The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nsmu_it, 2024-03-12 04:51:01

แผนการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2562

แผนการจัดการความรู้ 2562

แผนการจัดการความร ู ้ คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2562 โดย คณะกรรมการพัฒนาองค ์ กรแห่งการเร ี ยนร ู ้ และการจัดการความร ู ้ และ งานพัฒนาค ุ ณภาพและบริหารความเส ี่ยง


สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 การจัดการความรู้ ความเป็นมา 1 วัตถุประสงค์ 1 นโยบายการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 กลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ 3 แผนยุทธศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2560-2563 3 รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 4 ส่วนที่ 2 การจัดทําแผนการจัดการความรู้ แผนการดําเนินงานการจัดการความรู้ 5 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ 6 แผนการจัดการความรู้ : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 8 แผนที่การดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ (KM Map) 10 กระบวนการขั้นตอนสู่ความสําเร็จด้านการจัดการความรู้ 11 ภาคผนวก ภาคผนวก ก KM Road Map 13 ภาคผนวก ข คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 14 ภาคผนวก ค โครงการตามแผนปฏิบัติการ คณะพยาบาลศาสตร์ปีงบประมาณ 2562 16 ภาคผนวก ง ผลงานที่สงเข่ ้ารวมงานมหกรรมคุ่ณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2562 26 “Innovative Organization : องค์การแห่งนวัตกรรม”


1 ส่วนท 1 ี่การจัดการความรู้ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ความเป็นมา การพัฒนาระบบการจัดการความรู้เป็นเรื่องที่สําคัญและมีความจําเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งวัฒนธรรมการทํางาน เดิมของคณะพยาบาลศาสตร์จะมีการถ่ายทอดความรู้ของผู้เกษียณให้กับบุคลากรในคณะฯ เป็นประจําทุกปีและ ต่อเนื่อง ทําให้เกิดการเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ตรง โดยใช้เป็นแนวทางในการเริ่มกระบวนการจัดการความรู้ ของคณะพยาบาลศาสตร์ ต่อมาคณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มพัฒนาระบบการจัดการความรู้อย่างจริงจังให้ครอบคลุมทุก พันธกิจ และเกิดการนําความรู้มาใช้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาเว็บไซต์การจัดการความรู้ เพื่อใช้เป็นช่องทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้แต่การจัดการความรู้ ยังอยู่ในระบบอินทราเน็ตยังไม่ได้มีการเผยแพร่ออกไปภายนอกต่อมาในปีงบประมาณ 2551 คณะฯ มียุทธศาสตร์และ แผนงานที่ชัดเจนในการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จึงได้มีการจัดตั้งคณะทํางานพัฒนาระบบการ จัดการความรู้ขึ้น เพื่อเข้ามาดําเนินการในเรื่องดังกล่าว ในปีงบประมาณ 2552 คณะฯ ได้แต่งตั้ง “คณะกรรมการพัฒนา องค์กรแห่งการเรียนรู้”และ “คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการความรู้” ขึ้น ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 2 ชุดได้ ประสานงานและทํางานร่วมกันในการดําเนินการให้เกิดการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาระบบการจัดการความรู้ขึ้นภายในคณะฯ รวมทั้งผลักดันให้เกิดระบบการจัดการความรู้ของภาควิชาต่างๆ ด้วย และในปีงบประมาณ 2554 คณะฯ ได้ทบทวนและวางแผนการดําเนินการด้านการจัดการความรู้ใหม่ โดยได้รวม คณะกรรมการทั้ง 2 ชุด เข้าด้วยกัน และตั้งชื่อใหม่เป็น “คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการ ความรู้” และมีบุคลากรและหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดการความรู้โดยตรงทําให้การทํางานของ คณะกรรมการฯ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ได้ ดําเนินการในเรื่องของการจัดการความรู้และการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จวบจน ปัจจุบัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจการศึกษา การวิจัย บริการ วิชาการ บริหารจัดการ และการประกันคุณภาพของคณะพยาบาลศาสตร์ 2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 3. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของ คณะพยาบาลศาสตร์และจากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 4. เพื่อเกิดการนําความรู้จากการจัดการความรู้ไปใช้ในหน่วยงาน


