The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nsmu_it, 2024-03-12 04:52:59

แผนการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2563

แผนการจัดการความรู้ 2563

แผนการจัดการความรู้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2563 โดย คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ และ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง


สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 การจัดการความรู้ ความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ 2 นโยบายการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 กลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 แผนยุทธศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2560-2563 3 ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ 4 รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 4 ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนการจัดการความรู้ แผนการด าเนินงานการจัดการความรู้ 5 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมการจัดการความรู้สู่องค์ความรู้ขององค์กร 7 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 10 แผนการจัดการความรู้ : แนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนาคุณภาพงานส าหรับหน่วยงานสนับสนุน 12 แผนที่การด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) 14 กระบวนการขั้นตอนสู่ความส าเร็จด้านการจัดการความรู้ 15 ภาคผนวก ก. KM Road Map 17 ข. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 18 ค. โครงการตามแผนปฏิบัติการ คณะพยาบาลศาสตร์ ปีงบประมาณ 2563 20 ง. โครงการแนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนาคุณภาพงานส าหรับงานสนับสนุน 29 จ. รายชื่อโครงการพัฒนาคุณาภาพงานจากทุกหน่วยงาน 33 ฉ. รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงานของบุคลากรสายสนับสนุน 34 กิจกรรม Show Case Best Practice จ านวน 19 ผลงาน ช. ผลงานที่ส่งเข้าร่วมงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ าปี2563 35 “Agile Organization : รู้ทัน ก้าวไว รวมใจสู่ Agile Organization”


1 ส่วนที่ 1 การจัดการความรู้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ความเป็นมา การพัฒนาระบบการจัดการความรู้เป็นเรื่องที่ส าคัญและมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง คณะพยาบาลศาสตร์ ซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2439 จนถึงปัจจุบันมีอายุกว่า 123 ปี มีวัฒนธรรมการถ่ายทอดความรู้มายาวนานและ ต่อเนื่อง หลากหลายรูปแบบ เช่น ถ่ายทอดความรู้จากอาจารย์ผู้มีความช านาญไปยังอาจารย์ใหม่ พี่สอนน้อง หรือการถ่ายทอดความรู้ของผู้เกษียณให้กับบุคลากรในคณะฯ ท าให้เกิดการเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ตรง และองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวสั่งสมและเกิดเป็นประสบการณ์ นอกจากนี้ยังการน าความรู้ที่มีอยู่แล้วมาพัฒนาต่อ ยอดเป็นงานวิจัย ซึ่งก่อให้เกิดงานวิจัยตรงตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์ในคณะฯ ในขณะเดียวกันมีการ พัฒนาคุณภาพของหน่วยงานของตนเองอย่างต่อเนื่อง เช่น การท าให้ขั้นตอนการท างานเร็วขึ้น ซึ่งด าเนินงาน มาอย่างต ่อเนื ่องยาวนาน แต ่อย ่างไรก็ตามความรู้ที ่ได้รับการถ ่ายทอดต ่างๆ ส่วนใหญ ่ไม ่ได้ถูกเก็บเป็นลาย ลักษณ์อักษร หรือมีการเผยแพร่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานให้ชัดเจน ท าให้องค์ความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ที่เป็นต้นแบบในเรื่องต่างๆ ไม่มีหลักฐานหรือไม่เกิดการน าใช้อย่างกว้างขวาง คณะพยาบาลศาสตร์จึงเริ่มพัฒนาระบบการจัดการความรู้อย่างจริงจังให้ครอบคลุมทุกพันธกิจ และเกิดการ น าความรู้มาใช้ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาเว็บไซต์การจัดการความรู้เพื่อใช้เป็นช่องทางใน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้แต่การจัดการความรู้ยังอยู่ในระบบ อินทราเน็ต ยังไม่ได้มีการเผยแพร่ออกไปภายนอก ต่อมาในปีงบประมาณ 2551 คณะฯ มียุทธศาสตร์และแผนงานที่ ชัดเจนในการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จึงได้มีการจัดตั้งคณะท างานพัฒนาระบบการจัดการ ความรู้ขึ้น เพื่อเข้ามาด าเนินการในเรื่องดังกล่าว ในปีงบประมาณ 2552 คณะฯ ได้แต่งตั้ง “คณะกรรมการพัฒนา องค์กรแห่งการเรียนรู้”และ “คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการความรู้” ขึ้น ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 2 ชุดได้ ประสานงานและท างานร่วมกันในการด าเนินการให้เกิดการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ และพัฒนาระบบการจัดการความรู้ขึ้นภายในคณะฯ รวมทั้งผลักดันให้เกิดระบบการจัดการความรู้ของ ภาควิชาต่างๆ ด้วย ในปีงบประมาณ 2554 คณะฯ ได้ทบทวนและวางแผนการด าเนินการด้านการจัดการความรู้ ใหม่ โดยได้รวมคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด เข้าด้วยกัน และตั้งชื่อใหม่เป็น “คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการ เรียนรู้และการจัดการความรู้” และมีบุคลากรและหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดการความรู้ โดยตรง ผลักดันให้เกิดองค์ความรู้มากขึ้นทั้งที่เป็นความเชี่ยวชาญตามพันธกิจ เช่น พันธกิจการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ รวมถึง การบริหารจัดการ และการประกันคุณภาพ ต่อมาปี 2562 เริ่มมีการผลักดันให้เกิดการ จัดการความรู้ทั้งองค์กร โดยให้สายสนับสนุนและลูกจ้างเข้ามามีส่วนร่วมท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้ง องค์กรต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้คณะพยาบาลศาสตร์เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และพร้อมที่จะเผยแพร่ องค์ความรู้ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายสถาบันการศึกษาพยาบาลด้วยกัน


2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา การวิจัย บริการ วิชาการ บริหารจัดการ และการประกันคุณภาพของคณะพยาบาลศาสตร์ 2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 3. เพื่อให้บุคลากรสายสนับสนุนมีเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพงานที่หลากหลาย เช่น root cause analysis, flow chart 4. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มงาน ค้นหาแนวแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากรของคณะพยาบาลศาสตร์และบุคคลภายนอก 5. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์และจากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 6. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ไปยังหน่วยงานภายนอกและสถาบันการศึกษาพยาบาล นโยบายการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง ได้วางนโยบายการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ไว้ดังนี้ 1. สร้างระบบการจัดการความรู้ด้วยการส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้ การสร้างองค์ความรู้ การจัดเก็บความรู้รวมทั้งการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ให้เป็นเครื่องมือพัฒนางานอย่างต่อเนื่องอันน าไปสู่การ สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ 2. สนับสนุนให้ทุกหน่วยงาน/ภาควิชาฯ มีการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ รวมทั้งการน าองค์ ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงานของหน่วยงาน/ภาควิชา เพื่อให้เกิดการ ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทุกหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอกสถาบัน กลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ กลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลที่ส าคัญ มีดังนี้ 1. มีคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 2. มีหน่วยงานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง เป็นผู้ด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ จากกลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ดังกล่าว คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล น าไปสู่การปฏิบัติโดยมีระบบ และกลไกการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ภายในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคณะพยาบาล ศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะฯ รวมถึงการจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในระดับภาควิชา และหน่วยงาน 2. จัดท าโครงการ/ กิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์


