The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ 20000-1301 complete

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ploy.salak, 2021-05-11 05:08:12

แผนการจัดการเรียนรู้ 20000-1301 complete

แผนการจัดการเรียนรู้ 20000-1301 complete

แผนการจัดการเรียนรู

มงุ เนนฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ชื่อวิชา วิทยาศาสตรเ พอื่ พัฒนาทักษะชวี ิต
รหสั วิชา 20000–1301 ท–ป–น 1–2–2
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562

ประเภทวชิ า พื้นฐาน
สาขาวิชา วทิ ยาศาสตร แผนก สามัญสมั พันธ

จัดทาํ โดย

ครสู าลกั ษณ แทน แกว

วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาขอนแกน
สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใช

ช่อื วิชา วิทยาศาสตรเพื่อพฒั นาอาชพี ธุรกิจและบริการ รหสั วิชา 20000–1301
ผสู อน ครูสาลกั ษณ แทนแกว

 ควรอนุญาตใหใชการสอนได
 ควรปรบั ปรุงเกย่ี วกบั
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

ลงช่อื .....................................................
(.......................................................)
หัวหนาแผนกวชิ า
............../......................../....................

 เหน็ ควรอนุญาตใหใชก ารสอนได
 ควรปรับปรุงดังเสนอ
 อน่ื ๆ ..........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................
(.......................................................)
รองผูอํานวยการฝา ยวิชาการ
............../......................../....................

 อนุญาตใหใ ชการสอนได
 อ่ืน ๆ ............................................................................................................................................

ลงชือ่ .....................................................
(.......................................................)
ผอู ํานวยการ
............../......................../....................

คาํ นํา

แผนการจัดการเรียนรู มุงเนนฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา
วิทยาศาสตรเ พอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ รหสั วิชา 20000–1301 เลม น้ไี ดจัดทาํ ขึน้ เพ่อื ใชเปน คูมอื ประกอบการสอน หรือ
เปนแนวทางการสอนในรายวิชาเพ่ือพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช
2556 สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

การจัดทําไดมีการพัฒนาเพ่ือใหเหมาะสมกับผูเรียน โดยแบงเนื้อหาออกเปน 10 หนวย การจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนยึดผเู รียนเปนสําคัญ มีการบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และคุณธรรมจริยธรรม ไวใน
หนวยการเรียนรูตามความเหมาะสม สอดคลองกับเนื้อหา มีแบบฝกหัด แบบทดสอบหลังเรียน พรอมเฉลย มีใบ
กจิ กรรมการทดลอง และสื่อการเรยี นการสอนตาง ๆ เพือ่ ใหเกิดประสทิ ธผิ ลแกผ เู รยี นมากยิ่งข้นึ

ผจู ัดทําหวังวาแผนการจัดการเรียนรูเลม นี้คงจะเปนแนวทางและเปน ประโยชนตอคร-ู อาจารยและนักเรียน
หากมขี อเสนอแนะประการใด ผูจดั ทาํ ยนิ ดนี อ มรบั ไวเพ่ือปรบั ปรงุ แกไ ขในคร้งั ตอ ไป

ลงชอื่ สาลักษณ แทน แกว
(ครสู าลักษณ แทนแกว)

แผนการจัดการเรยี นรแู บบบูรณาการท่ี 1 หนวยท่ี 1 1

รหสั วชิ า 20000-1301 วิชาวิทยาศาสตรเพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวติ สอนครัง้ ที่ 1
ชอ่ื หนว ย/เร่อื ง กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร จํานวน 3 ชัว่ โมง

1. สาระสาํ คญั
การทําโครงงานวิทยาศาสตร เปนหนง่ึ ในกระบวนการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยโี ดยผูเ รียนไดล ง

มือปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนรดู ว ยตนเอง การเรียนรโู ดยวธิ ีนผ้ี เู รยี นจะไดท ักษะหลายอยางไมเฉพาะทาง

