The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

007รายงานวิธีระบบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 620113189007, 2021-02-09 01:18:31

007รายงานวิธีระบบ

007รายงานวิธีระบบ

วธิ รี ะบบทางเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
เรอ่ื ง วธิ รี ะบบ (System Approach)

จดั ทาโดย
นายพงศ์ปณต คาเภา 620113189007

นกั ศกึ ษาชั้นปที ่ี 2 หมูท่ ่ี 1
เสนอ

อาจารย์ กรนารนิ สาริยา
สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การศกึ ษา คณะครศุ าสตร์

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์

คานา

รายงานฉบบั น้จี ดั ทาข้ึนโดยนกั ศกึ ษาสาขาวิชาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศึกษา คณะครุศาสคร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์ ซ่งึ ได้จัดทาขน้ึ เพอื่ เปน็ การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเรอื่ ง วธิ ีระบบ เพอื่ ทาความ
เข้าใจเก่ียวกบั สง่ิ ตา่ งๆทเ่ี ปน็ ระบบมากย่งิ ขนึ้ ในการพฒั นาความรู้รายวชิ า วธิ รี ะบบเทคโนโลยกี ารศึกษา และ
เพ่อื เป็นประโยชนต์ อ่ ผูส้ นใจศึกษาในหัวขอ้ นี้ตอ่ ไป

ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนจ้ี ะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ า่ น หรอื นักเรยี น นักศกึ ษา ท่กี าลงั หาขอ้ มลู เรื่อง
นีอ้ ยู่ หากมีข้อแนะนาหรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไว้และขออภัยมา ณ ท่นี ดี้ ว้ ย

พงศป์ ณต คาเภา
ผจู้ ดั ทา

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้

การวิเคราะหร์ ะบบ 1
- การวเิ คราะหร์ ะบบ 1
- ขนั้ ตอนการวเิ คราะหร์ ะบบ 1
2
วิธรี ะบบ 2
- ระบบ 2
- ลักษณะสาคญั ของวิธรี ะบบ 3
- องค์ประกอบของระบบ 4
4
ลักษณะระบบท่ีดี 5
- ลักษณะของระบบ 5
5
ระบบเปดิ ระบบปดิ 6
- ระบบเปิด 6
- ระบบปิด 6
7
วธิ รี ะบบทนี่ ามาใช้ในการสอน 9
- วิธีระบบ
- ระบบการเรยี นการสอน
- องคป์ ระกอบพืน้ ฐาน

บรรณานุกรม

1

การวิเคราะหร์ ะบบ ( System Analysis )

การวเิ คราะหร์ ะบบ ( System Analysis )
การกระทาหลงั จากผลทไี่ ดอ้ อกมาแล้วเป็นการปรบั ปรุงระบบการทางานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพขึ้นข้อมลู ท่ีได้

จากการประเมนิ ผลและมามาใช้แก้ไขข้อบกพร่องในสว่ นต่าง ๆ หรอื การดูขอ้ มลู ย้อนกับ ( Feedback ) ดังน้ัน
การนาข้อมลู ยอ้ นกลบั มาใช้ในการวิเคราะห์ระบบจึงเปน็ สว่ นสาคัญของวิธีระบบ ( System Approach) ซง่ึ จะ
ขาดองค์ประกอบนไี้ มไ่ ด้มฉิ ะนนั้ จะไมก่ ่อใหเ้ กิดการแกป้ ญั หาไดต้ รงเปา้ หมาย