2 นโยบายการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง ได้วางนโยบายการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ของ คณะพยาบาลศาสตร์ไว้ดังนี้ 1. สร้างระบบการจัดการความรู้ด้วยการส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้การสร้างองค์ความรู้การ จัดเก็บความรู้รวมทั้งการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ให้เป็นเครื่องมือพัฒนางานอย่างต่อเนื่องอันนําไปสู่การสร้างองค์ ความรู้และนวัตกรรมใหม่ 2. สนับสนุนให้ทุกหน่วยงาน/ภาควิชาฯ มีการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้รวมทั้งการนําองค์ความรู้ที่ ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินงานของหน่วยงาน/ภาควิชาเพื่อให้เกิดการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงานให้มีประสทธิ ิภาพมากขึ้น 3. เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการทั้งในระดับ ภาควิชาฯ และระดับคณะฯ เพื่อให้เกิดการถ่ายโอนความรู้จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง กลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ กลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ที่สําคัญของ มีดังนี้ 1. มีคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 2. มีหน่วยงานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง เป็นผู้ดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ จากกลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ดังกล่าว คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล นําไปสู่การ ปฏิบัติโดยมีระบบ และกลไกการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ภายในคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะฯ รวมถึงการจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในระดับภาควิชา และหน่วยงาน 2. จัดกิจกรรมการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ทั้งในระดับภาควิชาฯ หน่วยงาน และระดับ คณะฯ 3. จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 4. ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ของคณะพยาบาล ศาสตร์และจากถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 5. เผยแพร่ความรู้ผ่านทางเว็บไซต์การจัดการความรู้และเว็บไซต์ของภาควิชาฯ 6. สนับสนุนให้มีการนําความรู้จากการจัดการความรู้ไปใช้ในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบและกลไกการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแหงการเร่ ียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและกลไกการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ


3 แผนยุทธศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2560-2563 ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์หลัก กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ความเป็นเลิศทางการศึกษา เป้าประสงค์หลัก เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ของนักศึกษา (Outcome-based) 1.1 พัฒนาทุกหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานนานาชาติ(AUN-QA) 1.2 สร้างกลยุทธ์รับนักศึกษาเชิงรุก 1.3 สร้างระบบและกลไกให้ผู้เรียนเข้าถึงการเรียนที่หลากหลาย รูปแบบ 1.4 หล่อหลอมนักศึกษาสู่ความเป็นเลิศและสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 ความเป็นเลิศทางการวิจัย เป้าประสงค์หลัก เพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ มุ่งเน้นสร้างองค์ความรู้หรือ นวัตกรรมใหม่ 2.1 ผลักดันการพัฒนาโครงการวิจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะเชิง นโยบายและตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ 2.2 สร้างระบบ กลไก และบรรยากาศคณะแห่งการวิจัย 2.3 พัฒนาการวิจัย และนวัตกรรมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ/ ภาคเอกชน/สถาบันต่างๆ ในประเทศและ/หรือต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ความเป็นเลิศทางการบริการวิชาการและ พันธกิจสัมพันธ์กับสังคม เป้าประสงค์หลัก เพื่อสร้างความเป็นเลิศในการบริการวิชาการและสร้างความ เข้มแข็งให้เกิดกับชุมชนจากการประสานความร่วมมือกับ เครือข่ายภาครัฐ และภาคเอกชน 3.1 บริการวิชาการที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 3.2 ประสานความร่วมมือภาครัฐ และภาคเอกชนในการจัดบริการ วิชาการที่ครบวงจร 3.3 จัดการบริการวิชาการ (ประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนาชุด บริการ และนวัตกรรม) ที่มีประเด็นทันสมับตอบโจทย์ลูกค้าและ สังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4 ความเป็นเลิศทางการบริหารจัดการอย่าง ยั่งยืน เป้าประสงค์หลัก เพื่อสร้างความเป็นเลิศทางการบริหาร จัดการอย่างยั่งยืน PR & Branding 4.1 ประชาสัมพันธ์/สื่อสารภายใน และภายนอกองค์กรอย่างมือ อาชีพผ่านช่องทางที่หลากหลายเพื่อรองรับทุกพันธกิจ และทํา การตลาดเชิงรุกมุ่งสู่ความเป็นสากล HR Best Practice 4.2 ยกระดับระบบการบริหาร HR สู่มาตรฐานสากล 4.3 ธํารงรักษาความเชี่ยวชาญและปลูกฝังความชํานาญใหม่ IT Infrastructure 4.4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ/ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการ ดําเนินงานในทุกพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ Administration & Governance 4.5 พัฒนาระบบ และกลไกเพื่อให้ได้องค์ความรู้ของสถาบันจากการ จัดการความรู้ 4.6 นําแนวทางมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์สู่การปฏิบัติ 4.7 พัฒนาระบบคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx 4.8 มีการดําเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล Financial 4.9 จัดหารายได้และบริหารจัดการทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ


4 แผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับการดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 กลยุทธ์ที่ 4.5 พัฒนาระบบและกลไก เพื่อให้ได้องค์ความรู้ของสถาบันจากการจัดการความรู้ รายนามคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย ประธาน ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศและพัฒนาคุณภาพ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ดวงใจ รัตนธัญญา กรรมการ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ กรรมการ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วัลยา ธรรมพนิชวฒนั ์ กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุภาภัค เภตราสุวรรณ กรรมการ 6. อาจารย์จิตต์ระพีบูรณศักดิ์ กรรมการ 7. อาจารย์ดร.ศรินรัตน์ศรีประสงค ์กรรมการ 8. ผู้ช่วยอาจารย์จิรวรรณ มาลา กรรมการ 9. นางนภัสสร ลาภณรงค์ชัย กรรมการและเลขานุการ หัวหน้างานพัฒนาคุณภาพและบรหารความเสิ ี่ยง 10. นายกณพ คําสุข กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 11. นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน กรรมการและผ้ชู่วยเลขานุการ หน้าที่ 1. จัดทําแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์ของคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล 2. สร้างวัฒนธรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในคณะพยาบาลศาสตร์อย่างต่อเนื่อง 3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการความรู้ทั้งในระดับภาควิชา หน่วยงาน และสํานักงานของ คณะพยาบาลศาสตร์ 4. ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้จากการจัดการความรู้และนําองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร


5 ส่วนท 2 ี่การจัดทําแผนการจัดการความรู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ได้วางแผนการ ดําเนินงานด้านการจัดการความรู้ดังนี้ แผนการดําเนินงาน ยุทธศาสตร์/ เป้าประสงค์หลัก กลยุทธ์ KPI แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาระบบ และกลไกการจัดการความรู้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ เป้าประสงค์หลัก เพื่อพัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาระบบ และกลไก เพื่อให้ได้องค์ ความรู้ของ สถาบันจากการ จัดการความรู้ จํานวนองค์ ความรู้จากการ จัดการความรู้ใน พันธกิจด้าน ต่างๆ โครงการ ส่งเสริมกระบวนการการ จัดการความรู้สู่องค์ความรู้ของ องค์กร กิจกรรมที่ 1 การจัดการความรู้ กับการดําเนินงานตามพันธกิจ ต่างๆ 1 2 3 4 ยุทธศาสตร์ที่2 พัฒนาระบบ และกลไกการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ เป้าประสงค์หลัก เพื่อเป็นการ สร้างวัฒนธรรมของการ ถ่ายทอดความรู้และการรักษา คุณค่าความรู้ของคณะ พยาบาลศาสตร์ พัฒนาระบบ และกลไก เพื่อให้ได้องค์ ความรู้ผู้ เกษียณอายุ ราชการ จํานวนองค์ ความรู้จากการ ถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุ ราชการ กิจกรรมที่ 2 ถ่ายทอดความรู้ผู้ เกษียณอายุราชการ 1 1 1 1


แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปีงบประมาณ 2562 : กิจกรรมการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกจติ่างๆ ชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจการศึกษาการวิจัยและอื่นๆของคณะพยาบาลศาสตร์ 2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากกระบวนการการจัดการความรู้กับการดําเนินงานตามพันธกิจต่างๆของคณะพยาบาลศาสตร์ หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม :ได้องค์ความรู้จากการจัดการความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 1 การกําหนดประเด็น ความรู้และเป้าหมาย ของการจัดการความรู้ - กําหนดประเด็นการจัดการความรู้ ตามพันธกิจของสายวิชาการและ สายสนับสนุนในระดับคณะฯ - กลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของภาควิชาฯ กําหนดประเด็นและเป้าหมายการ ต.ค. 61-ก.ย. 62 - ได้ประเด็นและเป้าหมายการจัดการ ความรู้ตามพันธกิจในระดับคณะฯ - ได้ประเด็นและเป้าหมายการจัดการ ความรู้อย่างน้อย 7 เรื่อง สร้างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติในระดับภาควิชา และสํานักงานของคณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน


6 จัดการความรู้ของกลุ่ม 2 กําหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่จะ พัฒนาความรู้และ ทักษะ บุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุน ต.ค. 61-ก.ย. 62มีบุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุนเข้าร่วมในกิจกรรมที่จัด บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนเข้า ร่วมในกิจกรรมการจัดการความรู้ในพันธกิจ ด้านการศึกษาการวิจัยและด้านอื่นๆ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน 3 การแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย -จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนร้ใ ู น พันธกิจด้านการศึกษาการวิจัยและ อื่นๆ - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติของ ภาควิชา - จัดกิจกรรม KM Day ต.ค. 61-ก.ย. 62มีจํานวนองค์ความรู้จากการจัดการ ความรู้ในพันธกิจด้านต่างๆ อย่างน้อย 1 เรื่อง -มีการจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ในพันธ กิจด้านการศึกษาการวิจัยและด้านอื่นๆ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากการดําเนินงาน ตามพันธกิจต่างๆของคณะฯ - มีโครงการ Lean ที่นําเสนอในงาน KM Day ได้รับการคัดเลือกส่งเข้าประกวดในงาน มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน


ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 4 การรวบรวมความรู้ และจัดเก็บอย่างเป็น ระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็นลายลักษณ์ อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้ ไว้บนเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 61-ก.ย. 62มีการจัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวมจัดเก็บและเผยแพร่องค์ความรู้ของ คณะฯ คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน 5 การนําความรู้ที่ได้จาก การจัดการความรู้มา ปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานจริง นําความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียน ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ต.ค. 61-ก.ย. 62มีการนําองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง มีการนําองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชนใ์นการ ปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ ภาควิชาและสํานักงาน


7


แผนปฏิบัติการด้านการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ปงบประมาณี 2562 : กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ชื่อหน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล เป้าหมาย KM (Desired State) : 1. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรของการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ 2. เพื่อถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้จากถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม :ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ 1 การกําหนดประเด็นความรู้ และเป้าหมายของการ จัดการความรู้ ประชุมคณะกรรมการฯเพื่อกําหนดประเด็น การถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้เกษียณอายุ ราชการ ต.ค. 61-ก.ย. 62ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ 1 เรื่อง สร้างวัฒนธรรมองค์กรการ ถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ คณะกรรมการฯ 2 กําหนดบุคลากร ผู้เกษียณอายุราชการปีงบประมาณ 2562 ต.ค. 61-ก.ย. 62ผู้เกษียณอายุราชการเข้าร่วมใน สร้างวัฒนธรรมองค์กรการ -คณะกรรมการฯ


