการทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ แผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 กลยุทธ์ที่ 4.5 พัฒนาระบบและกลไก เพื่อให้ได้องค์ความรู้ของสถาบันจากการจัดการความรู้


4 รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย ประธาน ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศและพัฒนาคุณภาพ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ดวงใจ รัตนธัญญา กรรมการ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ กรรมการ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุภาภัค เภตราสุวรรณ กรรมการ 6. อาจารย์จิตต์ระพีบูรณศักดิ์ กรรมการ 7. อาจารย์ดร.ศรินรัตน์ศรีประสงค ์กรรมการ 8. ผู้ช่วยอาจารย์จิรวรรณ มาลา กรรมการ 9. นางนภัสสร ลาภณรงค์ชัย กรรมการและเลขานุการ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง 10. นายกณพ คําสุข กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 11. นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ 1. จัดทําแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล 2. สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะพยาบาลศาสตร์อย่างต่อเนื่อง 3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการความรู้ทั้งในระดับภาควิชา และสํานักงานของ คณะพยาบาลศาสตร์ 4. ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้จากการจัดการความรู้และนําองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร


5 ส่วนท 2 ี่การจัดทําแผนการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ได้วางแผนการ ดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ดังนี้ แผนการดําเนินงาน ยุทธศาสตร์/ เป้าประสงค์หลัก กลยุทธ์ KPI แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาระบบ และกลไกการจัดการความรู้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ เป้าประสงค์หลัก เพื่อพัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาระบบ และกลไก เพื่อให้ได้องค์ ความรู้ของ สถาบันจากการ จัดการความรู้ จํานวนองค์ ความรู้จากการ จัดการความรู้ใน พันธกิจด้าน ต่างๆ โครงการ ส่งเสริมกระบวนการการ จัดการความรู้สู่องค์ความรู้ของ องค์กร กิจกรรมที่ 1 การจัดการความรู้ กับการดําเนินงานตามพันธกิจ ต่างๆ 1 2 3 4 ยุทธศาสตร์ที่2 พัฒนาระบบ และกลไกการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ เป้าประสงค์หลัก เพื่อเป็นการ สร้างวัฒนธรรมของการ ถ่ายทอดความรู้และการรักษา คุณค่าความรู้ของคณะ พยาบาลศาสตร์ พัฒนาระบบ และกลไก เพื่อให้ได้องค์ ความรู้ผู้ เกษียณอายุ ราชการ จํานวนองค์ ความรู้จากการ ถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุ ราชการ กิจกรรมที่ 2 ถ่ายทอดความรู้ผู้ เกษียณอายุราชการ 1 1 1 1


แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2561 : กิจกรรมการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกจติ่างๆ ชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจการศึกษาการวิจัยและอื่นๆของคณะพยาบาลศาสตร์ 2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆของคณะพยาบาลศาสตร์ หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม :ได้องค์ความรู้จากการจัดการความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 1 การกําหนดประเด็น ความรู้และเป้าหมาย ของการจัดการความรู้ - กําหนดประเด็นการจัดการความรู้ ตามพันธกิจของสายวิชาการและ สายสนับสนุนในระดับคณะฯ - กลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของภาควิชาฯ กําหนดประเด็นและเป้าหมายการ ต.ค. 60-ก.ย. 61 - ได้ประเด็นและเป้าหมายการจัดการ ความรู้ตามพันธกิจในระดับคณะฯ - ได้ประเด็นและเป้าหมายการจัดการ ความรู้อย่างน้อย 7 เรื่อง สร้างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติในระดับภาควิชา และสํานักงานของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน


6 จัดการความรู้ของกลุ่ม 2 กําหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่จะ พัฒนาความรู้และ ทักษะ บุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุน ต.ค. 60-ก.ย. 61มีบุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุนเข้าร่วมในกิจกรรมที่จัด บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนเข้า ร่วมในกิจกรรมการจัดการความรู้ในพันธกิจ ด้านการศึกษาการวิจัยและด้านอื่นๆ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน 3 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย -จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนร้ใ ู น พันธกิจด้านการศึกษาการวิจัยและ อื่นๆ - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา - จัดกิจกรรม KM Day ต.ค. 60-ก.ย. 61มีจํานวนองค์ความรู้จากการจัดการ ความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง -มีการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ในพันธ กิจด้านการศึกษาการวิจัยและด้านอื่นๆ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการดําเนินงาน ตามพันธกิจต่างๆของคณะฯ - มีโครงการ Lean ที่นําเสนอในงาน KM Day ได้รับการคัดเลือกส่งเข้าประกวดในงาน มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน


ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 4 การรวบรวมความรู้ และจัดเก็บอย่างเป็น ระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็นลายลักษณ์ อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้ ไว้บนเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 60-ก.ย. 61มีการจัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวมจัดเก็บและเผยแพร่องค์ความรู้ ของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน 5 การนําความรู้ที่ได้จาก การจัดการความรู้มา ปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานจริง นําความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียน ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ต.ค. 60-ก.ย. 61มีการนําองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง มีการนําองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชนใ์นการ ปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน


7


แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปงบประมาณี 2561 : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม :ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 1 การกําหนดประเด็นความรู้ และเป้าหมายของการ จัดการความรู้ ประชุมคณะกรรมการฯเพื่อกําหนด ประเด็นการถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ ต.ค. 60-ก.ย. 61ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ 1 เรื่อง สร้างวัฒนธรรมองค์กรการ ถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ 2 กําหนดบุคลากร ผู้เกษียณอายุราชการปีงบประมาณ ต.ค. 60-ก.ย. 61 ผู้เกษียณอายุราชการเข้าร่วมใน สร้างวัฒนธรรมองค์กรการ -คณะกรรมการฯ


8 กลุ่มเป้าหมาย ที่จะพัฒนาความรู้และทักษะ 2561 สายวิชาการ - รองศาสตราจารย์ดร.ฟองคําติลกสกุลชัย - รองศาสตราจารย์ดร.นารีรัตน์จตรมนตริี - รศ.ดร.ดวงรัตน์วัฒนกิจไกรเลิศ - รศ.ดร.อรพรรณโตสิงห์ - รองศาสตราจารย์ดร.ศิริอรสินธุ สายสนับสนุน - นางสาวสุพรรณเพชรรัตน์ สายลูกจ้าง - นางจินตนาหนูล้อมทรัพย์ - นายประพันธ์จั่นลา - นายวัลลภสุวรรณนาคี สายวิชาการ กิจกรรมอย่างน้อย 2 คน ถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ - ภาควิชาการพยาบาลกุมารฯ - ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน - ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ - งานคลังและพัสดุ - งานบริหารจัดการ


ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 3การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน เรียนรู้และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับ คณะฯเพื่อให้ผู้เกษียณอายุราชการได้ ถ่ายทอดความรู้ - ถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้เกษียณ อายุราชการ ก.ค.-ส.ค. 61 -มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง - ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอด ความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ อย่างน้อย 1 เรื่อง -สร้างวัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้ จากการถ่ายทอดความรู้ ของผู้เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ 4 การรวบรวมความรู้และ จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษร (Explicit จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 60-ก.ย. 61มีการจัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวมจัดเก็บและ เผยแพร่องค์ความรู้ของ คณะฯ คณะกรรมการฯ


9 Knowledge) 5 การนําความรู้ที่ได้จากการ จัดการความรู้มาปรับใช้ ในการปฏิบัติงานจริง นําความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณอายุราชการ ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ต.ค. 60-ก.ย. 61มีการนําความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณอายุ ราชการไปใช้ในการปฏิบัติงานอย่าง น้อย 1 เรื่อง มีการนําความรู้ที่ได้จากผู้ เกษียณอายุราชการไปใช้ใน การปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ


10 ภาคผนวก


11


12


13


14


15


16


17


18


19


20


Click to View FlipBook Version