ขน้ั ตอนของการวิเคราะหร์ ะบบ ( System Analysis )
ประกอบดว้ ย 8 ขั้นตอน ดงั นี้

ขน้ั ท่ี 1 ข้ันตั้งปัญหาหรือกาหนดปญั หา ในข้นั นีต้ อ้ งศึกษาใหถ้ อ่ งแทเ้ สยี กอ่ นว่าอะไรคอื ปญั หา
ขั้นท่ี 2 ข้นั กาหนดเป้าหมายหรอื วัตถุประสงคเ์ พือ่ การแก้ไขปัญหานั้น ๆ วา่ จะให้ได้ผลในทางใดมปี รมิ าณ
และคุณภาพเพียงใดซง่ึ การกาหนดวตั ถุประสงคน์ ีค้ วรคานงึ ถงึ ความสามารถในการปฏบิ ัติและออกมา
ขั้นท่ี 3 ข้นั สร้างเครอื่ งมืดวัดผล การสรา้ งเครือ่ งมอื น้จี ะสรา้ งหลงั จากกาหนดวัตถุประสงคแ์ ลว้ และต้อง
สรา้ งก่อนการทดลองเพอ่ื จะไดใ้ ชเ้ ครื่องมอื นี้ วัดผลไดต้ รงตามเวลาและเป็นไปทุกระยะ
ขั้นที่ 4 คน้ หาและเลอื กวิธกี ารต่างๆ ทีจ่ ะใชด้ าเนนิ การไปสู่เป้าหมายท่วี างไว้ ควรมองด้วยใจกวา้ งขวางและ
เป็นธรรม หลาย ๆแง่ หลาย ๆ มุม พจิ ารณาข้อดีขอ้ เสียตอลดจนขอ้ จากัดตา่ ง ๆ
ขั้นท่ี 5 เลือกเอาวธิ ีท่ดี ที ส่ี ดุ จากข้ันท่ี 4 เพ่อื นาไปทดลองในข้ันต่อไป
ข้นั ท่ี 6 ขน้ั การทาอง เมื่อเลอื กวธิ ีการใดแลว้ กล็ งมอื ปฏิบตั ติ ามวิธีการนัน้ การทดลองนีค้ วรกระทากบั กลมุ่
เลก็ ๆ ก่อนถ้าไดผ้ ลดจี ึงคอ่ ยขยายการปฏิบัตงิ านให้กวา้ งขวางออกไป จะไดไ้ มเ่ สยี แรงงาน เวลาและเงนิ ทอง
มากเกินไป
ขน้ั ท่ี 7 ขน้ั การวัดผลและประเมนิ ผล เมอ่ื ทาการทดลองแลว้ ก็นาเอาเครือ่ งมอื วัดผลทสี่ รา้ งไวใ้ นข้ันที่ 3 มา
วดั ผลเพอ่ื นาผลไปประเมินดูว่า ปฏบิ ัตงิ านสาเรจ็ ตามเป้าหมายเพียงใดยังมีสง่ิ ใดขาดตกบกพร่อง จะไดน้ าไป
ปรบั ปรงุ แก้ไข
ขั้นที่ 8 ขั้นการปรบั ปรงุ และขยายการปฏบิ ตั งิ าน จากการวดั ผลและประเมนิ ผลในข้นั ที่ 7ก็จะทาใหเ้ รา
ทราบวา่ การดาเนนิ งานตามวธิ กี ารที่แล้วมานั้นได้ผลตามวตั ถุประสงคห์ รือไม่ เพียงใด จะไดน้ ามาแก้ไข
ปรับปรงุ จนกว่าจะได้ผลดีจงึ จะขยายการปฏบิ ัตหิ รือยดึ ถือเปน็ แบบอย่างต่อไป

2

วธิ ีระบบ (System Approach)

ระบบ คอื ภาพส่วนรวมของโครงสรา้ งหรือของขบวนการอยา่ งหน่ึงท่ีมกี ารจัดระเบยี บความสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ท่รี วมกันอยใู่ นโครงการหรอื ขบวนการนั้น

ระบบ
ระบบ เป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทใี ชใ้ นการวางแผนและดาเนินการต่าง ๆเพือ่ ใหบ้ รรลผุ ลตาม

จดุ มุ่งหมายทก่ี าหนดไว้ วิธกี ารระบบมีองค์ประกอบทส่ี าคัญ 4 ประการ คือ
1. ข้อมูลวตั ถุดบิ ( Input )
2. กระบวนการ ( Process)
3. ผลผลติ ( Output )
4. การตรวจผลยอ้ นกลบั ( Feedback)
องค์ประกอบทง้ั 4 สว่ นน้ี จะมีความสัมพนั ธ์ต่อเนอ่ื งกัน ดังภาพ