8 กลุ่มเป้าหมาย ที่จะพัฒนาความรู้และทักษะ สายวิชาการ - รองศาสตราจารย์ดร.เกศรินทร์อทร ุ ิยะประสทธิิ์ - รองศาสตราจารย์ดร.คนึงนิจพงศถาวรกมล์ - รองศาสตราจารย์ดร.ยาใจสิทธิมงคล - รองศาสตราจารย์ดร.สุพรดนัยดษฎุีกุล - รองศาสตราจารย์ดร.ศศิมากุสุมาณอยุธยา - รองศาสตราจารย์ดร.อรพรรณโตสิงห์ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ฉวีวรรณอยู่สําราญ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมหญิงโควศวนนท์ - อาจารย์ดร.อ้จฉรามาศมาลัย กิจกรรมอย่างน้อย 2 คน ถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ - ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ - ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาล จิตเวชศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลสูตศาสตริ -์นรี เวชวิทยา - ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ - ภาควิชาการพยาบาลสูตศาสตริ -์นรี เวชวิทยา


ลําดับกิจกรรมวิธีการสู่ความสําเร็จระยะเวลาตัวชี้วัดเป้าหมายผู้รับผิดชอบ สายสนับสนุน - นางปภาดาสีมา - นางสาววรบูรณ์เหลืองรุ่งเรือง สายลูกจ้าง - นางบุญส่งสุวรรณนาคี - นางวิริยาสุดพวง -จนท.ประจําภาควิชาการพยาบาล อายุรศาสตร์ - งานบริการการศึกษา (เฉพาะทาง) งานบริหารจัดการ (คนงาน) งานบริหารจัดการ (คนงาน) 3 การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน เรียนรู้และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับคณะฯ เพื่อให้ผู้เกษียณอายุราชการได้ถ่ายทอดความรู้ - ถอดบทเรียน/ความรู้ของผู้เกษียณอายุ ราชการ ก.ค.-ส.ค. 62 - มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง - ได้องค์ความรู้จากการถ่ายทอด ความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ อย่างน้อย1เรื่อง- สร้างวัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดความรู้ของผู้ เกษียณอายุราชการ - ถอดบทเรียน/ความรู้ที่ได้ จากการถ่ายทอดความร้คณะกรรมการฯ


9 อยางนอย 1 เรอง จากการถายทอดความรู ของผู้เกษียณอายุราชการ 4 การรวบรวมความรู้และ จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) จัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ องค์ความรู้ ต.ค. 61-ก.ย. 62มีการจัดเก็บสรุปถอดบทเรียน/ความรู้ ที่ได้ไว้บนเว็บไซต์ รวบรวมจัดเก็บและ เผยแพร่องค์ความรู้ของ คณะฯ คณะกรรมการฯ 5 การนําความรู้ที่ได้จากการ จัดการความรู้มาปรับใช้ ในการปฏิบัติงานจริง นําความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณอายุราชการไปใช้ใน การปฏิบัติงานจริง ต.ค. 61-ก.ย. 62มีการนําความรู้ที่ได้จากผู้เกษียณ อายุราชการไปใช้ในการปฏิบัติงาน อย่างน้อย 1 เรื่อง มีการนําความรู้ที่ได้จากผู้ เกษียณอายุราชการไปใช้ใน การปฏิบัติงาน คณะกรรมการฯ