วทิ ยาศาสตรเ ทานัน้ แตย ังไดท กั ษะดานอนื่ ๆ อีกรวมท้งั การทํางานเปน ทมี ถงึ แมจ ะมีขอ ผดิ พลาดบางแตผูเรียนรู
ดว ยตนเองอยางแทจ ริง

2. สมรรถนะประจาํ หนว ยท่ี 1
เร่อื งที่ ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตร
เพื่อผูเรียนไดปฏบิ ัติโครงงานวทิ ยาศาสตร ตามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยการเรียนรู

ดวยตนเอง
3. จุดประสงคการเรียนรู

3.1 ดานความรู
3.1.1 จดุ ประสงคป ลายทาง
เพื่อใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจ เรอ่ื งทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร

3.1.2 จุดประสงคนําทาง
1. อธิบายความสาํ คัญทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรได

2. สรุปทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรได

3. บงชีแ้ ละยกตวั อยางลักษณะทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตรได

4. สามารถเขียนโครงรางโครงงานวิทยาศาสตรได

5. สามารถเขยี นรายงานประกอบโครงงานวทิ ยาศาสตรไ ด
3.2 ดา นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
1. บอกเหตผุ ลเกี่ยวกับลักษณะทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรได

2. คิดวิเคราะห สงั เคราะห และนําเสนอขอมูลลกั ษณะทักษะกระบวนการและโครงงานทาง

วทิ ยาศาสตรได

3. สาระการเรียนรู
1. ทกั ษะการสังเกต

1.1 การใชป ระสาทสัมผสั ในการสงั เกต

2. ทกั ษะการจําแนกประเภท
2.1 การกําหนดเกณฑใ นการจําแนกประเภท

2

2.2 การเขยี นแผนผังในการจําแนกประเภท
3. ทักษะการวัด

3.1 หนวยปริมาณการวดั
3.2 เครอื่ งมอื และวธิ ีการวัด
4. ทักษะการคาํ นวณ
4.1 คดิ คํานวณตวั เลขทเี่ กิดจากการวัด
5. หาความสมั พนั ธระหวางมติ ขิ องวตั ถกุ ับเวลา
5.1 ความสมั พันธก ารเปลยี่ นแปลงตา ง ๆ ในการทดลองกบั เวลา
6. การจัดกระทาํ ขอมลู และการลื่อความหมายขอ มูล

กิจกรรมการเรยี นรู
ข้นั ตอนการนาํ เขาสบู ทเรียน
ครูและผเู รยี นรว มกนั อภปิ รายผลงานของนกั วิทยาศาสตรและกระบวนการทไ่ี ดมาซ่งึ ผลงานและ

สงิ่ ประดษิ ฐน ั้น ๆ มกี ารใชทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรอ ะไรบาง และทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรที่
สาํ คัญคอื ทักษะใดบาง

ขนั้ การเรียนรู
1. ครแู ละผูเ รียนรวมกนั อภปิ รายทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นเรือ่ ง การสงั เกต การจาํ แนกประเภท การ
วดั และการคิดคาํ นวณ
2. ผเู รียนยกสถานการณท่ีเก่ยี วขอ งกบั การใชทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในเรื่องการสังเกต การจําแนก
ประเภท การวดั และการคิดคาํ นวณ
3. ผูเรยี นศกึ ษาเนื้อหาความรจู ากบทเรยี น
4. ผเู รยี นทํากจิ กรรม 1 – 1 ฝกทักษะการสังเกต และ 1 – 2 แบบฝก ทักษะการจําแนกประเภท
5. ครูและนักเรยี นรวมกันอภปิ รายทกั ษะกระบวนการพนื้ ฐานทเี่ หลือ
กิจกรรมการเรยี นรู

ขน้ั ตอนการนําเขา สูบทเรียน
ครแู ละผูเรียนรว มกนั อภิปรายผลงานของนกั วทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการท่ีไดม าซงึ่ ผลงานและ