3 3. จัดกิจกรรมการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามประเด็นส าคัญของคณะฯ ได้แก่ การศึกษา วิจัย บริการ วิชาการ บริหารจัดการและการประกันคุณภาพ ทั้งในระดับภาควิชาฯ หน่วยงาน และระดับคณะฯ 4. ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามประเด็นต่างๆ และเผยแพร่ ความรู้ผ่านทางเว็บไซต์การจัดการความรู้และเว็บไซต์ของภาควิชาฯ 5. สนับสนุนให้มีการน าความรู้จากการจัดการความรู้ไปใช้ในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง 6. จัดเวทีให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนระหว่างหน่วยงานภายในคณะฯ รวมถึงส่งเสริมให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ ไปภายนอกองค์กร แผนยุทธศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2560-2563 แผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับการด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 กลยุทธ์ที่ 4.5 พัฒนาระบบและกลไก เพื่อให้ได้องค์ความรู้ของสถาบันจากการจัดการความรู้ • ยุทธศาสตร์ที่ 1 ความเป็นเลิศทางการศึกษา • ยุทธศาสตร์ที่ 2 ความเป็นเลิศทางการวิจัย • ยุทธศาสตร์ที่ 3 ความเป็นเลิศทางการบริการวิชาการและพันธกิจ สัมพันธ์กับสังคม • ยุทธศาสตร์ที่ 4 ความเป็นเลิศทางการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน


4 ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทิศทางและกลไกสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ ประธาน รองคณบดีพัฒนาคุณภาพ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ กรรมการ 3. รองศาสตาจารย์ ดร.วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์ กรรมการ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.นันทิยา วัฒายุ กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาภัค เภตราสุวรรณ กรรมการ 6. อาจารย์กุลธิดา หัตถกิจพาณิชสกุล กรรมการ 7. อาจารย์ ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ กรรมการ 8. อาจารย์เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล กรรมการ 9. นางนภัสสร ลาภณรงค์ชัย กรรมการและเลขานุการ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง 10. นายกณพ ค าสุข กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 11. นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หน้าที่ 1. จัดท าแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2. สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะพยาบาลศาสตร์อย่างต่อเนื่อง 3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการความรู้ทั้งในระดับภาควิชา และส านักงานของ คณะพยาบาลศาสตร์ 4. สร้างองค์ความรู้จากการจัดการความรู้และน าองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร


5 ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้วางแผนการ ด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ ดังนี้ เป้าประสงค์หลัก: เพื่อพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ นโยบาย: ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบทั่วทั้งองค์กร เป้าประสงค์: มีประยุกต์การจัดการความรู้ในการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ในพันธกิจด้านต่างๆ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาทิศทางและกลไกสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ก าหนดทิศทางการจัดการความรู้ที่มีผล ต่อยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แผนการจัดการความรู้ที่ส่งเสริม ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดท าแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ที่สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่สอดคล้องกับ พันธกิจการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ บริหารจัดการและการประกันคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. ส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับมีส่วน ร่วมเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนการจัดการ ความรู้อย่างต่อเนื่อง จ านวนผลงานที่ได้จากบุคลากร โครงการ แนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนา คุณภาพงานส าหรับหน่วยงานสนับสนุน กิจกรรมที่ 1 เสริมสร้างความรู้ เรื่อง Root Cause Analysis/Lean Process/Flowchart กิจกรรมที่ 2 สัญจรพบหน่วยงาน 2. พัฒนาศักยภาพด้านการจัดการ ความรู้ จ านวนผลงานที่น าไปประยุกต์ใช้ในแต่ ละส่วนงาน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิด การขับเคลื่อนการจัดการความรู้อย่าง ต่อเนื่อง จ านวนองค์ความรู้จากการจัดการ ความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ 1. โครงการ ส่งเสริมกระบวนการการ จัดการความรู้สู่องค์ความรู้ขององค์กร กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการจัดการ ความรู้กับการด าเนนิงานตามพันธ กิจการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ กิจกรรมที่ 3 ถ่ายทอดความรู้ผู้ เกษียณอายุราชการ 2. โครงการ แนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนา คุณภาพงานส าหรับหน่วยงานสนับสนุน


6 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการจัดการความรู้(ต่อ) กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 เสริมสร้างความรู้ เรื่อง Root Cause Analysis/Lean Process/Flowchart กิจกรรมที่ 2 สัญจรพบหน่วยงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 1. สร้างแรงจูงใจด้วยการให้รางวัล เกียรติบัตร และยกย่องเชิดชู เพื่อ กระตุ้นการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ ในแต่ละหน่วยงาน 1. โครงการ แนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนา คุณภาพงานส าหรับหน่วยงานสนับสนุน กิจกรรมที่ 3 จัดประกวดผลงาน การจัดการความรู้ (Show Case Best Practice) 2. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานที่ ได้รับรางวัล 2. สื่อสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม KM แก่บุคลากรทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง 1. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ KM ทุก ช่องทาง 2. สร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพและเหมาะสม


7แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2563 : โครงกากิจกรรชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการด าเนิน2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดกาหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม : ได้องค์ความรู้จากการจัดการความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 1 การก าหนดประเด็น ความรู้และ เป้าหมายของการ จัดการความรู้ - ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อ ก าหนดประเด็นการจัดการ ความรู้ตามพันธกิจของสาย วิชาการ ในระดับคณะฯ - กลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชาฯก าหนดประเด็นและ เป้าหมายการจัดการความรู้ของ กลุ่ม ต.ค. 62-ก.ย. 63 - ได้ปรจัดการคณะฯ - ได้ปรจัดการ2 ก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรสายวิชาการ ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีบุคลากิจกรร3 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ไปสู่ - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน พันธกิจด้านการศึกษา การวิจัย บริการวิชาการ และด้านอื่นๆ ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีจ านวจัดการอย่างน้