10 แผนที่การดําเนินงานด้านการจัดการความร (KM Map) ู้ งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล มีแผนที่การ ดําเนินงานด้านการจัดการความรู้(KM Map) โดยเป็นการจัดเก็บในรูปแบบของคลังความรู้ที่เกิดจากการ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถเข้าไปได้ที่ Website KM http://www.elearning.ns.mahidol.ac.th/km/ ซึ่งได้จัดเก็บแบ่งเป็น 5 ด้าน ดังนี้ คล ั งความร ู ้ ด้านการศึกษา ด้านบริหารจัดการและเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านประกันคุณภาพ ด้านบริการวิชาการ ด้านการวิจัย


กระบวนการขั้นตอนสู่ความสําเร็จด้านการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลมี 7 ขั้นตอนดังนี้ ปรับปรุงให้เป็น ้ใ่เข้าถึงความรู้ (website) แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ (เวที) นํามาใช้ ประโยชน์ในการ ตัดสินใจเกิดผล ลัพธ์ที่ดีมุ่งสู่ เป้าหมายคณะฯ


11 ค้นหาความรู้ที่ จะทําให้บรรลุ เป้าหมายของ องค์กร สร้างและ แสวงหาความรู้ ให้เหมาะกับงาน และเป้าหมาย จัดการความรู้ให้ เป็นระบบแบ่ง ชนิดประเภทให้ สืบค้นง่าย ภาษาเข้าใจง่าย


12 ภาคผนวก


ปี 2551 เกิดกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติจานวนํ 3 กลุ่มคือ กลุ่มNSFIS กลุ่มNSCIPPA และกลุ่ม NSLP ปี 2553 ปรับรปแบบการถ ู ่ ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายราชการเปุนร็ปธรรมู ในรูปแบบคู่มอทางการพยาบาลื ปี 2552 เพิ่มกลุ่มนักปฏิบัติอีก 3 กลุ่มคือ กลุ่มการเรียนการสอนกลุ่มคนรักไอที และกลุ่มสายสนับสนุน ปี 2554 ทบทวนการดาเน ํ นการจ ิัดการความรู้ใหม่ พร้อมตั้งคณะกรรมการ KMเฉพาะ ปี 2555-2556 สนับสนุนให้บคลากรทุํา KM ต่อเนื่อง จัดเก็บองคความร์ ู้ใน web site ปี2557-2561แบ่งตามกล่มให้เข้าถึงได้ปี 2562-2563 เริ่มปรบยั ุ ทธศาสตรใหม ์่สนบสน ันให ุ ้ ปี2550 พัฒนา website KM เพื่อเผยแพร่องคความร์ ู้ ภาคผนวกก


13 ป 2557-2561แบงตามกลุมใหเขาถงได สนับสนุนให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทุกหน่วยงานทํา KM เพื่อพฒนา ั คุณภาพงานอย่างจริงจัง ปี 2564-2565 จัดหาเครือขายเพ่ื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง หน่วยงานภายนอกสถาบนัและเครือขายพยาบาล่ คณะพยาบาลศาสตร์ องค์กรแห่งการเรียนรู้