สง่ิ ประดิษฐนั้น ๆ มีการใชท ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรอ ะไรบา ง และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่
สาํ คญั คอื ทักษะใดบา ง

3

ขัน้ การเรียนรู
1. ครแู ละผูเรียนรวมกันอภิปรายทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นเรื่อง การสังเกต การจาํ แนกประเภท การ
วดั และการคิดคํานวณ
2. ผูเรยี นยกสถานการณท่ีเก่ียวขอ งกับการใชท ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในเรื่องการสงั เกต การจาํ แนก
ประเภท การวดั และการคิดคาํ นวณ
3. ผูเรยี นศึกษาเนอ้ื หาความรจู ากบทเรียน
4. ผเู รียนทาํ กจิ กรรม 1 – 1 ฝกทักษะการสังเกต และ 1 – 2 แบบฝกทักษะการจําแนกประเภท
5. ครแู ละนักเรียนรวมกนั อภปิ รายทักษะกระบวนการพน้ื ฐานท่เี หลอื
ขนั้ สรปุ
1. ผูเ รยี น 1 กลมุ ออกมาสรปุ เนื้อหาบทเรยี น และแบบฝกทักษะทไี่ ดท าํ กิจกรรม
2. ครูและผเู รยี นรวมกันสรปุ บทเรยี น และสรุปแบบฝก ทักษะ การสงั เกต และการจําแนกประเภท
สื่อการเรียนรู

- เอกสารการเรียนรบู ทท่ี 1
- แผนภาพทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
การวดั ผลประเมินผล
- แบบทดสอบแบบปรนยั จํานวน 10 ขอ

กิจกรรมเสนอแนะ/งานท่มี อบหมาย
- แบบฝกหัดแบบปรนยั จาํ นวน 20 ขอ

เอกสารอา งอิง
- หนงั สอื เรียนวิชาวิทยาศาสตรเ พ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิต

4

บันทึกหลังการสอน

ขอ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาท่ีพบ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรแู บบบรู ณาการท่ี 1 หนว ยที่ 1 5

รหสั วชิ า 20000-1301 วิชาวิทยาศาสตรเ พ่อื พัฒนาทักษะชวี ิต สอนครั้งที่ 2
ชอื่ หนวย/เรอ่ื ง กจิ กรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร จํานวน 3 ชั่วโมง

1. สาระสาํ คญั
การทําโครงงานวิทยาศาสตร เปนหนง่ึ ในกระบวนการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยโี ดยผเู รยี นไดล ง

มอื ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรยี นรดู วยตนเอง การเรยี นรูโดยวธิ ีนผ้ี ูเรียนจะไดท ักษะหลายอยา งไมเ ฉพาะทาง

วิทยาศาสตรเทานนั้ แตย งั ไดท ักษะดา นอ่ืน ๆ อีกรวมทง้ั การทํางานเปน ทมี ถงึ แมจะมีขอ ผดิ พลาดบางแตผูเ รียนรู

ดว ยตนเองอยางแทจรงิ
2. สมรรถนะประจําหนว ยที่ 2

เรอื่ งท่ี ทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตร
เพอ่ื ผูเ รยี นไดป ฏิบตั ิโครงงานวิทยาศาสตร ตามทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยการเรียนรูด วยตนเอง
3. จดุ ประสงคการเรยี นรู

3.1 ดานความรู
3.1.1 จดุ ประสงคป ลายทาง
เพื่อใหน ักเรียน มีความรู ความเขาใจ เรือ่ งทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร
3.1.2 จุดประสงคนําทาง
1. อธิบายความสาํ คัญทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรได

2. สรุปทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรได

3. บง ช้ีและยกตวั อยา งลักษณะทักษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตรได
4. สามารถเขียนโครงรา งโครงงานวทิ ยาศาสตรได

5. สามารถเขยี นรายงานประกอบโครงงานวิทยาศาสตรไ ด
3.2 ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

