The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by doung9, 2021-09-19 11:53:52

คู่มือครู ป.6

คู่มือครู ป.6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 4เวลา ชั่วโมง

การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. มาตรฐาน/ตัวชี้วดั

ตวั ช้วี ัด
ว 4.2 ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท�ำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของ

ผอู้ ื่น แจง้ ผเู้ ก่ียวข้องเม่ือพบขอ้ มูลหรือบคุ คลทไ่ี ม่เหมาะสม

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. ประเมินและรเู้ ทา่ ทันการใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต (K)
2. ใชง้ านอนิ เทอร์เน็ตไดอ้ ยา่ งรู้เท่าทันและรบั ผิดชอบ (P,A)

3. สาระการเรียนรู้

- อันตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรมทางอินเทอรเ์ น็ต แนวทางในการปอ้ งกนั
- วิธีกำ� หนดรหสั ผ่าน
- การกำ� หนดสิทธ์ิการใชง้ าน (สิทธ์ใิ นการเข้าถงึ )

4. สาระส�ำคัญ/ความคิดรวบยอด

อนั ตรายจากการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี ชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ ในรปู แบบตา่ ง ๆ และแนวทางในการปอ้ งกนั อนั ตราย
จากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ซงึ่ รวมถงึ การกำ� หนดรหสั ผา่ น และการกำ� หนดสทิ ธใิ์ นการใชง้ าน รวมทงั้ อนั ตรายจากการตดิ ตงั้
ซอฟแวร์ และแนวทางในการตรวจสอบและปอ้ งกนั มลั แวร์ ซงึ่ เปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ขอ้ มลู ซอฟตแ์ วรแ์ ละอปุ กรณ์
เทคโนโลยไี ด้

5. สมรรถนะสำ� คัญของผ้เู รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

สมรรถนะสำ� คญั ของผูเ้ รียน ทกั ษะ 4Cs คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. ทักษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ 1. มีวินัย
2. ความสามารถในการคดิ (Critical Thinking) 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3. มุง่ มั่นในการท�ำงาน
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 2. ทกั ษะการทำ� งานรว่ มกัน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (Collaboration Skill)

3. ท ักษะการสือ่ สาร
(Communication Skill)

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : วิธีการสอนโดยใชบ้ ทบาทสมมติ วธิ ีการสอนโดยใชก้ ารอภิปรายกลุม่ ย่อย

และวธิ ีการสอนโดยใชเ้ ทคนคิ ตามแนวคดิ เชงิ ค�ำนวณ

T142

นำ� นำ� สอน สรปุ ประเมนิ

แบบทดสอบก่อนเรียน ขน้ั นำ�

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 1. ค รูให้นักเรียนภายในช้ันเรียนท�ำแบบทดสอบ
ก่อนเรียน เรอ่ื ง ความปลอดภัยในการใช้งาน
คาช้แี จง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเป็นการทบทวน
ความรู้ และวัดพื้นฐานความรู้ก่อนที่จะเริ่ม
1. ปลาสแกนหนังสือการต์ นู ที่ซ้อื มา แลว้ สง่ ใหเ้ พ่อื นทางสื่อ 6. ข้อใดไม่ใช่ขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นการใชง้ านรหสั ผ่าน เรียนเนอื้ หาใหม่
สงั คมออนไลน์ แสดงว่าปลาเข้าข่ายกอ่ อนั ตรายจากการ ก. เปลี่ยนรหัสผ่านทกุ ๆ 2-3 เดอื น
ใช้งานอินเทอร์เน็ตข้อใด ข. ไม่เปดิ เผยรหสั ผา่ นให้ผู้อน่ื รับทราบ
ก. การลอ่ ลวงเยาวชน ค. ตงั้ รหสั ผ่านทีแ่ ตกตา่ งกันในแต่ละบญั ชผี ใู้ ช้
ข. การเผยแพรข่ ้อมลู ท่ีไมเ่ หมาะสม ง. บนั ทึกรหัสผ่านแบบอตั โนมัตลิ งบนเบราว์เซอร์
ค. การหลอกลวงแบบฟชิ ชง่ิ (Phising)
ง. การก่ออาชญากรรมทางอนิ เตอรเ์ นต็ 7. ขอ้ ใดนิยามรปู แบบการกาหนดสิทธใ์ิ นการใชง้ านถูกต้อง
ก. Write คอื การให้สิทธิ์ในการแก้ไขไฟลข์ ้อมลู
2. ขอ้ ใดไม่เขา้ ขา่ ยการหลอกลวงแบบฟิชช่ิง (Phising) และลบไฟล์
ก. แอ้มไดร้ บั อเี มลจากคนท่ีไมร่ ูจ้ ัก โดยแจง้ ใหค้ ลกิ ข. Read คือ การใหส้ ิทธิใ์ นการอ่านไฟล์ขอ้ มลู และ
ลิงกเ์ พ่ือรับเงนิ รางวัล ลบไฟล์
ข. ป้อนพบว่ามีขอ้ ความโฆษณาขึ้นทหี่ นา้ จอ ค. Modify คือ การใหส้ ทิ ธ์ใิ นการปรบั ปรุง
บ่อย ๆ หลังเขา้ ใชอ้ นิ เตอรเ์ นต็ ในคอมพวิ เตอร์ ไฟล์ขอ้ มลู
ค. อเี มลจากสือ่ สงั คมออนไลน์แจง้ ปาลม์ มาว่ามี ง. Full Control การให้สิทธใิ์ นการทางานทกุ
คนพยายามเข้าใชบ้ ัญชี และใหป้ าลม์ กรอก อย่าง ยกเว้นเปลย่ี นชอ่ื ไฟล์
รหสั ผ่านเพอ่ื เปลี่ยนรหสั ผา่ นใหม่
ง. กิฟไดร้ ับอเี มลแจ้งให้เขา้ ไปล็อคอนิ เพื่อรบั คู 8. ข้อใดคอื นิยามท่ถี กู ต้องของมัลแวร์
ปองเงินสดจากเวบ็ ไซต์ที่เข้าใช้งานเปน็ ประจา ก. สปายแวร์ เปน็ โปรแกรมทีแ่ อบขโมยข้อมลู
แต่พบว่าชื่อเว็บไซต์แตกตา่ งจากทเี่ คยเข้าใช้ ระหวา่ งใช้งานคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ นาไปใช้แสวงหา
งาน ผลประโยชนต์ ่างๆ
ข. เวริ ม์ เปน็ โปรแกรมทแี่ ฝงมากับโปรแกรมท่วั ไป
3. ข้อใดไม่เขา้ ข่ายการกระทาผดิ ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่แสดงโฆษณาอยา่ งต่อเนอื่ ง
ก. เผยแพรเ่ น้ือหาที่ไม่เหมาะสม ค. มา้ โทรจัน เป็นโปรแกรมทขี่ ัดขวางการเขา้ ถงึ
ข. เผยแพรภ่ าพตดั ต่อของตวั เอง ขอ้ มูลจนกว่าผ้ใู ชจ้ ะจา่ ยเงินให้ผเู้ รยี กคา่ ไถ่
ค. เผยแพร่วิธีการเข้าถึงระบบคอมพวิ เตอรข์ อง ง. ถูกทุกขอ้
ผูอ้ น่ื
ง. เขา้ ถึงข้อมลู ของผู้อน่ื โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต 9. ข้อใดเป็นอาการของคอมพวิ เตอรท์ ่ีไม่ไดเ้ กิดจากปญั หา
มัลแวร์
4. ข้อใดไมใ่ ช่แนวทางในการปอ้ งกันอนั ตรายจากการใช้งาน ก. หนา้ จอกระพรบิ และส่นั
อินเทอรเ์ น็ต ข. เปิดเคร่ืองคอมพวิ เตอรไ์ ม่ได้
ก. ไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มูลส่วนตวั ค. คอมพิวเตอรท์ างานช้า และมีข้อความ/
ข. ตงั้ รหัสผา่ นในการเขา้ สรู่ ะบบ โฆษณาแปลกๆ
ค. ไม่บอกรหสั ผา่ นในการเข้าสู่ระบบกบั ผอู้ ืน่ ง. ขอ้ ก และ ข ถูกตอ้ ง
ง. ปรึกษาปัญหาส่วนตัวกับผ้เู ชย่ี วชาญที่พบผ่าน
สอื่ สงั คมออนไลน์ 10. ขอ้ ใดเปน็ แนวทางในการปอ้ งกันมลั แวร์
ก. เรียกใชง้ านโปรแกรมตรวจจบั มลั แวร์ใน
5. ขอ้ ใดเปน็ การต้งั รหสั ผา่ นทม่ี คี วามปลอดภัยต่า คอมพวิ เตอร์
ก. NA2540 ข. สงั เกตความเร็วในการทางานของ
ข. 7UfPe_3891 คอมพิวเตอร์
ค. Tww00@74060 ค. ลบไฟลง์ านทีไ่ ม่ใช้งานอย่างสมา่ เสมอ
ง. M1Ab!8750 ง. ข้อ ก และ ข ถูกตอ้ ง

เฉลย
1. ง 2. ค 3. ข 4. ง 5. ก 6. ง 7. ค 8. ก 9. ก 10. ง

ภาพจาก

แผนการสอน ท่ี 1

หนว่ ยที่ 41

ขอ้ สอบเนน้ การคิด

ข้อใดเป็นการป้องกันตนเองจากปัญหาอาชญากรรมทาง
อนิ เทอรเ์ น็ต
1. เปดิ ไฟล์จากอเี มลทไ่ี ม่รจู้ ัก
2. ปิดไฟลท์ ุกครัง้ หลงั เลกิ ใช้งาน
3. ต้งั รหสั ผ่านเข้าสูเ่ คร่ืองคอมพิวเตอร์
4. แชร์ที่อยขู่ องตนเองลงบนโซเชยี ลมีเดีย
(วเิ คราะหค์ ำ� ตอบ จากตัวเลือกท่ีก�ำหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า ข้อท่ีเป็นการป้องกันตนเองจากปัญหาอาชญากรรมทาง
อินเทอร์เน็ต คือ การต้ังรหัสผ่านเข้าสู่คอมพิวเตอร์  ดังน้ัน
ตอบขอ้ 3.)