วธิ ีการระบบท่ดี ี จะตอ้ งเปน็ การจัดสรรทรัพยากรทมี่ ีอยู่มาใชอ้ ย่างประหยัดและเหมาะสมกบั
สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ เพื่อให้การทางานเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ บรรลเุ ป้าหมายท่วี างไวถ้ ้าระบบ
ใดมีผลผลิตท้ังในด้านปรมิ าณและคุณภาพมากกวา่ ขอ้ มลู วตั ถุดิบทป่ี ้อนเขา้ ไป กถ็ ือได้วา่ เป็นระบบที่มีคุณภาพ
ในทางตรงข้ามถา้ ระบบมผี ลผลติ ท่ีต่ากวา่ ข้อมลู วตั ถุดิบทีไ่ ปใช้ ก็ถอื ว่าระบบนน้ั มปี ระสทิ ธิภาพต่า

3

ลักษณะสาคัญของวิธรี ะบบ
1. เป็นการทางานรว่ มกันเปน็ คณะของบุคคลท่ีเก่ียวข้องในระบบนน้ั ๆ
2. เป็นการแก้ปัญหาโดยการใช้วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์
3. เป็นการใช้ทรพั ยากรทม่ี อี ยูอ่ ยา่ งเหมาะสม
4. เป็นการแกป้ ัญหาใหญ่ โดยแบง่ ออกเป็นปญั หายอ่ ย ๆ เพอื่ สะดวกในการแกป้ ญั หาอนั จะเป็นผลให้

แก้ปัญหาใหญไ่ ดส้ าเร็จ
5. มงุ่ ใช้การทดลองใหเ้ หน็ จริง
6. เลือกแกป้ ญั หาทพ่ี อจะแกไ้ ขไดแ้ ละเป็นปญั หาเร่งด่วนกอ่ น

องค์ประกอบของระบบ
1. สง่ิ ทปี่ อ้ นเขา้ ไป ( Input ) หมายถึง ส่ิงต่างๆ ทจี่ าเปน็ ตอ้ งใชใ้ นกระบวนการหรอื โครงการตา่ งๆ เชน่ ใน

ระบบการเรียนการสอนในชั้นเรยี น อาจไดแ้ ก่ ครู นกั เรียน ช้นั เรยี น หลกั สูตร ตารางสอน วธิ ีการสอน เปน็ ตน้
ถ้าในเร่อื งระบบหายใจ อาจไดแ้ ก่ จมกู ปอด กระบังลม อากาศ เปน็ ต้น

2. กระบวนการหรอื การดาเนนิ งาน ( Process) หมายถงึ การนาเอาสงิ่ ทป่ี ้อนเขา้ ไป มาจัดกระทาใหเ้ กดิ ผล
บรรลตุ ามวัตถุประสงคท์ ่ตี ้องการ เช่น การสอนของครู หรอื การใหน้ กั เรยี นทากจิ กรรม เป็นต้น

3. ผลผลิต หรอื การประเมนิ ผล (Output) หมายถึง ผลทีไ่ ดจ้ ากการกระทาในขน้ั ที่สอง ไดแ้ ก่ ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นของนกั เรยี นหรอื ผลงานของนกั เรยี น เป็นต้น

4. ขอ้ มูลย้อนกลบั ผลท่ีไดจ้ ากการกระทาในขน้ั ทส่ี อง การวเิ คราะหร์ ะบบ (System Analysis) การ
วเิ คราะหร์ ะบบ เปน็ วธิ กี ารนาเอาผลทไ่ี ด้ ซง่ึ เรียกว่า ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั (Feed Back) จากผลผลิตหรือการ
ประเมินผลมาพจิ ารณาปรบั ปรงุ ระบบใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ขนึ้