14 ภาคผนวก ข คําสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้


15


16 ภาคผนวก ค โครงการ ส่งเสริมกระบวนการการจัดการความรู้สู่องค์ความรู้ขององค์กร


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26 ภาคผนวก ง ผลงานที่ส่งเข้าร่วมงานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจําปี 2562 “Innovative Organization : องค์การแห่งนวัตกรรม” โดยแบ่งออกเป็นประเภท ดงนั ี้ 1. I : Innovative Teaching Award จํานวน 1 ผลงาน 2. P : Poster & Oral presentation (R2R) จํานวน 1 ผลงาน 3. P : Poster & Oral presentation (Inno) จํานวน 3 ผลงาน 1. I : Innovative Teaching Award 1.1 ชื่อผลงาน Enhancing patient safety through inter – professional collaborative practice เจ้าของผลงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.รัตนาภรณ์คงคา และทีม การจัดการศึกษาแบบสหวิชาชีพ เป็นแนวคิดการปฏิรูปการจัดการศึกษาสาหรับบุคลากรสาธารณสุข คณะพยาบาลศาสตร์ริเริ่มการจัดการเรียนการสอนแบบ IPE โดยยึดความปลอดภัยผู้ป่วยเป็นฐานการเรียนร่วมกัน ปีการศึกษา 2560 มีนักศึกษาเรียน 24 คน จาก 2 หลักสูตร และ ปีการศึกษา 2561 มีนักศึกษาเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 101 คน จาก 4 หลักสูตร ได้แก่พยาบาล กายอุปกรณ์เทคนิคการแพทย์และ แพทย์แผนไทย ประเมินผลโดย Interprofessional Collaborative Competency Attainment Scale (Revised) เปรียบเทียบผลลัพธ์การ เรียนรู้ของนักศึกษา 4 ด้าน ได้แก่การสื่อสาร การประสานความร่วมมือ ความตระหนักบทบาทวิชาชีพ และ การ ดูแลผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ผลการศึกษาทั้ง 2 ครั้ง พบว่า ผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านความสามารถในการทางานร่วมกัน ระหว่างสหวิชาชีพของนักศึกษา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ( p < .000) ทั้งโดยรวมและ รายด้าน การศึกษานี้จึงเป็นรูปแบบการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาใน การทางานร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพ ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ควรเพิ่มรายวิชาที่มีการจัดเรียนการสอนแบบ IPE และพัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้มีทักษะ IPE ทั้งระดับหลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย ต่อไป 2. P : Poster & Oral presentation (R2R) 2.1 ชื่อผลงาน การพัฒนาการเก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายของโครงการ/กิจกรรม ตามพันธกิจของคณะพยาบาลศาสตร์ หน่วยงาน นโยบาย แผน และงบประมาณ การพัฒนาการเก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายของโครงการ/กิจกรรม ตามพันธกิจของคณะพยาบาลศาสตร์เป็นการ นําโปรแกรม Excel มาใช้ในการบันทึกข้อมูลแทนเขียนบันทึกในสมุด โดยออกแบบและสร้าง Template ตาม หัวข้อที่ต้องการและผูกชื่อรายการโดยการคลิกเลือก drop down list เพื่อลดเวลาในการพิมพ์ข้อมูล ลดความ