T143

นา� น�า สอน สรปุ ประเมนิ

ขนั้ นำ� 4˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹¡ÒÃ㪧Œ Ò¹
à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È
2. ครถู ามคา� ถามกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี น
ว่า นักเรียนรู้จักเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไม่
แลว้ ในชวี ติ ประจา� วนั นกั เรยี นเกยี่ วขอ้ งกบั การ
ใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างไรบา้ ง
(แนวตอบ ค�าตอบของนักเรียนขึ้นอยู่กับ
ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ู้สอน เชน่ การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการคน้ หาขอ้ มลู เพอื่ ทา� รายงาน)

3. ครูถามค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้กับ
นกั เรยี นว่า นักเรียนมวี ิธีการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างไรใหป้ ลอดภัย

¹Ñ¡àÃÕ¹ÁÕÇ¸Ô Õ¡ÒÃ㪧Œ Ò¹
à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È
Í‹ҧäÃãË»Œ ÅÍ´ÀÂÑ

แนวตอบ คำ� ถำมประจำ� หนว ยกำรเรยี นรู ตัวชว้ี ัด

ค�าตอบของนักเรียนขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ ว 4.2 ป.6/4 ใ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศท�างานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิ
ครูผู้สอน เช่น ไม่เผยแพร่ข้อมูลท่ีไม่เหมาะสม ของผูอ้ ่ืน แจง้ ผ้เู กี่ยวข้องเมือ่ พบข้อมลู หรอื บคุ คลที่ไม่เหมาะสม
ไม่เปดเผยข้อมูลส่วนตัว ติดตั้งโปรแกรมป้องกัน
ไวรัส ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 82

เกร็ดแนะครู

ในการเรียนการสอน เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศ ครอู าจตอ้ งอธบิ ายใหน้ กั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั อนั ตรายจากการ
ใช้งานอินเทอร์เน็ต แนวทางในการปอ งกันอนั ตรายจากการใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็
การกา� หนดรหสั ผา่ น การกา� หนดสทิ ธใิ์ นการเขา้ ใชง้ าน และการตดิ ตงั้ ซอฟตแ์ วร์
จากอินเทอรเ์ น็ต

T144

นา� น�า สอน สรปุ ประเมนิ

4 ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹¡ÒÃ㪧Œ ҹ˹‹Ç¡ÒÃàÃչ̷٠èÕ ตวั ช้ีวดั ว 4.2 ป.6/4 ขนั้ นำ�

à·¤â¹âÅÂÊÕ ÒÃʹà·È 4. นักเรียนท�ากิจกรรมลองท�าดู ในแบบฝกหัด
ลองทาํ ดู หน้า 62 เพื่อเป็นการน�าเข้าสู่บทเรียนก่อน
การเรียนการสอน เร่อื ง ความปลอดภัยในการ
รูจกั กนั ผานแอปพลเิ คชนั เพียง 7 วนั ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้นักเรียน
หลอกยืมเงินแลวติดตอ กลับไมไ ด พจิ ารณาบทความทกี่ า� หนดให้ แลว้ ตอบคา� ถาม
ลงในแบบฝกหดั
หญิงสาววัยรุนรูจักเพื่อนหนุมผานแอปพลิเคชัน หญิงสาว
รายนี้ไดพูดคุยกันผานแอปพลิเคชันกับชายหนุมเปนเวลา 7 วัน 5. ครแู ละนกั เรยี นพดู คยุ กนั เกย่ี วกบั อนั ตรายจาก
ชายหนุมไดบอกกับหญิงสาววาตนเองปวยหนัก พรอมสงภาพถาย การใช้งานอินเทอร์เน็ต โดยครูเปิดวีดิทัศน์
วาตนเองอยูโรงพยาบาล และขอยืมเงินของหญิงสาวเพ่ือนําไปจาย ที่น�าเสนอปญหาและอันตรายจากการใช้งาน
เฉฉบลับย คา รกั ษาพยาบาล โดยอา งวา ตนเองไมไ ดน าํ เงนิ ตดิ ตวั มาและจะคนื เงนิ อนิ เทอรเ์ น็ตใหน้ กั เรียนในชัน้ เรียนดู และถาม
ใหภายหลงั จากออกจากโรงพยาบาลแลว ฝา ยหญงิ สาวจงึ โอนเงินให คา� ถามกบั นกั เรยี นเพอื่ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดง
เพราะเชอ่ื ใจ และหลังจากนน้ั ก็ไมส ามารถติดตอชายหนมุ คนนไี้ ดอ ีก ความเห็นและบันทกึ ลงสมดุ ตามหวั ข้อ ดังน้ี
1) ปญหาและอันตรายจากการใช้งาน
1. ปญหาของเร่ืองนี้คอื อะไร อนิ เทอร์เน็ตจากวดี ิทัศนค์ ืออะไร
2) สาเหตุของปญหาและอันตรายจากการ
ปญหาการถูกหลอกจากคนทรี่ จู กั กันผา นแอปพลเิ คชันในระยะเวลา................................................................................................................................................................................................................................... ใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ จากวีดิทัศน์คืออะไร
เพยี ง 7 วัน...................................................................................................................................................................................................................................
6. ครูบอกนักเรียนว่า นอกจากตัวอย่างอันตราย
2. ถา มีคนรูจักผา นแอปพลิเคชนั ขอยมื เงนิ นักเรียนจะใหยืมหรือไม จากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ทค่ี รเู ปดิ ใหน้ กั เรยี น
เพราะเหตุใด ดูแล้ว นักเรียนรู้หรือไม่ว่า ยังมีอันตรายจาก
การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ อกี หลายรปู แบบ ซง่ึ เรา
ควรสอบถามขอ มลู ใหชัดเจนและปรึกษาพอแมหรอื ผูปกครองกอ น................................................................................................................................................................................................................................... จะไดเ้ รยี นรกู้ นั ในบทเรยี นเรอ่ื ง ความปลอดภยั
ตัดสินใจ................................................................................................................................................................................................................................... ในการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ

3. นักเรียนคิดวา จะปองกันหรอื แกป ญหานี้ไดอ ยา งไร

ศกึ ษาขอมลู แนวทางการปองกนั อันตรายจากการใชง านอินเทอรเน็ต...................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................

62

ภาพจาก

แบบฝกหัด
หนา้ ท6ี่ 42

ขอ้ สอบเนน้ การคิด เกร็ดแนะครู

บุคคลใดปฏิบตั ิตนถูกตอ้ งเก่ียวกับการใชง้ านอินเทอรเ์ นต็ ในการท�ากิจกรรมลองท�าดู ในแบบฝกหัด หน้า 62 ครูอาจสุ่มตัวแทน
1. ก้อยใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตหลอกลวงบคุ คลอ่ืน นกั เรยี น 1 คน ออกมาอา่ นบทความทก่ี า� หนดใหเ้ พอื่ นนกั เรยี นในชน้ั เรยี นฟง กอ่ น
2. น้อยใช้อินเทอร์เนต็ โหลดเพลงมาขาย จากนั้นจึงให้นักเรียนลงมือท�าแบบฝกหัด เพื่อเป็นการน�าเข้าสู่บทเรียนก่อน
3. นดิ ใช้อินเทอร์เนต็ ติดตอ่ สอ่ื สารกบั เพือ่ น การเรยี นการสอน โดยท่ีครไู ม่จา� เป็นตอ้ งสนใจคา� ตอบของนกั เรียนว่า นักเรียน
4. โปง ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตขายสินค้าผดิ กฎหมาย แตล่ ะคนตอบผิดหรือตอบถกู แตห่ ลังจากทีน่ ักเรียนตอบค�าถามแล้วครูอาจต้อง
มีการเฉลยค�าตอบทีถ่ กู ตอ้ งใหก้ ับนักเรยี นดว้ ย
(วิเคราะห์ค�าตอบ จากตัวเลือกที่ก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า การท่ีนิดใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารกับเพื่อน
เป็นการใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ตทถี่ กู ต้อง ดงั น้ัน ตอบข้อ 3.)