1. บอกเหตผุ ลเก่ยี วกับลักษณะทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรไ ด

2. คดิ วิเคราะห สังเคราะห และนาํ เสนอขอ มลู ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรได
3. บูรณาการการทักษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตรกบั วิชาภาษาไทย ภาษาตา งประเทศ

ศิลปศึกษา และการงานพ้ืนฐานอาชีพและเทคโนโลยไี ด
3.3 ดา นจิตวิทยาศาสตรและเง่ือนไขคุณธรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ความรบั ผิดชอบและกระตอื รอื รน ในการเรียน ความสนใจและตัง้ ใจในการเรยี น

2. กระบวนการกลมุ และความสามัคคีความซอื่ สัตย
3. ตระหนกั ในคุณคา และมเี จตคติทีด่ ีตอวทิ ยาศาสตร

4. จดุ มงุ หมายของการศึกษาคน ควา

5. สมมติฐานของการศึกษาคน ควา

6

7. แนวทางในการปฏิบัติ ประกอบไปดวย
7.1 วัสดอุ ุปกรณทใ่ี ช
7.2 แนวทางการศกึ ษาคน ควา ควรอธบิ ายวา จะดาํ เนินงานอยางไร มกี ารเกบ็ ขอ มลู อยา งไร

8. แผนการปฏบิ ตั งิ าน
9. ผลที่คาดวา จะไดรับ
10. เอกสารอา งอิง / แหลงศกึ ษาคนควา

บทท่ี 1. บทนํา ประกอบดว ย 2 สว น คอื
1. แนวคิด ทีม่ า และความสําคัญของเรอื่ ง
2. ความมุงหมายของการศกึ ษาคน ควา

บทท่ี 2. เอกสารที่เกย่ี วของ
เปนสวนที่นักเรยี นไดไ ปศกึ ษาคน ควาจากเอกสารซ่งึ เปน หลักการทฤษฎี หรือรายงานการคนควาท่ีมี

ผูอื่นทาํ การศกึ ษาไวแลว ซ่งึ จะตองระบชุ ือ่ หนงั สอื ไวในสว นทา ยของเลมโครงงาน เรียกวา หนงั สอื อางองิ

บทที่ 3. วธิ ีการดําเนนิ งาน
บทท่ี 4. ผลการศกึ ษาคน ควา

โดยกาํ หนดรูปแบบการนาํ เสนอผลการศึกษาคนควา เปน ความเรียง ตาราง หรอื รปู ภาพ โดยมีการ
วิเคราะหผ ลการศึกษาไวด วย

บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอเสนอแนะ

กิจกรรมการเรียนรู
ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร

ขั้นนาํ
1. นักเรียนและครรู ว มกนั สนทนาถงึ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรโดยครูสรา งสถานการณ นําวสั ดุ

เชน ดินสอ กระดาษ กอนหิน แกวน้ํา เปนตน มาวางไวบ นโตะหนาหอ งเรียน แลว ใชค าํ ถามดงั นี้
- นกั เรยี นสังเกตเหน็ วสั ดุอะไรบา งทีอ่ ยบู นโตะ
(แนวคาํ ตอบ ดนิ สอ กระดาษ กอนหนิ แกวน้าํ เปนตน)
- นกั เรียนคิดวา วัสดุดงั กลาวมีลักษณะเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร
(แนวคาํ ตอบ ตอบตามความคิดเหน็ ของนักเรยี น)

7

การบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ความพอประมาณ
1.1 เขยี นเรยี งความทักษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตรแ ละบันทึกผลการทดลอง

ความตามศกั ยภาพของตนเองไดต ามเวลาที่กาํ หนดเปนการพอประมาณกับเวลา
1.2 พูดนาํ เสนอรายงานการสํารวจและสืบคนขอ มลู เกย่ี วกับทกั ษะกระบวนการและโครงงาน