7 ารการส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้สู่องค์ความรู้ขององค์กร รมการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ นงานตามพันธกิจการศึกษา การวิจัย และอื่นๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ ารความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ะเด็นและเป้าหมายการ รความรู้ตามพันธกิจในระดับ อย่างน้อย 3 เรื่อง ระเด็นและเป้าหมายการ รความรู้อย่างน้อย 7 เรื่อง - ความรู้ในพันธกิจด้านการศึกษา การวิจัย และด้านอื่นๆ - สร้างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติในระดับ ภาควิชา คณะกรรมการฯ ภาควิชา ากรสายวิชาการเข้าร่วมใน รมที่จัด บุคลากรสายวิชาการเข้าร่วมในกิจกรรม การจัดการความรู้ในพันธกิจด้าน การศึกษา การวิจัย บริการวิชาการ และ ด้านอื่นๆ คณะกรรมการฯ ภาควิชา วนองค์ความรู้จากการ รความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ น้อย 10 เรื่อง - มีการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ใน พันธกิจด้านการศึกษา การวิจัย และด้าน อื่นๆ คณะกรรมการฯ ภาควิชา


8ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา - จัดกิจกรรม KM Day ส าหรับ สายวิชาการ 4 ติดตามผลงาน 1. ผลงานหลังจากจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพันธกิจด้าน การศึกษา การบริการวิชาการ และด้านอื่นๆ 2. ผลงานหลังจากกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ชุมชนนักปฏิบัติของภาควิชา ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีจ านวจัดการอย่างน้5 การรวบรวมความรู้ และจัดเก็บอย่าง เป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็น ลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีการจัความรู้


8 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการ ด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะฯ - มีโครงการที่น าเสนอในงาน KM Day ส าหรับสายวิชาการ ได้รับการคัดเลือก ส่งเข้าประกวดในงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล วนองค์ความรู้จากการ รความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ น้อย 10 เรื่อง 1. ผลงานหลังจากจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพันธกิจด้าน การศึกษา การบริการวิชาการ และด้าน อื่นๆ อย่างน้อย 3 เรื่อง 2. ผลงานหลังจากกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา อย่างน้อยภาควิชาละ 7 เรื่อง คณะกรรมการฯ ภาควิชา ัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ ้ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่องค์ความรู้ ของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชา


9ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 6 การน าความรู้ที่ได้ จากการจัดการ ความรู้มาปรับใช้ใน การ ปฏิบัติงานจริง น าความรู้ที่ได้จากการถอด บทเรียนไปใช้ในการปฏิบัติงาน จริง ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีการน ประโย7 รายงานแจ้งที่ ประชุม กค. และ ทีมบริหาร 1. ขั้นตอนการด าเนินงาน 2. ความส าเร็จของงาน ต.ค. 62-ก.ย. 63


9 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ น าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ ชน์อย่างน้อย 3 เรื่อง มีการน าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน การปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชา - - คณะกรรมการฯ ภาควิชา


1แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2563 : โครงกากิจกรรชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษี2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม : ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 1 การก าหนดประเด็น ความรู้และเป้าหมายของ การจัดการความรู้ ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อก าหนด ประเด็นการถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ ต.ค. 62-ก.ย. 62 ก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมาย ผู้เกษียณอายุราชการปีงบประมาณ 2564 สายสนับสนุน 1. นางจันทิมา ทองลมูล 2. นางประนอม แป้นสุวรรณ 3. นางสาวอัมพร วนเศรษฐ สายลูกจ้าง 1. นางจินดา วุฑฒวิภาค 2. นางส้มแป้น ชูสวัสดิ์ 3. นายจิรศักดิ์ ควรหาเวช 4. นางเบญญาภา มหามนตรี 5. นางส าราญ อยู่ยงค์ ต.ค. 62-ก.ย. 63 ติดต่อผู้เกษียณอายุ และ วิทยากรผู้ด าเนินรายการ - ผู้เกษียณอายุถ่ายทอดประสบการณ์ - วิทยากรผู้ด าเนินรายการ ต.ค. 62-ก.ย. 6


0 ารการส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้สู่องค์ความรู้ขององค์กร รมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ษียณอายุราชการ ยณอายุราชการ ร ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 63 ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอด ความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 1 เรื่อง สร้างวัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดความรู้ของ ผู้เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ 63 ผู้เกษียณอายุราชการเข้าร่วมใน กิจกรรมอย่างน้อย 2 คน สร้างวัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดความรู้ของ ผู้เกษียณอายุราชการ - คณะกรรมการฯ 63 มีผู้เกษียณอายุถ่ายทอด ประสบการณ์อย่างน้อย 2 คน ได้รับความรู้จาก ผู้เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ


1ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 4 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับ คณะฯ เพื่อให้ผู้เกษียณอายุราชการได้ ถ่ายทอดความรู้ - ถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้เกษียณ อายุ ราชการ ต.ค. 62-ก.ย. 65 การรวบรวมความรู้และ จัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็น ลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 62-ก.ย. 66 การน าความรู้ที่ได้จาก การจัดการความรู้มา ปรับใช้ ในการปฏิบัติงานจริง น าความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณอายุราชการ ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ต.ค. 62-ก.ย. 67 รายงานแจ้งที่ประชุม กค. และทีมบริหาร 1. ขั้นตอนการด าเนินงาน 2. ความส าเร็จของงาน ต.ค. 62-ก.ย. 6


1 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 63 - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง - ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอด ความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ อย่างน้อย 1 เรื่อง - สร้างวัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดความรู้ของ ผู้เกษียณอายุราชการ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ ได้จากการถ่ายทอด ความรู้ของผู้เกษียณอายุ ราชการ คณะกรรมการฯ 63 มีการจัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ ความรู้ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวม จัดเก็บ และ เผยแพร่องค์ความรู้ของ คณะฯ คณะกรรมการฯ 63 มีการน าความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณ อายุราชการไปใช้ในการ ปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 เรื่อง มีการน าความรู้ที่ได้จาก ผู้เกษียณอายุราชการไป ใช้ในการปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ 63 - - คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน


1แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2563 : โครงกาชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อให้บุคลากรสายสนับสนุนมีความรู้ ความเข้าใจในการ2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มงาน ค้นหาแนวปฏิบัติ3. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดกาหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม : ได้องค์ความรู้ได้ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา 1 การก าหนดประเด็น ความรู้และ เป้าหมายของการ จัดการความรู้ 1. ก าหนดประเด็นการจัดการ ความรู้ตามพันธกิจของสาย สนับสนุนในระดับคณะฯ ต.ค. 62-ก.ย. 63 1. ได้ปพัฒนาสนับสน2 ก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่จะ พัฒนาความรู้และ ทักษะ บุคลากรสายสนับสนุน ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีบุคลากิจกรร3 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย - จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการวิเคราะห์ของ ปัญหา ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และการจัดท าแผนผัง Flowchart - สัญจรพบ 12 หน่วยงานๆ ละ 2 ครั้ง ต.ค. 62-ก.ย. 63 จ านวน


2 ารแนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนาคุณภาพงานส าหรับหน่วยงานสนับสนุน รวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และการจัดท าแผนผัง Flowchart ติที่ดี (Best Practice) และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรของคณะพยาบาลศาสตร และบุคคลภายนอก ารความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาลศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ ประเด็นและเป้าหมายในการ งานของบุคลากรสาย นุน หน่วยงานสายสนับสนุน 12 หน่วยงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน ากรสายสนับสนุนเข้าร่วมใน รมที่จัด บุคลากรสายสนับสนุนทุกท่านเข้าร่วมใน กิจกรรมการจัดการความรู้ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและส านักงาน นผลงานที่ได้จากบุคลากร - บุคลากรสายสนับสนุนมีความรู้ความ เข้าใจในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และการจัดท า แผนผัง Flowchart ได้ - มีการน าเสนอในกิจกรรม Show Case Best Practice และผลงานที่ได้รับการ คณะกรรมการฯ


1ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา - จัด Show Case Best Practice 4 ติดตามผลงาน ผลงานหลังจากที่ได้สัญจรพบ 12 หน่วยงาน ต.ค. 62-ก.ย. 63 จ านวนมีค่าเป้5 การรวบรวมความรู้ และจัดเก็บอย่าง เป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็น ลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีการจัความรู้6 การน าความรู้ที่ได้ จากการจัดการ ความรู้มาปรับใช้ใน การ ปฏิบัติงานจริง น าความรู้ที่ได้จากการถอด บทเรียนไปใช้ในการปฏิบัติงาน จริง ต.ค. 62-ก.ย. 63 มีการน ประโย7 รายงานแจ้งที่ ประชุม กค. และ ทีมบริหาร 1. ขั้นตอนการด าเนินงาน 2. ความส าเร็จของงาน ต.ค. 62-ก.ย. 63


3 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ คัดเลือก จะน าส่งเข้าประกวดในงาน มหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการ ด าเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะฯ นผลงานจากหน่วยงาน ้าหมายอยู่ที่ 12 เรื่อง หน่วยงาน 12 หน่วยงานมีผลงาน อย่างน้อย 1 ชิ้น 1. คณะกรรมการฯ ัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ รู้ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่องค์ความรู้ ของคณะฯ คณะกรรมการฯ น าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ ชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง มีการน าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน การปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ - - คณะกรรมการฯ


14 แผนที่การด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีแผนที่การ ด าเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) โดยเป็นการจัดเก็บในรูปแบบของคลังความรู้ที่เกิดจากการ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถเข้าไปได้ที่ WebsiteKM http://www.elearning.ns.mahidol.ac.th/km/ ซึ่งได้จัดเก็บแบ่งเป็น 5 ด้าน ดังนี้ คลังความรู้ ด้านการศึกษา ด้านบริหารจัดการและเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านประกันคุณภาพ ด้านบริการวิชาการ ด้านการวิจัย


1กระบวนการขั้นตอนสู่ความส าเร็จด้านการจัดการความรู้ของ ค้นหาความรู้ที่ จะท าให้บรรลุ เป้าหมายของ องค์กร สร้างและ แสวงหาความรู้ ให้เหมาะกับงาน และเป้าหมาย จัดการความรู้ให้ เป็นระบบแบ่ง ชนิดประเภทให้ สืบค้นง่าย ปรับปรุงภาษาเข้


5 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มี7 ขั้นตอน ดังนี้ งให้เป็น ข้าใจง่าย เข้าถึงความรู้ (website) แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ (เวที) น ามาใช้ ประโยชน์ในการ ตัดสินใจเกิดผล ลัพธ์ที่ดี มุ่งสู่ เป้าหมายคณะฯ


16 ภาคผนวก


1ปี 2551 เกิดกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติจ านวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่มNSFIS กลุ่มNSCIPPA และกลุ่ม NSLP ปี 2เพิ่มกลุ่มนักปฏิบกลุ่มการเรียนการและกลุ่มสปี 2562-2563 เริ่มปรับยุทธศาสตร์ใหม่สนับสนุนให้ ทุกหน่วยงานท า KM เพื่อพัฒนา คุณภาพงานอย่างจริงจัง ปี 2จัดหาเครือข่ายเพื่อให้เกิหน่วยงานภายนอกสถปี 2550 พัฒนา website KM เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ภาคผนวก ก


7 ปี 2553 ปรับรูปแบบการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการเป็นรูปธรรม ในรูปแบบคู่มือทางการพยาบาล 2552 บัติอีก 3 กลุ่ม คือ สอน กลุ่มคนรักไอที สายสนับสนุน ปี 2554 ทบทวนการด าเนินการจัดการความรู้ใหม่ พร้อมตั้งคณะกรรมการ KM เฉพาะ ปี 2555-2556 สนับสนุนให้บุคลากรท า KM ต่อเนื่อง จัดเก็บองค์ความรู้ใน web site ปี 2557-2561 แบ่งตามกลุ่มให้เข้าถึงได้ สนับสนุนให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2564-2566 กิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ถาบัน และเครือข่ายพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล


18 ภาคผนวก ข ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้


19


20 ภาคผนวก ค. โครงการ ตามแผนปฏิบัติการ คณะพยาบาลศาสตร์ ปีงบประมาณ 2563


21


22


23


24


25


26


27


28


29 ภาคผนวก ง โครงการ แนวปฏิบัติที่ดีสู่การพัฒนาคุณภาพงานส าหรับหน่วยงานสนับสนุน


30


31


32


33 ภาคผนวก จ รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงานจากทุกหน่วยงาน หน่วยงาน ชื่อผลงาน ชื่อผลงาน งานบริการการศึกษา 1. ระบบการจองห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ 4. กระบวนการด าเนินงานเกี่ยวกับอาจารย์ผู้ช่วยสอน ภาคปฏิบัติ 2. การจัดระบบให้บริการหุ่น/อุปกรณ์ภายในห้อง LRC คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) 5. กระบวนการปฏิบัติงานขั้นตอนการจัดท าไฟล์รายชื่อส าหรับ อาจารย์ประจ าวิชากรอกเกรดประจ าภาคการศึกษา 3. กระบวนการการให้บริการจัดท าข้อสอบออนไลน์ งานห้องสมุด 6. NS Reference Delivery 7. การประชาสัมพันธ์เชิงรุก งานพัฒนานักศึกษา 8. ความปลอดภัยของผู้พักอาศัยในหอพัก คณะพยาบาล ศาสตร์ บางขุนนนท์ 9. กระบวนการพัฒนาภาษาอังกฤษของนักศึกษา งานส่งเสริมและพัฒนา งานวิจัย 10. NS Smart Research Clinic บัณฑิตศึกษา 11. ขั้นตอนฐานข้อมูลประวัติออนไลน์นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา 12. ขั้นตอนการรับสมัครนักศึกษาต่างชาติโดยใช้ฐานข้อมูล ชาวต่างชาติผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา งานบริการวิชาการ 13. ระบบการส่งเรื่องให้การเงิน-พัสดุ 14. ระบบการรับลงทะเบียนงานประชุม/อบรมผ่านระบบรับ ลงทะเบียน Online งานนโยบาย แผน และ งบประมาณ 15. แจ้งผลการติดตามการส่งรายงานผลโครงการ/ กิจกรรม งานพัฒนาคุณภาพและ บริหารความเสี่ยง 16. กระบวนการเขียน flowchart งานประชาสัมพันธ์และ พัฒนาภาพลักษณ์องค์กร 17. การพัฒนาประสิทธิภาพการประชาสัมพันธ์ของ คณะฯ 19. การคัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนกับ สถาบันการพยาบาลในต่างประเทศ 18. มีระบบการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ งานคลังและพัสดุ 20. การพัฒนาระบบการเบิกจ่ายเงิน 22. การจัดระบบการจัดหาวัสดุส านักงาน 21. ระบบการคืนหลักประกันสัญญา งานบริหารจัดการ 23. ระบบรับ-ส่งเอกสารให้มีประสิทธิภาพ 26. การจัดระบบการจอดรถภายในคณะฯ 24. การจัดการขยะ 27. ขั้นตอนการขอใช้รถราชการส่วนกลางระบบ Online คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 25. พัฒนาระบบการแจ้งซ่อม 28. ระบบการบ ารุงรักษาต้นไม้ งานทรัพยากรบุคคล 29. กระบวนการการจัดการระบบฐานข้อมูลบุคลากร บรรจุใหม่ โดยใช้แบบกรอกประวัติ ON-Line งานเทคโนโลยี สารสนเทศ 30. กระบวนการจองใช้โสตทัศนูปกรณ์ห้องเรียน ห้อง ประชุม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (บางกอกน้อย) 31. กระบวนการระบบการยืม-อุปกรณ์โสตฯ คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) ภาควิชา 32. flowchart กระบวนการปฏิบัติงาน The Memory (Calendar)


34 ภาคผนวก ฉ รายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงานของบุคลากรสายสนับสนุน กิจกรรม Show Case Best Practice จ านวน 19 ผลงาน หน่วยงาน ชื่อผลงาน ชื่อผลงาน งานประชาสัมพันธ์และ พัฒนาภาพลักษณ์องค์กร 1. การพัฒนาระบบการขอเข้าชมพิพิธภัณฑ์ (ขอเป็นระบบ ชมเป็นระเบียบ) 2. การพัฒนาประสิทธิภาพการประชาสัมพันธ์ของ คณะพยาบาลศาสตร์ (แค่แจ้ง...เราก็ไป: Just tell us and go) ห้องสมุด 3. NS Reference Delivery 4. งานประชาสัมพันธ์เชิงรุก งานพัฒนานักศึกษา 5. การพัฒนาภาษาอังกฤษของนักศึกษา 6. ความปลอดภัยของผู้พักอาศัยในหอพักคณะพยาบาลศาสตร์ บางขุนนนท์ งานพัฒนาคุณภ าพและ บริหารความเสี่ยง 7. กระบวนการพัฒนาคุณภาพโดยใช้ Flow chart งานพัสดุ 8. การจัดระบบการจัดหาวัสดุส านักงาน 9. กระบวนการคืนหลักประกันสัญญา งานบริการการศึกษา 10. กระบวนการจัดระบบการรับบริการห้อง LRC งานบริหารจัดการ 11. พัฒนาระบบการแจ้งซ่อม 12. การดูแลบ ารุงรักษาต้นไม้ 13. การจัดการขยะ อาคารมหิดลอดุลยเดช พระศรี นครินทร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา 14. กระบวนการการจัดการขยะ พื้นที่บางกอกน้อย 15. ระบบรับ-ส่งเอกสารให้มีประสิทธิภาพ บัณฑิตศึกษา 16. ฐานข้อมูลประวัติออนไลน์นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 17. Circulation Service by MS Office 365 18. กระบวนการจองใช้โสตทัศนุปกรณ์ห้องเรียน ห้องประชุม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (บางกอกน้อย) ศูนย์ป ร ะส านเค รื อข่ า ย ต่างประเทศ 19. กระบวนการการรับสมัครนักศึกษาโครงการ แลกเปลี่ยนโดยใช้ระบบออนไลน์ทาง Google Forms ตัวอย่างภาพหน้าคลิป VDO กิจกรรม Show case best practice