T145

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน อนั ตรายจากการ 1. ¡ÒÃ㪧Œ ҹ෤â¹âÅÂÕ
ใชง านเทคโนโลยี ÊÒÃʹà·È
1. ครูถามค�าถามส�าคัญประจ�าหัวข้อกับนักเรียน
ว่า อันตรายจากการใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
สารสนเทศมอี ะไรบา้ ง มอี ะไรบา ง Technology: IT) คอื การประยกุ ต ์ใชค้ อมพวิ เตอร์
และอปุ กรณ ์โทรคมนาคม (เทคโนโลย)ี เพอื่ จดั เกบ็
2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟงว่า การใช้งาน ค้นหา ส่งผ่าน และประมวลผลข้อมูล ซึ่งข้อมูลท่ีถูกประมวลผล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการประยุกต์ใช้ เรียบร้อยแล้วจะเรยี กว่า สารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ
เพ่ือจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และประมวลผล 1.1 อันตรายจากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ต
ข้อมูล
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ต
3. ครูบอกกับนักเรียนว่า อินเทอร์เน็ตเป็น ชว่ ยใหผ้ ู้ใชง้ านสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารและเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ ง ๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างหน่ึงที่นักเรียน ได้สะดวกและรวดเร็ว แต่ในทางกลับกันหากใช้งานอินเทอร์เน็ต
คุ้นเคยมากท่ีสุดซึ่งอันตรายที่เกิดขึ้นบ่อยจาก อยา่ งไมร่ ะมดั ระวงั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกผ่ ู้ใชง้ านได ้ โดยอนั ตราย
การใช้งานอินเทอร์เน็ต ได้แก่ การเผยแพร่ ทีเ่ กดิ ขึ้นบ่อยครง้ั จากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ต มดี ังน้ี
ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม การล่อลวงเยาวชน
การหลอกลวงแบบฟิชชิง (Phishing) การก่อ
อาชญากรรมทางอินเทอร์เนต็ และการกระทา�
ผิดกฎหมายโดยรูเ้ ท่าไมถ่ ึงการณ์

การเผยแพร่ข้อมูล การลอ่ ลวงเยาวชน การหลอกลวง
ทีไ่ ม่เหมาะสม แบบฟช ชงิ
(Phishing)

แนวตอบ คำ� ถำมสำ� คญั ประจำ� หวั ขอ การกอ่ การกระทา� ผิด
อาชญากรรมทาง กฎหมายโดยรู้
ค�าตอบของนักเรียนขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ เทา่ ไม่ถึงการณ์
ครูผู้สอน เช่น การกระท�าผิดกฎหมายโดยรู้เท่า อินเทอร์เน็ต
ไมถ่ ึงการณ์ การกอ่ อาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ น็ต 83
ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 83

ความรูเสริม ขอ้ สอบเน้น การคิด

ระบบสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบหลกั 5 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ บุคคลใดปฏิบัติตนเปน็ การกออาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
1. บคุ ลากร คือ ผู้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. น่มิ คัดลอกผลงานของเพ่อื นแล้วน�าไปส่งครู
2. ข้ันตอนการปฏิบัติ คือ วิธีการปฏิบัติงานในการเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ 2. นทั เผยแพร่วดิ โี อการท�าอาหารลงบนลงบนอินเทอรเ์ น็ต
ในรูปแบบท่สี ามารถทา� ให้เป็นสารสนเทศได้ 3. นวิ ใชค้ อมพิวเตอร์ของเพือ่ นเพอ่ื สบื คน้ ข้อมลู ใน
3. ฮารด์ แวร์ คอื อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการประมวลผลขอ้ มลู เพอ่ื สรา้ งสารสนเทศ อินเทอรเ์ นต็
4. ซอฟตแ์ วร์ คอื โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ 4. แนนถ่ายรูปเพ่อื นแลว้ ส่งต่อไปยงั บคุ คลอนื่ โดยไม่ไดร้ ับ
5. ข้อมูล คอื ข้อเท็จจริงหรอื เรอื่ งราวทสี่ ามารถเชือ่ ถือหรอื ตรวจสอบได้ อนญุ าต

(วเิ คราะหค์ า� ตอบ จากตัวเลือกท่ีก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า บุคคลท่ีปฏิบัติตนเป็นการก่ออาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
คือ นิ่มคัดลอกผลงานของเพอื่ นและน�าไปส่งคร ู ซ่ึงเปน็ การขโมย
ผลงานของผูอ้ ่นื ดงั นั้น ตอบข้อ 1.)

T146

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ÍѹµÃÒ¨ҡ¡ÒÃ㪌§Ò¹Í¹Ô à·ÍÃà ¹µç ขนั้ สอน

1 การเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม เป็นการใช้ 4. นักเรียนศึกษารายละเอียดเก่ียวกับอันตราย
อนิ เทอรเ์ น็ตในการเผยแพร่ข้อมูลที่ผิดกฎหมาย เชน่ จากการใช้งานอินเทอร์เน็ต ในหนังสือเรียน
ข้อมูลอันเป็นเท็จหรือท�าให้ผู้อ่ืนได้รับความเสียหาย หนา้ 84
และเสื่อมเสียชือ่ เสยี ง
5. ครูถามค�าถามกับนักเรียนว่า นักเรียนเคยพบ
ปญหาเกี่ยวกับอันตรายท่ีเกิดจากการใช้งาน
อินเทอรเ์ นต็ ของตนเองหรือไม่
(แนวตอบ ค�าตอบของนักเรียนข้ึนอยู่กับ
ประสบการณ์ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตหรือ
เทคโนโลยสี ารสนเทศของนักเรยี น)

การลอ่ ลวงเยาวชน ปญั หาของการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็

4 เพ่ือล่อลวงเด็ก โดยเฉพาะการพูดคุยในโปรแกรม

8

2สนทนาผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ทน่ี า� ไปสกู่ ารนดั พบกนั ของ

คสู่ นทนาซ่ึงไม่เคยเหน็ หนา้ กนั มากอ่ น

3 การหลอกลวงแบบฟชิ ชิง (Phishing) เปน็ เทคนคิ
การหลอกลวงโดยใชจ้ ติ วทิ ยาผา่ นทางอนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่
ขอข้อมูลท่ีส�าคัญ มักมาในรูปของอีเมลหรือเว็บไซต์
เพ่อื หลอกใหเ้ หยื่อเปด เผยขอ้ มูลที่เป็นความลับตา่ ง ๆ

การกอ่ อาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การใช้ 4

คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเป็นเคร่ืองมือในการ
กระทา� ความผิด เพื่อให้ผอู้ ื่นได้รบั ความเสยี หาย เชน่
การละเมิดลิขสทิ ธ ิ์ การก่ออาชญากรรมทางการเงนิ

5 การกระท�าผิดกฎหมายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

84 เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ท่ีขัดต่อกฎหมายว่าด้วยการ
กระท�าผดิ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ โดยร้เู ท่าไมถ่ ึงการณ์

ภาพจาก หนงั สอื เรยี น หนา 84

ขอ้ สอบเนน้ การคดิ ความรูเสริม

บุคคลในขอ้ ใดมีโอกาสถูกหลอกลวงแบบฟชชิงมากทีส่ ดุ โปรแกรมสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นการส่ือสารท่ีได้รับความนิยมมาก
1. กระต่ายถกู เจาะระบบคอมพิวเตอร์ ซง่ึ ในปจ จบุ นั ไดม้ กี ารพฒั นาจากการสนทนากนั ดว้ ยการพมิ พม์ าเปน็ การสนทนา
2. เบลลา่ นัดพบบคุ คลท่ีร้จู กั ทางอนิ เทอร์เน็ต ดว้ ยเสียง โดยโปรแกรมสนทนาท่ีน่าสนใจ มดี งั น้ี
3. เชอรร์ ีถ่ ูกเผยแพรภ่ าพตัดตอ่ ทางอินเทอรเ์ น็ต
4. ขา้ วโอตไดร้ ับอีเมลจากธนาคารให้ระบขุ ้อมลู ส่วนตัว 1. โปรแกรม Facebook เป็นบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ท�าให้ผู้ใช้สามารถ
ตดิ ตอ่ สอื่ สารและรว่ มกนั ทา� กจิ กรรมใดๆ รว่ มกบั ผใู้ ชอ้ กี คนหนงึ่ ได้ เชน่
(วเิ คราะห์ค�าตอบ การหลอกลวงแบบฟช ชงิ มกั มาในรปู แบบของ การสนทนากนั ทงั้ แบบกลมุ่ และแบบเดย่ี ว การเขยี นบทความแลว้ แบง่ ปน
อีเมลหรือเว็บไซต์ เพื่อหลอกให้เปดเผยข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูล ให้กับผู้อืน่
ลับต่างๆ เพราะฉะน้ันบุคคลท่ีมีโอกาสถูกหลอกลวงแบบฟชชิง
มากท่สี ุด คอื ขา้ วโอต ดังนนั้ ตอบขอ้ 4.) 2. โ ปรแกรม Line เป็นโปรแกรมท่ีพัฒนามาเพ่ือใช้ในการสนทนาทั้ง
การพิมพเ์ ป็นข้อความ การสนทนาดว้ ยเสยี ง การแบ่งปน ภาพถ่ายหรือ
ไฟลง์ านตา่ งๆ ซงึ่ สามารถทา� ได้ทงั้ แบบกลมุ่ และแบบเด่ยี ว

T147

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน ผทู้ กี่ ระทา� ความผดิ เกย่ี วกบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื การกอ่
อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต ถือเป็นการกระท�าท่ีมีความผิดตาม
6. ครอู ธบิ ายใหน้ กั เรยี นฟง วา่ ผทู้ กี่ ระทา� ความผดิ พพร.ระ.รบา.ชคบอญัมพญวิ ตั เตวิ า่อดร1ว้ ์ ยซกง่ึ าเปรกน็ รกะฎทหา� คมวาายมทผ่ถี ดิ กู เอกอยี่ กวกแบับคบอมมาพเพวิ ่ือเตคอ้มุ รค ์ หรอรอืง
เกย่ี วกบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การกระทา� ผู้ ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต หากมีการกระท�าความผิด
ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทา� เกิดข้ึน พ.ร.บ.ฉบับน้ีจะช่วยให้ผู้กระท�าผิดได้รับการลงโทษตาม
ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ หรือ พ.ร.บ. กฎหมาย โดยมีขอ้ กฎหมายท่ีควรทราบเบอื้ งต้น ดังน้ี
คอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นกฎหมายที่ให้ความ
คุ้มครองกับผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต หากมี
การกระท�าความผิด พ.ร.บ.ฉบับน้ีก็จะช่วยให้
ผกู้ ระท�าผิดได้รับโทษตามกฎหมาย