4

ลกั ษณะของระบบทดี่ ี

ทมี่ า: https://sites.google.com/site/rabbsarsnthestabsiam/laksna-khxng-rabb-sarsnthes-thi-di
ระบบท่ีดีตอ้ งสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ (Efficiency)และมคี วามยงั่ ยืน (sustainable) ตอ้ ง
มลี ักษณะ 4 ประการคอื
1. มีปฏสิ ัมพันธก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม ( interact with environment )
2. มีจุดหมายหรอื เปา้ ประสงค์ ( purpose)
3. มีการรกั ษาสภาพตนเอง (self-regulation)
4. มีการแก้ไขตนเอง ( self-correction )
1. ปฏิสัมพันธ์กบั สิง่ แวดลอ้ ม (interact with environment) ระบบทกุ ๆ ระบบจะมปี ฏสิ มั พันธไ์ ม่ทางใด
กท็ างหนงึ่ กบั โลกรอบ ๆตัว ของระบบ โลกรอบ ๆตัวนี้ เรยี กวา่ "สิง่ แวดล้อม" การทร่ี ะบบมปี ฏสิ มั พันธ์กบั
สิง่ แวดลอ้ มนี้เอง
2. ระบบจะตอ้ งมจี ดุ มงุ่ หมายที่ชดั เจนแน่นอนสาหรับตวั ของมนั เอง ระบบทเี่ กดิ ขึ้นตามธรรมชาติ เช่น
ระบบการดาเนินชีวิตของมนษุ ยน์ นั้ ก็มจี ดุ มุ่งหมายสาหรบั ตวั ของระบบเอง
3. มีการรกั ษาสภาพตนเอง (self-regulation) คือ การทรี่ ะบบสามารถรักษาสภาพของตวั เองให้อยใู่ น
ลักษณะท่ีคงทีอ่ ยู่เสมอ การรกั ษาสภาพตนเองทาได้โดยการแลกเปลี่ยนอนิ พทุ และเอาท์พดุ กนั ระหวา่ ง
องค์ประกอบต่าง ๆของระบบหรอื ระบบย่อย
4. มกี ารแก้ไขตนเอง (self-correction) คือ มกี ารแก้ไขและปรบั ตัวเอง ในการท่รี ะบบมปี ฏิสมั พันธก์ บั
สภาพแวดลอ้ มบางครง้ั ปฏสิ มั พนั ธ์นัน้ กจ็ ะทาใหร้ ะบบการรกั ษาสภาพตวั เอง ตอ้ งย่าแย่ไป ระบบก็ตอ้ งมกี าร
แก้ไขและปรบั ตวั เองเสียใหม่

5

ระบบเปดิ และระบบปดิ

ทมี่ า: chiangmaiaircare.com/แนวคดิ -แบบจาลอง-และกฎ-เทอร์โมไดนามิคส์-และ-การถา่ ยเทความร้อน/

1. ระบบเปดิ (Open System) คอื ระบบท่ีรบั ปจั จัยนาเขา้ จากสง่ิ แวดล้อม และขณะเดียวกนั กส็ ง่ ผลผลิต
กลบั ไปใหส้ ่งิ แวดล้อมอกี ครงั้ หนงึ่ ตวั อยา่ งระบบเปิดทว่ั ๆ ไป เช่น ระบบสงั คม ระบบการศึกษา

ทม่ี า: http://119.46.166.126/self_all/selfaccess11/m5/chemistry5_2/lesson2/more/page22_4.php

2. ระบบปิด (Close System) คือ ระบบทมี่ ไิ ดร้ บั ปจั จัยนาเข้าจากส่งิ แวดล้อม หรอื รับปจั จัยนาเข้าจาก
สิ่งแวดลอ้ มน้อยมากแต่ขณะเดยี วกันระบบปดิ จะผลิดเอาทพ์ ทุ ใหก้ บั สง่ิ แวดล้อมดว้ ย เช่น ระบบของ
ถ่านไฟฉาย ตัวถ่านไฟฉายหรอื แบตเตอรน่ี ้นั ถูกสรา้ งขนึ้ มาใหม้ ีไฟฟ้าสะสมอยู่ในตัวภายในกม็ รี ะบบยอ่ ยอกี
หลายระบบ โดยระบบปดิ จะมีอายุสนั้ กวา่ ระบบเปิด

6

วธิ รี ะบบท่นี ามาใชใ้ นการสอน

ประกอบด้วยขั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. การประเมนิ ความจาเป็น
2. การเลอื กทางแกป้ ญั หา
3. การตง้ั จดุ มุ่งหมายทางการสอน
4. การวเิ คราะห์งานและเนื้อหาทจ่ี าเปน็ ตอ่ ผลสมั ฤทธติ์ ามจดุ มุ่งหมาย
5. การเลอื กยุทธศาสตรก์ ารสอน
6. การลาดบั ขั้นตอนของการสอน
7. การเลอื กสื่อ
8. การจัดหรือกาหนดแหลง่ ทรพั ยากรทจ่ี าเปน็
9. การทดสอบ และ/หรอื ประเมนิ คา่ ประสิทธิภาพของแหลง่ ทรพั ยากรเหลา่ นน้ั
10. การปรบั ปรงุ แก้ไขแหลง่ ทรัพยากรจนกว่าจะเกิดประสิทธภิ าพ
11. การเดนิ ตามวฏั จักรของกระบวนการทง้ั หมดซ้าอีก