35 ภาคผนวก ช ผลงานที่ส่งเข้าร่วมงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ าปี 2563 “Agile Organization : รู้ทัน ก้าวไว รวมใจสู่ Agile Organization” โดยแบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ 1. Team Good Practice จ านวน 1 ผลงาน 2. Innovative Teaching Award จ านวน 1 ผลงาน 3. Oral Presentaion จ านวน 3 ผลงาน 4. Porster Presentation จ านวน 6 ผลงาน 1. Team Good Practice จ านวน 1 ผลงาน ชื่อผลงาน ทีมสร้างพลังขับเคลื่อนองค์กรแห่งการเรียนรู้ หน่วยงาน พัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง การขับเคลื่อนคณะพยาบาลศาสตร์ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ต้องอาศัยการขับเคลื่อนทั้งหน่วยงาน โดยบุคลากรสาย วิชาการ มีการจัดการความรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง แต่ในสายสนับสนุนยังมีความรู้ที่ไม่ปรากฎแจ้ง (Tacit Knowledge) อีกมากมาย ที่ควรได้รับการถ่ายทอด ดังนั้นงานพัฒนาคุณภาพฯ จึงจัดทีมเพื่อผลักดันให้บุคลากรสายสนับสนุนของคณะฯ เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ โดยการใช้เครื่องมือคุณภาพต่างๆ อาทิ KM, RCA และ Flow chart เป็นต้น โดยทีมพัฒนาความคุณภาพเป็นทั้งผู้ให้ความรู้ ดูแล ช่วยเหลือ และติดตามความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุน ส่งผลให้ในระยะเริ่มต้นเกิดโครงการพัฒนาคุณภาพงานจากทุก หน่วยงาน (12 หน่วยงาน) จ านวน 34 ผลงาน และโครงการมีความยั่งยืน 19 ผลงาน เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ขับเคลื่อนทั้งองค์กร มี ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับดี มีการเผยแพร่ผลงานคุณภาพงานในรูปแบบ VDO ผ่านทาง Line Group ของ คณะฯ NSTV และ website KM ของคณะฯ รวมถึงสามารถส่งผลงานคุณภาพเข้าร่วมประกวดในเวทีต่างๆ 2. Innovative Teaching Award จ านวน 1 ผลงาน ชื่อผลงาน Cultural diversity and health care : International nursing course ระดับภาควิชาการพยาบาล ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรมของพลเมืองโลกเป็นมิติเชิงสังคมที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพ เนื่องความเชื่อ วัฒนธรรม วิถีชีวิตของ แต่ละพื้นที่ สามารถส่งผลต่อการตัดสินดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ พยาบาลถือเป็นบุคลากรสุขภาพที่มีบทบาทหลักในการ ดูแลผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งการประสานการดูแลกับทีมสุขภาพหรือหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องในการดูแล ดังนั้น หากพยาบาลมี ความรู้ความเข้าใจวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเชื่อ และการปฏิบัติของผู้รับบริการที่แตกต่างกัน จะส่งผลให้เกิดการดูแลรักษาที่มี ประสิทธิภาพและเกิดความปลอดภัย คณะพยาบาลศาสตร์เล็งเห็นถึงความส าคัญจึงเปิดวิชา ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการดูแลสุขภาพ จ านวน 2 หน่วย กิต เพื่อให้นักศึกษาพยาบาลจากหลากหลายประเทศในภูมิภาคอาเซียนได้ลงทะเบียน และเรียนร่วมกับนักศึกษาไทย ในการวิเคราะห์ สถานการณ์สุขภาพของแต่ละวัฒนธรรม รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นการสุขภาพระหว่างกัน ท าให้นักศึกษาสนใจลงทะเบียนเพิ่ม มากขึ้นทุกปี ในขณะเดียวกันมีนักศึกษาจากหลากหลายประเทศเพิ่มขึ้น


36 3. Oral Presentaion จ านวน 3 ผลงาน 1. ชื่อผลงาน การพัฒนากระบวนการท าประวัตินักศึกษาใหม่ โดยใช้ Google Form, Google Sheet และโปรแกรม Excel หน่วยงาน บัณฑิตศึกษา การพัฒนากระบวนการท าประวัตินักศึกษาใหม่ เป็นการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับกระบวนการท างานแบบเดิม เพื่อลด ขั้นตอนการท างาน ลดระยะเวลา ลดทรัพยากร รวมทั้งความถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วนของข้อมูล โดยน า Google Form, Google Sheet, Excel มาใช้พัฒนาระบบการท างานแบบใหม่ ผลลัพธ์คือ ช่วยลดขั้นตอนการท างานจาก เดิม 7 ขั้นตอน เหลือ 1 ขั้นตอน ลดระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกข้อมูล ลดทรัพยากร และข้อมูลมีความถูกต้อง ชัดเจน เนื่องจากนักศึกษาเป็นผู้กรอกข้อมูลเอง ข้อมูล ครบถ้วน ร้อยละ 100 และเห็นว่าหลักสูตรอื่นของคณะสามารถน าเป็นแนวทาง ในการปรับใช้การบันทึกข้อมูลนักศึกษาได้ ในอนาคตจะประยุกต์ใช้ท าประวัติศิษย์เก่าของหลักสูตรระดับปริญญาตรี โท เอก เพื่อเป็น ฐานข้อมูลศิษย์เก่าของคณะต่อไป 2. ชื่อผลงาน Evidence–Based Nursing Practice & Research Support Website หน่วยงาน งานห้องสมุด Evidence - Based Nursing Practice & Research Support Website ได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อสนับสนุนการเรียนการ สอนการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ เนื่องจากบุคลากรห้องสมุดพบว่า ถึงแม้จะมีการจัดอบรมฝึกปฏิบัติการวิธีการสืบค้นข้อมูลจาก ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์แล้ว นักศึกษาส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาในการค้นคว้าและคัดเลือกแหล่งข้อมูลทางวิชาการในการเรียน ได้แก่ การเขียนรายงานเกี่ยวกับการพยาบาล การใช้ยา เป็นต้น รวมทั้งมีปัญหาในการค้นคว้าข้อมูลประกอบการท าวิจัยและวิทยานิพนธ์ ผู้จัดท าเล็งเห็นถึงความส าคัญของการอ านวยความสะดวกแก่นักศึกษาในการเข้าถึงข้อมูลที่น่าเชื่อถือทางการพยาบาลและสาขาวิชาที่ เกี่ยวข้อง จึงพัฒนา Website ชื่อ Evidence-Based Nursing Practice & Research Support Website โดยใช้โปรแกรม Google site แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาจ านวน 2 คน และพัฒนา Website แรกเพื่อเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ผลการใช้ Website พบว่า อาจารย์และนักศึกษาเข้าใช้ Website จ านวน 2,030 คน มีการประเมินความพึงพอใจผู้เข้าใช้ Website จ านวน 251 คน พบว่า มีความพึงพอใจมากและมากที่สุด ร้อยละ 87.30 และมีข้อเสนอแนะให้เพิ่มเนื้อหาที่สนับสนุนการเรียนการ สอนระดับบัณฑิตศึกษาและการท าวิทยานิพนธ์จึงได้แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาที่สอนในหลักสูตรบัณฑิตศึกษาเพิ่มจ านวน 2 คนและ เจ้าหน้าที่งานเทคโนโลยีสารสนเทศ จ านวน 1 คน เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและแผนผัง Website ประชาสัมพันธ์และประเมินผลความพึง พอใจครั้งที่ 2 พบว่า ผู้เข้าใช้ Website จ านวน 198 คน มีความพึงพอใจมากและมากที่สุด ร้อยละ 93.94 มีการขยายผลทั้งในระดับ คณะฯ มหาวิทยาลัยมหิดล และวางแผนขยายผลต่อไปในระดับประเทศ