7. นกั เรยี นศกึ ษาขอ้ กฎหมายเบอ้ื งตน้ ของ พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ ในหนงั สือเรยี น หนา้ 85

เขา้ ถึงขอ้ มลู ของผ้อู ืน่ โดย แก ้ไข เปล่ียนแปลง การกระทา� ทก่ี อ่ กวน
ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต หรือท�าลายข้อมูลของผู้อ่ืน การทา� งานของระบบ
คอมพวิ เตอรข์ องผู้อ่นื
จา� คุกไมเ่ กนิ 2 ป  หรือปรบั โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต จา� คุกไมเ่ กนิ 5 ป หรือ
ไมเ่ กิน 40,000 บาท จ�าคกุ ไม่เกิน 5 ป  หรอื ปรับไมเ่ กิน 100,000 บาท
หรือท้งั จา� ท้งั ปรบั ปรับไม่เกนิ 100,000 บาท หรอื ทง้ั จ�าทง้ั ปรับ

หรอื ทง้ั จ�าท้ังปรับ

สง่ ขอ้ ความหรืออเี มล เผยแพร่เน้อื หา ภาพตัดต่อท่ีท�าให้
ที่กอ่ ให้เกิดความ ที่ไม่เหมาะสม เสอื่ มเสียช่ือเสยี ง
เดือดร้อนแก่ผอู้ ื่น จ�าคกุ ไม่เกนิ 3 ป  หรอื จ�าคกุ ไมเ่ กิน 3 ป
ปรบั ไมเ่ กนิ ปรับไม่เกนิ 60,000 บาท หรอื ปรบั ไม่เกิน
200,000 บาท หรือทัง้ จ�าทง้ั ปรับ 200,000 บาท

เขา้ ถงึ ระบบคอมพิวเตอร์ เผยแพรว่ ิธกี ารเข้าถงึ ระบบ ขโมยขอ้ มูลของผอู้ ่นื
ของผอู้ นื่ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต คอมพิวเตอร์ของผู้อื่น บนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็
จ�าคุกไมเ่ กิน 6 เดอื น หรอื จ�าคกุ ไม่เกนิ 1 ป  หรือ จา� คุกไมเ่ กิน 3 ป  หรือ
ปรับไมเ่ กิน 10,000 บาท ปรับไม่เกนิ 20,000 บาท ปรับไมเ่ กิน 60,000 บาท
หรือท้งั จ�าทง้ั ปรบั
หรอื ทง้ั จา� ทงั้ ปรบั หรือทัง้ จา� ท้ังปรบั

หมายเหตุ : ข้อมลู จากพระราชบัญญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทา� ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2560 85

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 85

นักเรียนควรรู ข้อสอบเน้น การคิด

1 พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ หรอื พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทา� ความผดิ เกย่ี วกบั ก้อยตัดตอภาพถายของแต้วแล้วเผยแพรบนอินเทอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์ มี 2 ฉบบั โดยฉบับที่ 1 ประกาศใชใ้ นป พ.ศ.2550 และฉบบั ท่ี 2 เปน็ การกระทา� ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอรข์ ้อใด
ประกาศใช้ในป พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นกฎหมายท่ีบญั ญตั ขิ ึ้นเพอ่ื ใช้ในการคมุ้ ครอง
ผู้ท่ีใชง้ านคอมพวิ เตอร์และอินเทอรเ์ นต็ 1. เผยแพร่เนอื้ หาทไี่ ม่เหมาะสม
2. ตดั ตอ่ ภาพที่ทา� ใหเ้ สอ่ื มเสียชื่อเสยี ง
3. แก้ไขขอ้ มลู ของผ้อู นื่ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
4. ส่งขอ้ ความที่ก่อให้เกดิ ความเดือนรอ้ นแก่ผู้อนื่

(วิเคราะห์ค�าตอบ การตดั ตอ่ ภาพถา่ ยของผอู้ น่ื แลว้ นา� ไปเผยแพร ่
เพ่ือท�าให้ผู้อื่นเส่ือมเสียชื่อเสียง เป็นการกระท�าความผิดตาม
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ท่ีเกี่ยวกับการตัดต่อภาพท่ีท�าให้เสื่อมเสีย
ชอ่ื เสยี ง ซึ่งมีโทษจา� คุกไม่เกิน 3 ป  หรอื ปรบั ไม่เกนิ 200,000 บาท
ดังนน้ั ตอบขอ้ 2.)

T148

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

µÑÇÍ‹ҧ Í¹Ñ µÃÒ¨ҡ¡ÒÃ㪧Œ Ò¹Í¹Ô à·ÍÃà ¹çµ ขนั้ สอน

โป้ได้รับข้อความจากเพื่อนคนหน่ึงท่ีส่งมาในโปรแกรมสนทนาว่า 8. ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาตวั อยา่ งอนั ตรายจากการ
คุณครูท่ีสอนวิชาพลศึกษาเรียกให้โป้ไปพบด่วน เนื่องจากคุณครูหา ใช้งานอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการส่งข้อความ
กระดาษค�าตอบในการสอบของโป้ไม่พบ หลังจากที่โป้ไปพบคุณครู ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ นแกผ่ อู้ นื่ ในหนงั สอื
ท่ีห้องพักครู ปรากฏว่า คุณครูไม่ได้เรียกให้โป้ไปพบ ซ่ึงโป้อาจโดน เรยี น หนา้ 86
เพอ่ื นแกลง้ กไ็ ด ้ นักเรยี นคดิ วา่ โป้ควรท�าอยา่ งไร
9. หลงั จากนกั เรยี นศกึ ษาตวั อยา่ งเสรจ็ เรยี บรอ้ ย
Chat (3) แลว้ ครถู ามคา� ถามกบั นกั เรยี นวา่ ถา้ นกั เรยี น
เป็นโปน ักเรยี นจะปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไร
คุณครสู อนวชิ าพลศกึ ษาหา
กระดาษคาํ ตอบของโปไมเจอ 10. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่า จากการ
ใหไ ปหาดว น กระท�าของเพื่อนของโป เพ่ือนของโป
กระท�าผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์หรือไม่
ถ้าผิดจะไดร้ ับโทษอยา่ งไร

จากสถานการณด์ งั กลา่ ว โปค้ วรจะเตอื นเพอื่ นวา่ การกระทา� แบบน้ี
มีความผิดต่อพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเก่ียวกับ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการกระท�าความผิดโดยการส่งข้อความหรืออีเมล
ที่ก่อให้เกิดความเดือดรอ้ นแก่ผ้อู น่ื มีโทษปรบั ไมเ่ กนิ 200,000 บาท

86

ภาพจาก หนังสอื เรยี น หนา 86

ขอ้ สอบเน้น การคดิ เกร็ดแนะครู

ข้อใดไมใ ชวธิ กี ารป้องกนั อันตรายจากการใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ หลังจากครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างอันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
1. ไมเ่ ปดิ เผยข้อมลู ส่วนตวั เสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูอาจหาตัวอย่างเพ่ิมเติมท่ีเกี่ยวข้องกับอันตรายจากการ
2. ไม่ตดิ ตงั้ โปรแกรมปอ งกนั ไวรสั ใช้งานอินเทอรเ์ น็ตมาให้นกั เรยี นศึกษาเพ่มิ อีก 1-2 ตัวอยา่ ง
3. ไม่นดั พบบุคคลทรี่ ู้จกั ทางอินเทอรเ์ น็ต
4. ไมใ่ ช้งานจ�ารหสั ผ่านบนเวบ็ บราวรเ์ ซอร์

(วเิ คราะหค์ า� ตอบ จากตัวเลือกที่ก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ไดว้ า่ ขอ้ ทไี่ มใ่ ชว่ ธิ กี ารปอ้ งกนั อนั ตรายจากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็
คือ การไม่ติดต้ังโปรแกรมป้องกันไวรัส ซึ่งอาจท�าให้ถูกการ
กอ่ อาชญากรรมบนอนิ เทอร์เนต็ ได ้ ดงั นนั้ ตอบข้อ 2.)