ระบบการเรยี นการสอน
ระบบการเรียนการสอน คอื การจัดองคป์ ระกอบของการเรยี นการสอนให้มีความสมั พันธ์กนั

เพอ่ื สะดวกต่อการนาไปสจู่ ดุ หมายปลายทางของการเรยี นการสอนท่ไี ดก้ าหนดไว้
องค์ประกอบของระบบการเรยี นการสอน

ระบบการเรยี นการสอนประกอบดว้ ยส่วนยอ่ ยๆ ตา่ ง ๆ ซ่งึ มคี วามเกยี่ วพนั กนั และกัน ส่วนทสี่ าคญั คอื
กระบวนการเรียนการสอน ผูส้ อนและผู้เรยี นยูเนสโก ( UNESCO ) ไดเ้ สนอรปู แบบขององคป์ ระกอบของระบบ
การเรียนการสอนไว้ โดยมอี งคป์ ระกอบ 6 ส่วน คือ

1. องค์ประกอบของการสอนจะประกอบด้วย ผสู้ อน ผู้เรยี น ส่อื การเรยี นการสอนวิธสี อนซ่งึ ทางาน
ประสานสมั พันธก์ ัน อันจะเปน็ พาหะหรอื แนวทางผสมกลมกลืนกบั เน้ือหาวชิ า

2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน จะต้องมีสอ่ื การเรียนการสอนและแหลง่ ทมี่ าของสอ่ื การเรยี นการสอน
3. ผู้สอนต้องหาแนวทาง แนะนาช่วยเหลอื ผ้เู รียนใหเ้ กดิ การเรียนรู้ท่ีดีทส่ี ดุ
4. การเสรมิ กาลงั ใจ การจูงใจแก่ผเู้ รยี น นบั ว่ามีอิทธพิ ลต่อการท่จี ะเสรมิ สรา้ งความสนในการเรียน
5. การประเมนิ ผล ผลทอี่ อกมาอย่างมีประสทิ ธิภาพโดยการประเมนิ ทงั้ ระบบเพื่อดวู ่าผลเปน็ อย่างไร
6. ผลทีไ่ ดร้ บั ทงั้ ประเมิน เพื่อประเมนิ ผลในการปรบั ปรงุ และเปรยี บเทยี บกบั การลงทนุ ในทางการศึกษาวา่
เป็นอยา่ งไร นอกจากนี้

7

ตัวป้อน ( Input ) หรอื ปจั จยั นาเข้าระบบ คอื ส่วนประกอบตา่ งๆ ท่ีนาเข้าสูร่ ะบบได้แก่ ผูส้ อน ผู้สอน
ผู้เรยี น หลกั สตู ร สิง่ อานวยความสะดวก

ผู้สอน หรือครู เปน็ องค์ประกอบสาคญั ที่จะทาใหก้ ารเรียนการสอนบรรลผุ ลตามวัตถปุ ระสงค์
ซง่ึ ขึ้นอย่กู บั คุณลกั ษณะหลายประการได้แก่คณุ ลักษณะด้านพทุ ธิพสิ ัย เช่น ความรู้ ความสามารถ ความรู้
จาแนกเปน็ ความรู้ในเนื้อหาสาระท่ีสอน ความรู้ในเทคนิคการสอนต่าง ความต้ังใจในการสอน

ผูเ้ รียน ผ้เู รยี นเปน็ องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ทส่ี ดุ ในระบบการเรยี นการสอนซึ่งจะบรรลผุ ลสาเรจ็ ได้ยอ่ มขน้ึ อยู่
กับคุณลักษณะของผเู้ รยี นหลายประการ