37 3. ชื่อผลงาน การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษอย่างมีส่วนร่วมของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ หน่วยงาน งานพัฒนานักศึกษา ปีการศึกษา 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ มีนักศึกษาชั้นปี 1-3 ที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษจ านวน 720 คน ร้อยละ 91.14 ส่วนนักศึกษารหัส 5909... ร้อยละ 36.19 สอบภาษาอังกฤษไม่ผ่านตามเกณฑ์การสมัครงาน งานพัฒนานักศึกษา ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น เนื่องจากข้อบังคับใหม่ของมหาวิทยาลัยก าหนดว่าถ้าสอบไม่ผ่านตามเกณฑ์ จะไม่สามารถส าเร็จ การศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสูตรก าหนด งานพัฒนานักศึกษาร่วมกับคณะกรรมการพัฒนานักศึกษาและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้ 1) ส ารวจปัญหา อุปสรรค ความต้องการการช่วยเหลือ และน ามาวิเคราะห์ 2) วางแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาภาษาอังกฤษ ให้ตรงตาม ความต้องการ 3) จัดกิจกรรม 4) สร้างบรรยากาศความเป็นสากลและโอกาสการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภายในคณะฯ และ 5) ประสานความร่วมมือกับกองบริหารการศึกษา ให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการอบรมภาษาอังกฤษเข้มข้นที่เหมาะสมกับระดับทักษะของ นักศึกษาเป็นรายบุคคล 6) กระตุ้น ติดตามปัญหา และช่วยเหลือนักศึกษาอย่างใกล้ชิดจากอาจารย์และเจ้าหน้าที่ ผลการด าเนินงาน พบว่า นักศึกษาผ่านเกณฑ์ฯ เพิ่มขึ้น รหัส 6009... 6109... 6209... สอบผ่านเกณฑ์ฯ ร้อยละ 43.43 และรหัส 6009... สอบผ่านเกณฑ์ฯ ร้อยละ 100 4. Porster Presentation จ านวน 6 ผลงาน 1. ชื่อผลงาน การปรับปรุงกระบวนการขอใช้บริการถ่ายภาพของงานประชาสัมพันธ์ฯ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (แค่ แจ้ง...เราก็ไป: Just tell us and go) หน่วยงาน งานประชาสัมพันธ์และพัฒนาภาพลักษณ์องค์กร ในการจัดกิจกรรมทุกครั้งจะต้องมีการถ่ายภาพเพื่อน าไปประชาสัมพันธ์ข่าวสารความเคลื่อนไหวต่างๆ ของคณะพยาบาล ศาสตร์ และเก็บไว้ลงในฐานข้อมูลมัลติมีเดีย แต่บางกิจกรรมที่จัดขึ้น หรือมีเหตุการณ์ส าคัญที่ผู้บริหารเข้าร่วมงานไม่ได้รับการถ่ายภาพ ไว้ เนื่องจากไม่ได้รับแจ้งรายละเอียดจากผู้เกี่ยวข้องจึงท าให้ไม่มีเจ้าหน้าที่ไปถ่ายภาพ ดังนั้น เพื่อให้กิจกรรมต่างๆ ที่คณะฯ จัดขึ้นได้รับ การถ่ายภาพ เผยแพร่ และจัดเก็บ จึงได้สร้างแบบฟอร์มออนไลน์ด้วย Google form ส าหรับขอใช้บริการถ่ายภาพขึ้น เพื่อเพิ่มช่องทาง ในการขอรับบริการถ่ายภาพ และเพื่อปรับปรุงกระบวนการการขอใช้บริการถ่ายภาพของงานประชาสัมพันธ์ฯ ให้เป็นระบบ ผู้ขอใช้ บริการได้รับความสะดวกในการส่งข้อมูล และเพิ่มความมั่นใจได้ว่าทุกกิจกรรมที่ได้ด าเนินการตามระบบที่ได้รับการปรับปรุงนี้จะได้รับ การบันทึกภาพทุกกิจกรรมที่ขอใช้บริการอย่างแน่นอน 2. ชื่อผลงาน NS Smart Research Clinic หน่วยงาน งานส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย โครงการให้ค าปรึกษาด้านการวิจัยเชิงปริมาณออนไลน์ในชื่อ “NS Smart Research Clinic” จัดท าขึ้นเพื่อเพิ่มช่องทาง รูปแบบการให้ค าปรึกษาที่หลากหลาย ทันสมัย ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ทันท่วงที และลดระยะเวลาการรอคอยเข้า รับบริการที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ภายใต้แนวคิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีตัวชี้วัดความส าเร็จที่ส าคัญ 3 ด้าน ได้แก่ 1) รูปแบบการให้บริการออนไลน์เปิดใช้งานได้จริงร่วมกับการให้บริการแบบปกติ 2) ความพึงพอใจของผู้รับบริการอยู่ใน