T149

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน ¡Ô¨¡ÃÃÁ Com Sci
½ƒ¡·¡Ñ ÉÐ
11. นักเรียนท�ากิจกรรมฝกทักษะ Com Sci
ในหนังสือเรียน หน้า 87 โดยให้นักเรียน ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาสถานการณต์ อ่ ไปน ้ี แลว้ ตอบคา� ถามวา่ เปน อนั ตราย
พิจารณาสถานการณ์ท่ีก�าหนดให้เกี่ยวกับ ท่เี กดิ จากการใช้งานอินเทอร์เนต็ แบบใด พรอ้ มทัง้ ใหเ้ หตุผลประกอบ
อนั ตรายจากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ แลว้ ตอบ
ค�าถามว่า จากสถานการณ์ท่ีก�าหนดให้เป็น สถานการณ์ : ปูพบข้อความท่ีแชร์ต่อกันมาทางอินเทอร์เน็ต
อันตรายที่เกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต เกยี่ วกับ การประกาศหาตวั คนร้ายทข่ี โมยทรพั ย์สนิ ของผู้อ่ืนไป
แบบใด พรอ้ มท้งั ใหเ้ หตุผลประกอบ โดยให้ ปูจึงได้แชร์ข้อความน้ัน เพื่อช่วยให้จับคนร้ายได้เร็ว ๆ แต่ปู
นกั เรียนบนั ทกึ ค�าตอบลงในสมุด ไดม้ าทราบภายหลงั วา่ โพสตน์ นั้ เปน็ การใสร่ า้ ย กลนั่ แกลง้ ผอู้ น่ื
ให ้ได้รับความเสียหาย ปูจงึ ได้ลบโพสต์นนั้ ทง้ิ ไป

เปน็ อนั ตรายจากการใช้งานอนิ เทอร์เนต็ ประเภท

เน่ืองจาก บนั ทึกลงในสมดุ

ทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ 21 2. ทักษะการรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี 87
1. ทกั ษะการแก้ปญั หา

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 87

เกร็ดแนะครู ขอ้ สอบเนน้ การคิด

ในการท�ากิจกรรมฝก ทกั ษะ Com Sci ในหนงั สอื เรยี น หน้า 87 ครอู าจให้ มดแอบนา� ภาพดารามาตดั ตอ แลว้ นา� ไปเผยแพรบ นอนิ เทอรเ์ นต็
นักเรียนจับคู่กับเพ่ือน แล้วท�างานร่วมกันเก่ียวกับอันตรายจากการใช้งาน มดมีความผิดหรือไม  อยางไร
อินเทอร์เน็ต โดยหลังจากนักเรียนท�ากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูอาจให้
นกั เรยี นออกมาน�าเสนอความคิดเหน็ ของตนเองบรเิ วณหน้าช้ันเรยี น 1. ไม่ผดิ เพราะไม่ไดท้ �ารา้ ยใคร
2. ผดิ เพราะเปน็ การสร้างหลกั ฐานเท็จ
3. ไม่ผดิ เพราะเป็นการตดั ต่อบางส่วนเท่านนั้
4. ผดิ เพราะเป็นการตดั ต่อภาพทีอ่ าจท�าให้ผ้อู ่ืนเดอื ดร้อน

(วเิ คราะห์คา� ตอบ การแอบนา� ภาพของผูอ้ ื่นมาตดั ต่อ แลว้ นา� ไป
เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต เป็นการกระท�าที่ผิด เพราะการตัดต่อ
ภาพนน้ั อาจทา� ใหผ้ อู้ น่ื ไดร้ บั ความเสยี หายหรอื เดอื ดรอ้ นได ้ ดงั นน้ั
ตอบขอ้ 4.)

T150

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

1.2 แนวทางในการปอ้ งกนั อนั ตรายจากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ขน้ั สอน

ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทต่อชีวิตประจ�าวันเป็นอย่างมาก 12. ครูอธิบายให้นักเรียนฟงว่า การปองกัน
เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต จึงควร อันตรายจากการใชง้ านอินเทอร์เน็ตสามารถ
ปฏบิ ตั ติ นตามแนวทาง ดงั น้ี ทา� ไดห้ ลายวธิ ี โดยวธิ ที น่ี กั เรยี นสามารถทา� ได้
ง่ายท่ีสุด คือ การไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว
ไมเ่ ขา้ เวบ็ ไซตท์ เ่ี ผยแพรเ่ นอ้ื หาผดิ กฎหมาย เชน่ สอื่ ลามกอนาจาร ไมว่ า่ จะเปน็ ชอ่ื -นามสกลุ ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์
การพนัน โปรแกรมผดิ กฎหมาย หลักฐานส�าคญั อน่ื ๆ ลงบนเวบ็ ไซตต์ ่างๆ
ไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตวั เชน่ ชอ่ื -นามสกลุ จรงิ ทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศพั ท์
หลักฐานส�าคัญอื่น ๆ ลงบนเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ 13. นักเรียนศึกษาแนวทางการปองกันอันตราย
ไม่หลงเช่ือข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตโดยง่าย ควรศึกษาข้อมูลจาก จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิ่มเติมใน
หลายแหล่ง ก่อนตัดสนิ ใจเช่ือในสิ่งทไี่ ด้รับรู้ หนงั สือเรียน หน้า 88
แจ้งผู้ปกครองหรือคุณครูหากพบเห็นการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ท่ไี มเ่ หมาะสม หรอื การกลน่ั แกลง้ ทางอินเทอร์เนต็
ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามท่ีรู้จักทางอินเทอร์เน็ตเพียงล�าพัง
และควรแจ้งใหผ้ ้ปู กครองทราบ
ตดิ ตงั้ โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั และตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ ไดต้ ง้ั คา่ ให้
โปรแกรมทา� งานแล้ว
ตั้งรหัสผ่านในการเข้าสู่ระบบ และอุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ ให้
คาดเดาไดย้ าก และควรเปลย่ี นรหสั ผา่ นทุก ๆ 2-3 เดือน
ศกึ ษาขอ้ กฎหมายเกย่ี วกบั การใชง้ านคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็
เพอ่ื หลกี เล่ยี งการกระทา� ผดิ ตามกฎหมาย

88

ภาพจาก หนังสอื เรยี น หนา 88

กิจกรรม สรา้ งเสรมิ เกร็ดแนะครู

หลังจากครูอธิบายเน้ือหาให้นักเรียนฟงเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก่อนที่ครูจะอธิบายให้นักเรียนฟงเก่ียวกับแนวทางในการปองกันอันตราย
ครแู จกกระดาษ A4 ใหก้ บั นกั เรยี นคนละ 1 แผน่ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น จากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ครอู าจจะใหน้ กั เรยี นพดู คยุ กนั เกยี่ วกบั วธิ กี ารปอ งกนั
เขียนสรุปแนวทางในการปองกันอันตรายจากการใช้งาน อันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตของแต่ละคนก่อนว่า นักเรียนแต่ละคนมี
อนิ เทอรเ์ น็ตลงในกระดาษที่ครแู จกให้พรอ้ มทง้ั ตกแตง่ ใหส้ วยงาม วธิ กี ารอยา่ งไรบา้ ง โดยหลงั จากพดู คยุ กนั เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ครจู งึ อธบิ ายเนอ้ื หา
เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ของนักเรียน ใหน้ กั เรียนฟง

T151

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน µÇÑ Í‹ҧ á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû‡Í§¡¹Ñ Í¹Ñ µÃÒÂ
¨Ò¡¡ÒÃ㪌§Ò¹Í¹Ô à·ÍÃà ¹çµ
14. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างแนวทางในการ
ปองกันอันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต ในขณะทปี่ กู า� ลงั ใชง้ านโซเชยี ลมเี ดยี อย ู่ พบวา่ มขี อ้ ความทเ่ี พอื่ น ๆ
เกี่ยวกับการส่งต่อข้อความและภาพท่ีถูก ส่งต่อกันมาว่าโป้ได้ลอกการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ของเพื่อน พร้อมภาพ
ตดั ตอ่ ในหนังสอื เรยี น หน้า 89 ขณะท่ีโป้ก�าลังลอกการบ้าน ซึ่งปูทราบว่าไม่เป็นความจริงและภาพ
ดังกล่าวถูกตัดต่อ เนื่องจากในวันนั้นปูและโป้ได้ช่วยกันท�าการบ้าน
15. นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุม่ ละ 5-6 คน จากน้นั จนเสร็จ นกั เรียนคดิ วา่ ปูควรท�าอยา่ งไร
ให้นักเรียนพูดคุยกันเก่ียวกับอันตรายที่เกิด
จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตของนักเรียน เมอื่ วานโปแ อบเอา
แต่ละคนที่เคยพบเจอมา จากน้นั ให้นักเรียน สมุดการบานของ
อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับแนวทางในการ ตนกลาไปลอกที่
ปองกันอันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต หอ งสมดุ
ของสมาชิกในกลุม่

16. ครูแจกกระดาษแผ่นใหญ่ให้กับนักเรียน
กลุ่มละ 1 แผ่น แล้วให้นักเรียนร่วมกัน
วิเคราะห์สาเหตุของอันตรายจากการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตที่นักเรียนเคยพบมา โดยให้
นักเรียนเขียนลงในกระดาษท่ีครูแจกให้
เมอื่ เสรจ็ แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทน
ออกมานา� เสนอหนา้ ชัน้ เรียน

จากสถานการณ์ดังกล่าว ปูควรบอกโป้และคุณครูให้ทราบถึงเร่ือง
ท่ีเกิดข้ึน และอธิบายกับเพื่อนคนอ่ืน ๆ ท่ีส่งข้อความดังกล่าวมาว่า
ควรหยุดส่งต่อและควรลบข้อความดังกล่าวทิ้ง เน่ืองจากข้อความที่ส่ง
มานัน้ ไม่เปน็ ความจรงิ เปน็ การกล่ันแกล้งกนั ทางอนิ เทอรเ์ นต็ และเป็น
การกระทา� ทมี่ คี วามผดิ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทา� ความผดิ เกย่ี วกบั
คอมพวิ เตอร ์ เรอื่ งการเผยแพรภ่ าพตดั ตอ่ ทที่ า� ใหเ้ สอ่ื มเสยี ชอ่ื เสยี งอกี ดว้ ย

89

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 89

เกร็ดแนะครู ข้อสอบเนน้ การคดิ

หลังจากนักเรียนศึกษาตัวอย่างแนวทางในการปองกันอันตรายจาก ใครปฏบิ ตั ติ นในการปอ้ งกนั อนั ตรายจากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็
การใชง้ าน ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 89 เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ครอู าจสอบถามนกั เรยี นวา่ ไมถ ูกตอ้ ง
นกั เรยี นเคยพบกบั เหตกุ ารณเ์ หมอื นในตวั อยา่ งหรอื ไม่ หรอื มเี หตกุ ารณใ์ ดเกดิ ขน้ึ
กบั นักเรียนเก่ยี วกบั อันตรายจากการใช้งานอินเทอรเ์ น็ตหรือไม่ โดยใหน้ กั เรยี น 1. แจนไม่เขา้ เวบ็ ไซต์ท่ีผดิ กฎหมาย
ออกมาเล่าให้เพือ่ นๆ ในช้นั เรียนฟง 2. น่นุ แชรท์ ีอ่ ยู่ของตนเองบนอนิ เทอร์เนต็
3. เดีย่ วศึกษากฎหมายเก่ียวกบั การใช้งานอินเทอรเ์ น็ต
4. เหมียวตดิ ตง้ั โปรแกรมปองกันไวรัสบนเคร่อื งคอมพวิ เตอร์

(วเิ คราะหค์ �าตอบ จากตัวเลือกที่ก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า บุคคลที่ปฏิบัติตนในการใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ถูกต้อง คือ
นนุ่ เนอื่ งจากนนุ่ แชร์ทอ่ี ยู่ของตนเองบนอินเทอรเ์ นต็ ซ่งึ อาจทา� ให้
นนุ่ ไดร้ บั ความเดอื นรอ้ นได้ ดงั น้ัน ตอบขอ้ 2.)