27 ผิดพลาดในการพิมพ์ข้อมูลและแก้ปัญหาการเก็บข้อมูลได้ไม่ครบถ้วนทําให้สามารถสรุปค่าใช้จ่ายของโครงการ/ กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําปีและค่าใช้จ่าย ตามพันธกิจของคณะฯ ได้อย่างครบถ้วน 3. P : Poster & Oral presentation (Inno) 3.1 ชื่อผลงาน ระบบบริหารจัดการข้อมูลด้านครุภัณฑ์โสตทัศนูปกรณและคอมพ์ ิวเตอร์ หน่วยงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องด้วยในปัจจุบัน คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล มีเจ้าหน้าที่และนักศึกษา จํานวนเพิ่มมาก ขึ้น จึงมีความต้องการในการใช้อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์และคอมพิวเตอร์มากขึ้นด้วย โดยอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ และคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ทางงานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้บริหารจัดการ กระบวนการตรวจสอบครุภัณฑ์แบบเดิม ค่อนข้างใช้เวลานานในการยืนยัน จํานวน, ประเภท รวมถึง ลักษณะของครุภัณฑ์ที่ต้องการตรวจสอบ คณะผู้จัดทําจึงจะทําการพัฒนาระบบเพื่อเก็บบันทึก ประเภท ลักษณะ ของครุภัณฑ์รวมถึงสถานที่ติดตั้ง เพื่อความสะดวกรวดเร็วและง่ายในการตรวจสอบครุภัณฑ์พร้อมสามารถยืนยัน การมีอยู่ของอุปกรณ์ดังกล่าวด้วย 3.2 ชื่อผลงาน E-Paper ด้วยเทคโนโลยี Cloud Service หน่วยงาน เจ้าหน้าที่ธุรการภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ กระบวนการปฏิบัติงานส่งหนังสือหรือข่าวสารต่าง ๆ ให้กับคณาจารย์ของภาควิชาการพยาบาลกุมารเวช ศาสตร์เดิม คือ รับข้อมูลเอกสาร ประทับตราวัน เดือน ปีลงเลขที่หนังสือรับ คัดแยกเอกสาร โดยพิจารณาจาก หัวกระดาษ/ซอง ประทับคําว่า “ด่วนที่สุด” “ด่วนมาก” “ด่วน” หรือ “ลับ” เป็นลําดับแรก จะนําวางบนโต๊ะของ อาจารย์หากเป็นเอกสารหรือบันทึกข้อความทั่วไป จะนําใส่ใน Locker ส่วนบุคคล สําหรับหนังสือที่ต้องได้รับการ พิจารณาให้ความเห็น อนุมัติหรือเป็นเอกสารส่วนบุคคลของหัวหน้าภาควิชาฯ จะคัดแยกเสนอแฟ้มประจําวัน พบว่า ยังมีความล่าช้า ไม่ทันสมัย และบางฉบับสูญหาย ดังนั้น จึงได้พัฒนาโดยนําเทคโนโลยี Google drive มา สนับสนุนการปฏิบัติงาน และออกแบบ Folder ชื่อเอกสารของภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ภายใน Folder จะจัดทํา File ตามภารกิจของอาจารย์และกระบวนการภายหลังการลงทะเบียนรับเอกสารจะ Scan เป็น PDF File เก็บที่ Folder ชื่อ Scan Document หน้า Desktop เอกสารทั้งหมดจะ Upload file ไปเก็บที่ Google drive ตาม Folder ภารกิจที่เกี่ยวข้อง เมื่อดําเนินการเสร็จจะ Copy link ไปวางที่ Notepad ชื่อ Link to Line และ Link to E-mail เป็น pattern ข้อความส่ง Link ทาง Line ส่วนบุคคล เพื่อสะดวกให้คณาจารย์สามารถ Save file และจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลด้านวิชาการได้ทั้งสองทาง


28 3.3 ชื่อผลงาน การจัดทําสารบัญวารสารอิเล็กรอนิกส์ ( E-Current Contents) หน่วยงาน ห้องสมุด ศูนย์ข้อมูลและคลังความรู้ทางการพยาบาล เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ 60 พรรษา ได้ พัฒนาการจัดทําบริการสารบัญวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Current Contents) จากเดิมให้บริการหน้า สารบัญวารสารใหม่ภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ห้องสมุดบอกรับเป็นสมาชิก ในลักษณะของรูปเล่ม ราย 2 เดือน โดยการถ่ายสําเนาหน้าสารบัญวารสารของแต่ละฉบับ แล้วรวบรวมเป็นรูปเล่มเพื่อให้บริการ ในเดือน มิถุนายน 2561 ผู้จัดทําได้พัฒนากระบวนการจัดทําใหม่โดยการค้นหา URL ของวารสารใหม่แต่ละฉบับที่ได้รับในแต่ละเดือน หลังจากนั้นเชื่อมโยง Link เข้ากับชื่อวารสารแต่ละฉบับ และส่งไฟล์ให้แก่ Admin ของ Website ห้องสมุด เพื่อ upload ข้อมูลให้บริการบน Web ภายหลังดําเนินการปรับปรุง พบว่า สามารถลดระยะเวลาในการทํางานจาก 5- 7 วันทําการ เหลือไม่เกิน 2 วันทําการ ลดการใช้กระดาษลงจากประมาณ 100 แผ่น/ครั้ง เหลือ 0 แผ่น ผู้จัดทําได้ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการดังกล่าว จํานวน 3 ครั้ง พบว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในภาพรวมใน ระดับมากที่สุด คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.78


Click to View FlipBook Version