38 ระดับดี 3) ระยะเวลาการรอคอยเข้ารับบริการลดลงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติเมื่อเทียบระหว่างปี 2562 และ 2563 ในช่วงระยะเวลา เดียวกัน จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณพบว่า ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยเฉลี่ย มากกว่า 4.5 จากคะแนนเต็ม 5 ด้านความผูกพันผู้ประเมินมากกว่าร้อยละ 95 จะกลับเข้ามารับบริการใหม่และจะแนะน าต่อกับผู้อื่น และเมื่อเปรียบเทียบระยะเวลา การรอคอยระหว่างปี 2562 และ 2563 โดยใช้สถิติ Median Test พบว่ามีระยะเวลาการรอคอยลดลงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (Me2562=43; IQR=8.75 และ Me2563=24; IQR=6.3, P Value < 0.001) 3. ชื่อผลงาน เปลี่ยนการจองโสต ให้ง่ายส าหรับคุณ หน่วยงาน งานเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีการจองใช้ บริการ ห้องเรียน ห้องประชุมและโสตทัศนูปกรณ์ด้วยวิธีติดต่อ โดยตรงกับเจ้าหน้าที่ ซึ่งพบปัญหา ข้อผิดพลาดต่างๆ และยังเสียเวลา ไม่สะดวกรวดเร็ว ขาดข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน ดังนั้น งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนดังกล่าวนี้ จึงพัฒนาระบบการบริการโสตทัศนูปกรณ์ที่ควบคู่กับ การให้บริการใช้สถานที่ ห้องเรียน ห้องประชุม ที่มีความพร้อมในการใช้งานของผู้มาใช้บริการ โดยท างานผ่านระบบ internet ซึ่งเป็น การแก้ปัญหาในการที่ต้องโทรติดต่อเจ้าหน้าที่โดยตรง เมื่อใช้ระบบฯดังกล่าวไปซักระยะพบว่ามีปัญหาในการใช้งานคือ มีการใช้งาน ห้องหรืออุปกรณ์โสตฯแบบ เร่งด่วน ซึ่งไม่ได้จองใช้งานผ่านระบบฯ ท าให้ข้อมูลการใช้งาน ไม่ได้ถูกบันทึกเข้าสู่ระบบฯ ดังนั้นเพื่อเป็น การแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดท าแบบขอรับบริการในกรณีเร่งด่วน เพื่อเป็นการบันทึกข้อมูลการใช้งานดังกล่าว โดยหลังจากที่ได้ท า แบบขอรับบริการในกรณีเร่งด่วน ดังกล่าวพบว่าช่วยในการจัดเก็บข้อมูลการใช้งาน ในกรณีการขอใช้งานเร่งด่วนได้เป็นอย่างดี 4. ชื่อผลงาน Circulation Service by MS Office 365 หน่วยงาน งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพการท างานในองค์กร โดยสามารถน ามา ประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ เพื่อช่วยในการบริหารจัดการกับข้อมูลจ านวนมากอย่างเป็นระบบ งานเทคโนโลยีสารสนเทศมีการ ให้บริการยืม-คืนอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน/ การประชุม/ อบรม/ สัมมนาและการสร้างสื่อการเรียนการ สอนของคณะพยาบาลศาสตร์โดยลักษณะการให้บริการยืม-คืนอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์เดิม ผู้ขอรับบริการต้องลงบันทึกการขอยืม อุปกรณ์ดังกล่าวในแฟ้มของหน่วยงาน เพื่อเป็นการบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน ซึ่งการลงบันทึกด้วยลายมือพบปัญหา เช่น กระดาษ ช ารุด มีความไม่ถูกต้องของข้อมูล สิ้นเปลืองทรัพยากรกระดาษ และใช้เวลานานในการสืบค้นข้อมูลย้อนหลัง ดังนั้น คณะท างานจึงได้ ศึกษาโปรแกรมส าเร็จรูปเพื่อประยุกต์ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ ช่วยในการสืบค้น และช่วยลดทรัพยากรกระดาษ โดยใช้ Forms ของ Microsoft Office365 เพื่อบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและสามารถสืบค้นและท างานผ่านระบบ Online ได้ช่วยอ านวย ความสะดวกให้แก่ผู้ขอรับบริการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ


39 5. ชื่อผลงาน E-Application: รับสมัครอย่างสมาร์ท หน่วยงาน งานวิเทศสัมพันธ์ ศูนย์ประสานเครือข่ายต่างประเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ด าเนินการคัดเลือกนักศึกษาเพื่อเข้า ร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเป็นประจ าทุกปี ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและใช้เวลานานรวมถึงสิ้นเปลืองกระดาษในหน่วยงาน โดยศูนย์ประสาน เครือข่ายต่างประเทศได้วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยผังก้างปลาและปรับรูปแบบการสมัครจากกระดาษเป็น Google Forms แทน เพื่อ ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการท างานรวมถึงปริมาณการใช้กระดาษ อีกทั้งนักศึกษายังเข้าถึงการสมัครได้ง่ายและสะดวกขึ้น การน า Google Forms มาใช้ในการับสมัครนักศึกษาช่วยลดขั้นตอนการด าเนินงาน คือ 1) การตรวจความถูกต้องและครบถ้วนของเอกสาร ลดลงเหลือ 4 ชั่วโมง 2) การรวบรวมเอกสารและสรุปรายชื่อลดลงเหลือ 1.6 ชั่วโมง 3) ยกเลิกการส าเนาเอกสาร ซึ่งท าให้ศูนย์ประสาน เครือข่ายต่างประเทศลดปริมาณการใช้กระดาษเหลือ 20 แผ่น 4) การสรุปผลคะแนนการสอบสัมภาษณ์ลดลงเหลือ 1.6 ชั่วโมง โดยค านวณจากนักศึกษาจ านวน 100 คน ทั้งนี้ ศูนย์ประสานเครือข่ายต่างประเทศท าแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ กระบวนการสมัครเข้าร่วมโครงการผ่าน Google Forms โดยนักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดและพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 100 6. ชื่อผลงาน Personal Activity Mnemonic on Cloud System (ระบบช่วยจดจ ากิจกรรมส่วนบุคคลบนระบบคลาวด์) หน่วยงาน แสงเดือน พรหมจันทร์ การบันทึกการไปปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอน วิทยากร การประชุมวิชาการของอาจารย์ มีเจ้าหน้าที่ภาควิชาฯ จัดท า แบบฟอร์มประกอบด้วย วันเดือนปี รายชื่อ สถานที่ เวลา เบอร์โทรศัพท์ และจัดวางที่ส านักงานของภาควิชาฯ ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ปัญหา พบว่า ไม่ครบถ้วน ท าให้ไม่สามารถติดต่ออาจารย์ในเวลาราชการได้ จึงได้ออกแบบกระบวนการใหม่ โดยใช้ Google Calendar มา สนับสนุนการปฏิบัติงาน เพื่อลดกระดาษ ลดเวลาการติดต่อกับอาจารย์ จ านวน 5 ปฎิทิน คือ 1) การไปท างานวิจัย/วิชาการ 2) การเข้า ร่วมกิจกรรมของคณะฯ 3) การลา 4) ประชุม อบรม สัมมนา 5) บันทึกประจ าวัน ในล าดับที่ 1-4 เจ้าหน้าที่ภาควิชาฯ จะเป็นผู้ระบุ กิจกรรมและให้สิทธิ์อาจารย์เพื่อรับทราบ ในล าดับที่ 5 จะให้สิทธิ์อาจารย์ระบุกิจกรรมด้วยตนเอง โดยประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือ กับคณาจารย์ของภาควิชาฯ เพื่อรับทราบแนวทางการปฏิบัติ ภายหลังการประชาสัมพันธ์ฯ เจ้าหน้าที่ภาควิชาฯ ได้แชร์ Link ปฏิทิน เพื่อ Accept 5 ปฏิทิน โดยอาจารย์ให้ความร่วมมือ ระบุกิจกรรม “บันทึกประจ าวัน” ท าให้การติดต่อประสานงานกับอาจารย์ สะดวก รวดเร็วขึ้น


Click to View FlipBook Version