T152

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

¡Ô¨¡ÃÃÁ Com Sci ขน้ั สอน
½¡ƒ ·Ñ¡ÉÐ
17. นักเรียนท�ากิจกรรมฝกทักษะ Com Sci
ใหน้ กั เรยี นทา� เครอ่ื งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ทคี่ วรทา� และทา� เครอ่ื งหมาย ✗ ในหนังสือเรียน หน้า 90 โดยให้นักเรียน
หน้าข้อทไ่ี ม ่ควรทา� พิจารณาข้อความที่ก�าหนดให้ แล้วท�า
เครอื่ งหมายถกู หนา้ ขอ้ ความทค่ี วรทา� และทา�
เครื่องหมายผิดหน้าข้อความท่ีไม่ควรท�า
โดยให้นกั เรยี นบนั ทกึ คา� ตอบลงในสมดุ

……………………….. 1. โปช้ กั ชวนใหเ้ พือ่ นเขา้ เว็บไซต์พนันบอล
……………………….. 2. ป นู ดั พบกบั เพอ่ื นที่รู้จักกนั ผ่านโปรแกรม

สนทนาออนไลน์
……………………….. 3. เ ปรยี้ วสอนใหเ้ พ่ือนลงโปรแกรมสแกนไวรสั
……บ…ัน…ท…กึ …ล…ง…ใน…ส.. ม4ุด. ปแ ปลา้อนะงตกต้งันั้งั ครไ่าหวโรัสปสั ผรา่แนกเรขม้าใสหรู่ ท้ ะบ�างบาคนอ มเพพอ่ื วิ เเปต็นอกรด์ารว้ ย

ตวั เลขงา่ ย ๆ เพอื่ ใหส้ ะดวกในการใชง้ าน
……………………….. 5. ป น ศึกษากฎหมายเก่ยี วกบั การใช้งาน

คอมพวิ เตอร ์ เพือ่ หลกี เล่ยี งการกระทา� ผิด
กฎหมาย
……………………….. 6. ป อ้ มโพสตภ์ าพบัตรประจ�าตัวประชาชน
ทเี่ พ่ิงไปท�ามาใหม่ลงบนเพจในอินเทอรเ์ น็ต

ทักษะการเรยี นรู ้ในศตวรรษท ่ี 21

90 1. ทักษะการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ 2. ทักษะการรูเ้ ท่าทันเทคโนโลยี

ภาพจาก หนงั สอื เรียน หนา 90

กิจกรรม สร้างเสรมิ เกร็ดแนะครู

ครใู หน้ กั เรยี นจบั คทู่ �ากจิ กรรมรว่ มกนั โดยครูเล่าสถานการณ์ ในการทา� กจิ กรรมฝก ทกั ษะ Com Sci ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 90 ของนกั เรยี น
เกย่ี วกบั การกระทา� ทอ่ี าจทา� ใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ครูอาจให้นักเรียนท�ากิจกรรมพร้อมกันทีละข้อ โดยครูอาจสุ่มนักเรียนข้ึนมา
ให้นักเรียนฟง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคู่พูดคุยแลกเปล่ียน อา่ นโจทยแ์ ลว้ ใหน้ กั เรยี นในชน้ั เรยี นตอบคา� ถามรว่ มกนั วา่ การปฏบิ ตั ติ นในแตล่ ะ
ความคิดเหน็ กนั ถึงแนวทางในการปอ งกนั อนั ตรายจากการใชง้ าน ขอ้ นน้ั เปน็ สง่ิ ทคี่ วรทา� หรอื ไม่ แลว้ ใหน้ กั เรยี นทา� เครอื่ งหมายถกู หรอื เครอื่ งหมาย
อนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ ปอ งกนั ปญ หาทจี่ ะเกดิ จากการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ผิดลงในสมดุ

T153

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน 1.3 การก�าหนดรหัสผา่ น

18. ครูอธิบายให้นักเรียนฟงว่า การก�าหนด การก�าหนดรหัสผ่าน เป็นวิธีการตรวจสอบตัวตนในการเข้า
รหัสผ่านเป็นสิ่งที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้ สู่ระบบและการเข้าใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อป้องกัน
ให้สามารถก�าหนดรหัสผ่านได้อย่างถูกต้อง อันตรายจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่นิยมมากท่ีสุด เน่ืองจากเป็น
เพื่อเป็นการปองกันอันตรายที่อาจเกิดข้ึน วิธีที่ง่ายและไม่มีค่าใช้จ่าย โดยมีข้อแนะน�าในการต้ังและใช้งาน
จากการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่า รหัสผ่านใหม้ คี วามปลอดภยั ดังน้ี
จะเปน็ การก�าหนดรหสั ผา่ นในการเขา้ ใช้งาน
อีเมล หรือสอื่ สงั คมออนไลน์ต่างๆ ขอ้ แนะน�าในการตัง้ รหสั ผ่าน สง่ิ ทไี่ มค่ วรนา� มาใชเ้ ปน รหสั ผา่ น

19. นักเรียนศึกษาข้อแนะน�าในการตั้งรหัสผ่าน ✓ มคี วามยาวอยา่ งนอ้ ย 8 ตวั อกั ษร ✗ ขอ้ มลู ส่วนตัว เชน่ ชื่อ-นามสกลุ
สง่ิ ทไ่ี มค่ วรนา� มาใชเ้ ปน็ รหสั ผา่ น และขอ้ ควร ✓ ประกอบด้วยอักษรตัวพิมพ์ ใหญ่ วนั เกิด เบอร ์โทรศพั ท์
ปฏิบัตเิ พมิ่ เติม ในหนังสือเรียน หนา้ 91
ตวั พมิ พเ์ ลก็ ตวั เลข และสญั ลกั ษณ์ ✗ ช อ่ื บคุ คลหรอื ส่ิงของตา่ ง ๆ ที่
เชน่ Kgs_F5071 เก่ยี วขอ้ งกบั ผ ู้ใช้
✓ ควรต้ังให้จดจ�าได้ง่ายแต่ยากต่อ
การคาดเดา เชน่ ชอ่ื อาหารทชี่ อบ ✗ คา� ท่มี อี ย่ใู นพจนานุกรม
แตเ่ ขยี นตวั อกั ษรจากหลงั มาหนา้ ✗ ร ูปแบบตวั อกั ษรหรอื ตวั เลข

ทเี่ ป็นทีน่ ยิ ม เช่น 123456789,
111111, password

ข้อควรปฏิบตั ิเพมิ่ เติม 4. ต ง้ั รหสั ผา่ นทแ่ี ตกต่างกนั ใน
แตล่ ะบัญชีผู้ ใช้
1. ไ มเ่ ปดเผยรหสั ผ่านให้ผอู้ ่นื
รับทราบ 5. ไมบ่ นั ทึกรหสั ผ่านแบบอัตโนมตั ิ
ลงบนเบราวเ์ ซอร์
2. เปล่ยี นรหสั ผา่ นทุก ๆ 2-3 เดือน
3. อ อกจากระบบทุกครั้งเม่ือเลิกใช้ 6. ไมจ่ ดรหัสผ่านลงกระดาษและ
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
บรกิ ารต่าง ๆ บนอนิ เทอร์เนต็

91

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 91

เกร็ดแนะครู ข้อสอบเน้น การคิด

ก่อนท่ีครูจะสอนนักเรียนเก่ียวกับการก�าหนดรหัสผ่าน ครูอาจสอบถาม ข้อใดไมใชวธิ กี ารตง้ั รหัสผา นที่ดี
นักเรยี นกอ่ นว่า นักเรยี นเคยใช้งานรหสั ผา่ นหรอื ไม่ แล้วนกั เรยี นมวี ิธีการในการ 1. ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ขอ้ มลู ส่วนตวั
ก�าหนดรหัสผา่ นอย่างไรใหป้ ลอดภัย จากนั้นจึงให้นักเรียนในช้ันเรียนพูดคุยกนั 2. มีความยาวอย่างน้อย 8 ตวั อกั ษร
เก่ียวกับการกา� หนดรหสั ผา่ น 3. เป็นค�าทมี่ คี วามหมายตามพจนานกุ รม
4. ประกอบด้วยตวั อกั ษร ตัวเลข และอักษรพเิ ศษ

(วิเคราะห์ค�าตอบ จากตัวเลือกที่ก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า ข้อที่เป็นการก�าหนดรหัสผ่านท่ีไม่ดี คือ การใช้ค�าที่มี
ความหมายตามพจนานุกรม ซ่ึงถ้าค�าน้ันเป็นค�าศัพท์ของสิ่งท่ีอยู่
ใกลต้ วั อาจทา� ใหถ้ กู คาดเดารหสั ผา่ นจากผไู้ มห่ วงั ดไี ดง้ า่ ย ดงั นน้ั
ตอบข้อ 3.)