หลกั สูตร หลกั สูตรเปน็ องคป์ ระกอบหลักทีจะทาใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้ หลักสูตรประกอบดว้ ย
องคป์ ระกอบพน้ื ฐาน 4 ประการคอื

- วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้
- เนื้อหาสาระท่เี รยี น
- กจิ กรรมการเรียนการสอน (รวมวธิ ีสอนและส่อื การเรียนการสอน) และ
- การประเมนิ ผล

8
กระบวนการ (Process )

1. ในระบบการเรยี นการสอนก็คอื การดาเนินการสอนซง่ึ เปน็ การนาเอาตวั ปอ้ น เป็นวตั ถุดิบในระบบมา
ดาเนินการเพือ่ ใหเ้ กิดผลผลติ ตามที่ต้องการ ในการดาเนนิ การสอนอาจมกี ิจกรรมตา่ งๆ หลายกจิ กรรม ไดแ้ ก่
การตรวจสอบและเสริมพ้นื ฐานการสร้างความพรอ้ มในการเรยี น การใชเ้ ทคนคิ การสอนต่าง ๆ

2. การสรา้ งความพรอ้ มในการเรียน เมอื่ เรม่ิ ช่วั โมงเรยี น โดยทั่วไปแลว้ จะมผี เู้ รยี นที่ยังไมพ่ ร้อมทจ่ี ะเรยี น
เชน่ พูดคุยกนั คิดถงึ เรอ่ื งอนื่ ๆ ฯลฯ ถ้าผสู้ อนเรม่ิ บรรยายไปเรอื่ ยๆ อาจไม่ไดผ้ ลตามที่ต้องการโดยเฉพาะ
ในชว่ งต้นชวั่ โมงนนั้ จงึ ควรดงึ ความสนใจของผู้เรยี นใหเ้ ข้าสู่การเรยี นโดยเรว็ ซง่ึ ทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่ ใช้คาถามใช้
สื่อโสตทศั นูปกรณช์ ว่ ยเร้าความสนใจ

3. การใช้เทคนคิ การสอนตา่ งๆ ควรทาการสอนโดยใช้เทคนิค วธิ กี าร และกจิ กรรมตา่ ง ๆ หลาย ๆวธิ ี
การใชก้ ิจกรรมเสรมิ วธิ ีสอนแตล่ ะวิธหี รอื รปู แบบการสอนแตล่ ะรปู แบบจะมีกจิ กรรมแตกต่างกันไปผู้สอนควร
พจิ ารณากจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีจะเสรมิ กับวิธสี อน
ผลผลติ (Output )
ผลผลิต คอื ผลทเ่ี กิดขนึ้ ในระบบซงึ่ เป็นเป้าหมายปลายทางของระบบ สาหรบั ระบบการเรยี นการสอนผลผลิตท่ี
ตอ้ งการกค็ ือ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมของผเู้ รียนไปในทางท่พี งึ ประสงค์ เปน็ การพัฒนาที่ดใี นดา้ น

-พทุ ธพิ ิสัย ( Cognitive )
-จิตพิสัย ( Affective )
-ทกั ษะพสิ ัย ( Psychomotor )
การติดตามผล ประเมนิ ผล และปรบั ปรุง เพอื่ ใหก้ ารเรยี นการสอนบรรลผุ ลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพผ้สู อน
จะตอ้ งพจิ ารณาองคป์ ระกอบตา่ ง ๆทง้ั หมดในระบบ โดยพจิ ารณาผลผลติ ว่าไดผ้ ลเปน็ ไปดงั ทม่ี งุ่ หวงั ไวห้ รือไม่มี
จดุ บกพร่องในส่วนใดท่ีจะต้องแก้ไข ปรบั ปรุงบา้ ง

9

บรรณานกุ รม

ฉลอง ทับศรี. (2542). การออกแบบการเรยี นการสอนวชิ า การออกแบบการเรียนการสอน (423511).
มหาวิทยาลัยบูรพา. เอกสารการสอน

บุญเกือ้ ควรหาเวช. (2543). นวตั กรรมการศกึ ษา.(พมิ พ์คร้ังท่ี 5). กรงุ เทพฯ:SR Printing.
Senarak. (2558). วิธรี ะบบ (System Aproach), [ระบบออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า
https://senarak.tripod.com/system.htm


Click to View FlipBook Version