T154

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

¡¨Ô ¡ÃÃÁ Com Sci ขน้ั สอน
½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ
20. นักเรียนท�ากิจกรรมฝกทักษะ Com Sci
ให้นกั เรยี นพิจารณาการตง้ั รหสั ผ่านจากสถานการณต์ อ่ ไปนี ้ แลว้ พดู ในหนังสือเรียน หน้า 92 โดยให้นักเรียน
คยุ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กบั เพอื่ นในชนั้ เรยี นวา่ การตง้ั รหสั ผา่ นดงั กลา่ ว พิจารณาการต้ังรหัสผ่านจากสถานการณ์
เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ท่ีก�าหนดให้ จากนั้นให้นักเรียนพูดคุย
แ ล ก เ ป ล่ี ย น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น กั บ เ พื่ อ น ใ น
ชน้ั เรยี นวา่ การต้งั รหัสผา่ นจากสถานการณ์
ทก่ี า� หนดใหเ้ หมาะสมหรอื ไม่ อยา่ งไร จากนน้ั
ให้นักเรยี นบันทึกคา� ตอบลงในสมุด

1. โ ป้ตงั้ รหัสผ่านบนเวบ็ ไซต์ 2. โ ป้ตัง้ รหสั ผ่านโดยการส่มุ
หนง่ึ เปน็ 54321 เพือ่ ให้ ตัวอักษร ตัวเลข และ
ง่ายตอ่ การจดจา� สญั ลักษณ ์ ดังน ี้
Gy4&d9s%hv

3. ปูเกดิ วนั ท่ ี 15 พฤษภาบคนั มทึกลงในส4ม.ุด ป ูมีแมวชือ่ Tommy และ
พ.ศ. 2552 จงึ ตัง้ รหัส เกิดวนั ท ่ี 3 กุมภาพนั ธ์
ผา่ นว่า 15052552 พ.ศ. 2559 จึงนา� มา
ตง้ั เป็นรหัสผ่าน คอื
Tom_3m2y59

ทักษะการเรยี นรู ้ในศตวรรษท ่ี 21

92 1. ทักษะการรู้เทา่ ทันเทคโนโลย ี 2. ทกั ษะการใชค้ อมพิวเตอร์

ภาพจาก หนังสอื เรยี น หนา 92

กิจกรรม สร้างเสรมิ เกร็ดแนะครู

ครูแจกกระดาษ A4 ให้กับนักเรียน แล้วให้นักเรียนบอก ในการทา� กจิ กรรมฝก ทกั ษะ Com Sci ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 92 ของนกั เรยี น
ขอ้ แนะนา� สงิ่ ทไี่ มค่ วรทา� และขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการกา� หนดรหสั ผา่ น ครูอาจใหน้ กั เรยี นในชน้ั เรยี นพูดคยุ กนั เกยี่ วกับการกา� หนดรหสั ผ่านในแตล่ ะข้อ
โดยให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษที่ครูแจกให้ พร้อมทั้งตกแต่ง ก่อนว่า ในแต่ละข้อน้ันเป็นการก�าหนดรหัสผ่านท่ีถูกต้องหรือไม่ แล้วจึงให้
ให้สวยงาม โดยครูอาจสั่งให้นักเรียนน�ากลับไปท�าเป็นการบ้าน นกั เรยี นเขียนค�าตอบลงในสมดุ พร้อมทง้ั ให้เหตุผลประกอบ
หรือจะใหน้ กั เรียนท�าในชวั่ โมงเรียนก็ได้

T155

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขนั้ สอน 1.4 การกา� หนดสิทธใิ์ นการเขา้ ใช้งาน

21. ครอู ธบิ ายเกยี่ วกบั การกา� หนดสทิ ธใ์ิ นการเขา้ การก�าหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน เป็นการก�าหนดสิทธิ์ในการ
ใช้งานให้นกั เรียนฟง ว่า เป็นการกา� หนดสทิ ธ์ิ เข้าถึงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งานและเพิ่มความปลอดภัย
ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งานและเป็นการ ให้กบั ข้อมลู
เพ่ิมความปลอดภัยให้กับข้อมูล เพ่ือปองกัน การกา� หนดสทิ ธใิ์ นการใชง้ านนเ้ี ปน็ การปอ้ งกนั ผไู้ มห่ วงั ดเี ขา้ มา
การเข้าถงึ ข้อมูลโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ท�าลายข้อมูล ขโมยข้อมูล หรือเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
ซง่ึ การก�าหนดสิทธิ์ในการเขา้ ใชง้ านน้ัน สามารถท�าได้หลายวธิ ี เชน่
22. ครูอธิบายวิธีการก�าหนดสิทธ์ิการเข้าใช้งาน โปรแกรม Google Drive ซึ่งมีขั้นตอนในการใช้งาน ดังนี้
โปรแกรม Google Drive ให้นักเรียนฟง
พร้อมท้ังสาธิตข้ันตอนการก�าหนดสิทธ์ิ Google Drive
การเข้าใช้งานให้นกั เรียนดเู ปน็ ตวั อย่าง
12

3

1 เข้าเว็บไซต์โดยพมิ พค์ า� วา่ www.google.com
2 คลกิ ทไ่ี อคอน ซึ่งเปน็ บริการตา่ ง ๆ ของ Google
3 คลกิ เพอ่ื เขา้ ใชง้ านโปรแกรม Google Drive

93

ภาพจาก หนังสือเรียน หนา 93

ความรูเสริม ข้อสอบเน้น การคดิ

โปรแกรม Google Drive เป็นโปรแกรมทช่ี ่วยอา� นวยความสะดวกในการ ข้อใดไมใชป ระโยชน์ของการก�าหนดสิทธ์ใิ นการเข้าใช้งาน
ส�ารองขอ้ มูลและแบ่งปน ข้อมลู โดยโปรแกรม Google Drive สามารถรองรับ 1. ปองการถูกขโมยขอ้ มลู
ไฟลง์ านได้หลายประเภท เช่น ไฟล์ Photoshop ไฟล์ Microsoft office อกี ทง้ั 2. เพมิ่ ความปลอดภัยให้กับข้อมูล
ยงั มรี ะบบปอ งกนั ไวรสั คอมพวิ เตอรท์ ต่ี ดิ มากบั โปรแกรม สามารถใชง้ าน Google 3. ปองกันไวรัสเข้าสเู่ ครอ่ื งคอมพิวเตอร์
Drive ได้โดยไมต่ อ้ งมีโปรแกรมเฉพาะ 4. ไม่ให้ผูอ้ นื่ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

(วเิ คราะหค์ า� ตอบ จากตัวเลือกท่ีก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า ทุกข้อล้วนเป็นประโยชน์ของการก�าหนดสิทธ์ิในการเข้า
ใช้งานทั้งส้ิน ยกเว้นข้อที่กล่าวว่าเป็นการป้องกันไวรัสเข้าสู่
เครอื่ งคอมพวิ เตอร ์ ดงั นน้ั ตอบข้อ 3.)

T156

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

การก�าหนดสิทธ์ิการเข้าใช้งานในโปรแกรม Google Drive ขน้ั สอน
มขี น้ั ตอน ดงั นี ้
23. นกั เรยี นเข้าใชง้ านโปรแกรม Google Drive
1. เปด โปรแกรม Google Drive เลอื กไฟลง์ านทตี่ อ้ งการ โดยใชบ้ รกิ าร Gmail ในการเขา้ ใชง้ าน จากนนั้
ใหน้ กั เรยี นดา� เนนิ การกา� หนดสทิ ธใิ์ นการเข้า
จากนนั้ คลกิ ขวาทค่ี า� วา่ แชร์ ใชง้ าน Google Drive ตามท่คี รูอธบิ ายและ
สาธิตข้ันตอนการก�าหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน
โปรแกรม Google Drive

24. หลังจากนักเรียนแชร์ลิงก์ให้กับเพื่อนแล้ว
ใหเ้ พอื่ นลองเปดิ ลงิ กด์ วู า่ สามารถใชง้ านตาม
ท่ีนักเรียนก�าหนดไว้ได้หรือไม่ ถ้าไม่เป็น
ไปตามท่ีกา� หนดไว้ใหน้ ักเรียนลองอกี ครง้ั

2. เมอ่ื ปรากฏหนา้ จอการกา� หนดสทิ ธก์ิ ารเขา้ ใชง้ าน

สามารถกรอกขอ้ มลู ตามภาพได ้ ดงั น ี้

12
3

1 กรอกอเี มลของผ้รู บั ลงในชอ่ งบุคคล
2 กา� หนดสิทธก์ิ ารเข้าใชง้ านของผู้รบั
3 กดส่งเพื่อแชรล์ งิ ก์

94 ภาพท่ี 4.1 ตัวอยา งการใชงาน Google Drive

ภาพจาก หนงั สือเรียน หนา 94

กจิ กรรม สร้างเสรมิ เกร็ดแนะครู

ครใู หน้ กั เรยี นทา� กจิ กรรมภายในชน้ั เรยี น โดยใหน้ กั เรยี นจดั ทา� ในการให้นักเรียนทดลองใช้งานโปรแกรม Google Drive นอกจากครู
ประวตั สิ ว่ นตวั ของตนเองลงในโปรแกรมไมโครซอฟตเ์ วริ ด์ พรอ้ มทง้ั จะให้นักเรียนแชร์ลิงก์ให้กับเพ่ือนๆ แล้ว ครูอาจให้นักเรียนแชร์ลิงก์ให้กับ
ตกแตง่ ใหส้ วยงาม จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นอปั โหลดงานลงในโปรแกรม ครดู ้วย เพ่ือครจู ะได้ตรวจสอบได้วา่ นกั เรยี นสามารถใชง้ านโปรแกรม Google
Google Drive แล้วแชร์ให้กับคุณครู เพื่อเป็นการทดสอบความ Drive และกา� หนดสิทธ์ใิ นการเข้าใชง้ านไดห้ รอื ไม่
เข้าใจของนักเรยี นว่า นกั เรียนสามารถกา� หนดสทิ ธกิ์ ารเขา้ ใช้งาน
โดยใช้โปรแกรม Google Drive ได้

T157

นา� สอน สรปุ ประเมนิ

ขน้ั สอน ใบความรู้
เรอื่ ง การกาหนดรหสั ผ่านและการกาหนดสทิ ธ์ใิ นการเข้าใช้งาน
25. ครแู จกใบความรู้ เรื่อง การกา� หนดรหัสผา่ น
และการก�าหนดสิทธใ์ิ นการเข้าใช้งาน ให้กับ 1. การกาหนดรหสั ผ่าน
นกั เรยี น จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรเู้ พมิ่ การกาหนดรหสั ผา่ นเปน็ วธิ พี ื้นฐานที่สาคัญในการปอ้ งกนั การเขา้ ถึงขอ้ มลู สว่ นตัว นกั เรยี น
เตมิ จากใบความรทู้ ค่ี รแู จกใหเ้ ปน็ เวลา 5 นาที
สามารถสรา้ งสรรคว์ ธิ กี ารของตนเอง ในการกาหนดรหัสผ่านทม่ี คี วามปลอดภยั สูง นกั เรียนจดจาไดง้ า่ ยแต่
ผอู้ นื่ คาดเดาได้ยาก หรอื ใชแ้ นวคิดหรอื วิธกี ารกาหนดรหสั ผา่ นโดยใชแ้ นวคดิ หรือวธิ ีการ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1) เลือกประโยค วลี ภาษาอังกฤษ ท่ีคดิ ขึ้นเอง หรือจากหนังสือ เพลง ทีช่ อบ
2) เลอื กอกั ษรตวั แรกหรือสองตวั แรกของแต่ละคาในประโยค วลี ทเ่ี ลอื กมาเรยี งกัน
3) เปลย่ี นบางตัวอักษรเป็น สัญลกั ษณ์ หรือตัวเลข เชน่ เปลย่ี น ตวั L(แอล) เปน็ เลข 1(หนง่ึ )

เปล่ียนตัว O (โอ) เป็น เลข 0 (เลขศนู ย)์
4) เปล่ยี นบางตัวอักษรเปน็ ตัวพิมพ์ใหญ่ บางตวั เปน็ ตัวพิมพเ์ ลก็
5) เติมชดุ ตัวเลข ท่นี กั เรียนจาได้ หรอื มีความหมายกบั นักเรียนตอ่ ทา้ ย

2. การกาหนดสิทธ์ใิ นการเข้าใชง้ าน
กาหนดสิทธ์ิการเขา้ ถึงการเข้าใช้งาน เป็นการกาหนดสิทธใ์ิ นการเขา้ ถงึ ข้อมลู เพอื่ เพิ่มความ

ปลอดภยั ให้กบั ข้อมูล ในกรณีของการใช้งาน google Dive นกั เรยี นสามารถศกึ ษาขนั้ ตอน วิธีการกาหนด
สิทธ์ในการเขา้ ใช้งาน ในการแชรข์ ้อมลู ไฟลจ์ าก Google Drive ได้จาก เมนู ความช่วยเหลือของ Google
ไดรฟ์ หรือลิงก์

https://support.google.com/drive/answer/2494822?co=GENIE.Platform%3DDesktop&hl=th

ภาพจาก

แผนการสอน ท่ี 1

หน่วยท่ี 14

เกร็ดแนะครู ข้อสอบเน้น การคดิ

ในการศึกษาความรู้จากใบความรู้ เร่ือง การก�าหนดรหัสผ่านและการ พฤตกิ รรมใดอาจกอ ให้เกิดอาชญากรรมทางอินเทอร์เนต็
กา� หนดสทิ ธใิ์ นการเขา้ ใชง้ าน ครอู าจใหน้ กั เรยี นจบั คกู่ บั เพอ่ื น เพอื่ ศกึ ษาความรู้ 1. ไม่บอกรหัสผ่านของตนเองกบั ใคร
เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน 2. ดาวน์โหลดข้อมลู จากเวบ็ ไซตท์ ม่ี ีช่อื เสยี ง
ออกมาสรุปความรู้ที่ได้จากใบความรู้ให้เพื่อนในชั้นเรียนฟง เพื่อเป็นการสรุป 3. เปดิ เผยเฉพาะข้อมูลที่จ�าเป็นลงบนอินเทอรเ์ นต็
ความรทู้ ไี่ ด้จากการเรยี นร้ดู ้วยตนเองรว่ มกนั กบั เพือ่ นในช้นั เรยี น 4. ติดตัง้ โปรแกรมสแกนไวรัสบนเครอื่ งคอมพิวตอร์

(วเิ คราะห์คา� ตอบ จากตัวเลือกท่ีก�าหนดให้สามารถวิเคราะห์
ได้ว่า พฤติกรรมท่ีอาจก่อให้เกิดอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
คือ การเปดเผยเฉพาะข้อมูลท่ีจ�าเป็นลงบนอินเทอร์เน็ต ดังน้ัน
ตอบข้อ 3.)

T158

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ

ใบงานท่ี 4.1.1 เฉลย ขน้ั สอน
เรอื่ ง การกาหนดรหสั ผ่านและการกาหนดสทิ ธเิ์ ขา้ ใช้งาน
26. หลงั จากนกั เรยี นศกึ ษาความรเู พม่ิ เตมิ จากใบ
คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถำมต่อไปนี้ ความรทู ค่ี รแู จกใหเ สรจ็ เรยี บรอ ยแลว ครแู จก
ใบงานที่ 4.1.1 เร่ือง การกําหนดรหัสผาน
1. นกั เรียนมบี ัญชี Gmail หรือไม่ และการกาํ หนดสทิ ธเ์ิ ขา ใชง าน ใหก บั นกั เรยี น
แลวใหนักเรียนตอบคําถามและปฏิบัติ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. กจิ กรรมท่ีกาํ หนดให
(หำกนักเรียนไม่มบี ญั ชี Gmail ให้นกั เรียนสมัคร โดยดขู น้ั ตอนจำกหนังสือเรยี นและใบควำมร้เู รอื่ งกำรกำหนด
รหัสผำ่ นและกำรกำหนดสิทธ์ิเขำ้ ใช้งำน)

2. นักเรยี นคิดว่ำรหัสผ่ำนท่นี ักเรยี นใช้ มีควำมปลอดภัยมำกนอ้ ยเพียงใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....

3. ให้นักเรยี นเปิดโปรแกรม Microsoft word แลว้ พิมพ์ชื่อ นำมสกุล ชั้นเรียน และเลขที่ ของตนเอง
ลงในโปรแกรม จำกนนั้ บันทกึ เป็นไฟล์ .doc แลว้ อัปโหลดไฟลล์ งใน Google Drive และแชร์ให้คุณครู
ทำงอีเมล โดยกำหนดสิทธ์ิให้คณุ ครูสำมำรถดูไฟล์ขอ้ มูลได้เพยี งอย่ำงเดียว ไม่มสี ิทธิ์ในกำรแก้ไขหรือ
ปรับปรุง

ภาพจาก

แผนการสอน ที่ 1

หน่วยที่ 14

ขอ สอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู

ขอ ใดไมใชอาชญากรรมทางอินเทอรเ นต็ ในการทาํ ใบงาน เร่อื ง การกาํ หนดรหสั ผานและการกําหนดสทิ ธิ์เขาใชง าน
1. นํารูปภาพทผ่ี อู ื่นถายขึน้ ไปเผยแพรบนอนิ เทอรเ น็ต หากนักเรียนยังไมมีบัญชี Gmail ครูอาจใหเวลานักเรียนในการสมัครใชงาน
2. ใสลายนํ้าบนเอกสารทดี่ าวนโ หลดมาจากอนิ เทอรเ น็ต Gmail กอ น หรอื ครูอาจสอนใหนักเรียนคนท่ยี งั ไมม บี ัญชี Gmail สมคั รใชงาน
3. ดูรหัสผานเขา เครอื่ งคอมพิวเตอรข องเพ่ือนท่ีน่ังขางๆ Gmail กอน จากนั้นจงึ ใหนกั เรยี นลงมอื ทําใบงานพรอมๆ กนั
4. โพสตเ ตอื นภยั เวบ็ ไซตท ี่หลอกลวงเอาขอ มูลทางการเงนิ

(วิเคราะหคาํ ตอบ จากตัวเลือกท่ีกําหนดใหสามารถวิเคราะห
ไดว า ขอ ทไี่ มใ ชอ าญากรรมทางอนิ เทอรเ นต็ คอื การโพสตเ ตอื นภยั
เวบ็ ไซตท หี่ ลอกลวงเอาขอ มลู ทางการเงนิ เนอ่ื งจากเปน การกระทาํ
ท่ีมิไดทําใหผูอื่นเดือดรอน หรือมิไดเปนการกระทําความผิดใดๆ
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T159




















































Click to View FlipBook Version