ทางวิทยาศาสตรไดพ อประมาณกบั เวลา
2. ความมีเหตุผล
2.1 มีทักษะในการทาํ งาน ซึ่งเปนการใชเ วลาวา งใหเ กดิ ประโยชนและการเรียนรู ดวยตนเอง
2.2 วิเคราะห สังเคราะห และนําเสนอขอมูลลักษณะของทักษะกระบวนการและโครงงานทาง

วิทยาศาสตรดว ยตนเองดวยรูปแบบท่เี หมาะสมกับความสามารถ
3. การมภี มู ิคุมกนั ในตัวที่ดี
3.1 เกิดความรกั และเขาใจความผกู พนั ของคนในครอบครัวและเครอื ญาติ
3.2 ชน่ื ชมในผลงานของตนเองและผอู ่นื
4. เง่ือนไขความรู
ความรเู รือ่ งทักษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตร การเขยี นเรียงความและลําดบั

ความคดิ ในการนําเสนอรายงานและขอ มูล
4. ความคิดรวบยอด

4.1 ประเภทของโครงงาน
1. โครงงานวทิ ยาศาสตรประเภทสํารวจ (Survey Science Project)
2. โครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภททดลอง (Experimental Science Project)
3. โครงงานวทิ ยาศาสตรประเภทสิง่ ประดษิ ฐ (Invention Science Project)
4. โครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภททฤษฎี (Theoretical Science Project)

4.2 การเขียนโครงรา งโครงงานวิทยาศาสตร

1. ช่อื โครงงาน
2. ชื่อผูทาํ โครงงาน
3. ช่อื อาจารยทป่ี รึกษา
4. ท่มี าและความสําคญั ของโครงงาน

- นักเรียนคดิ วา เราสามารถเรยี นรูส่ิงตา งๆ รอบตัวเราไดอ ยา งไร
(แนวคาํ ตอบ ตอบตามความคิดเห็นของนกั เรียน)

8

3. ครชู ้แี จงใหน กั เรียนทราบวา ลักษณะทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร เปน พฤติกรรมทเี่ กิดจากการคิด
และปฏิบัตทิ างวิทยาศาสตรจนเกิดความชาํ นาญ และความคลองแคลวในการใชเพ่ือแสวงหาความรูท างวิทยาศาสตร
ตลอดจนหาวิธกี ารเพอื่ แกปญหาตางๆ นําเขาสูเนื้อหาบทเรียน

ข้นั การสอน

1. สรางความเขา ใจ (engagement)

1.1 ครูสนทนาโดยการซกั ถาม เพอ่ื ทบทวนและเช่อื มโยงความรเู กีย่ วกบั ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
โดยการถามนักเรยี นวา

- ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรในความคิดของนกั เรียนเปน อยา งไร (พจิ ารณาจากคําตอบของ
นักเรยี น)

1.2 ครสู นทนาโดยการซักถามเพอื่ นาํ เขาสูเนื้อหา “ทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร” วา ตน ไมมีสีเขียว
ใบไมม ีรสเปรี้ยว วัตถชุ ้ินนีห้ นกั ประมาณ 3 กโิ ลกรัม จากขอความดงั กลาวเราใชท กั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร
ทกั ษะใดบา ง (พจิ ารณาจากคําตอบของนกั เรยี น)

1.3 ครูช้แี จงใหน ักเรยี นเขา ใจวา ลกั ษณะทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร เปนพฤติกรรมทเี่ กิดจากการคดิ
และปฏบิ ัติทางวทิ ยาศาสตรจนเกดิ ความชาํ นาญ และความคลอ งแคลว ในการใชเพอ่ื แสวงหาความรทู าง
วทิ ยาศาสตร ตลอดจนหาวธิ กี ารเพื่อแกป ญ หาตางๆ ซง่ึ จะนาํ ไปใชก บั การทําโครงงานวทิ ยาศาสตรตอไป

2. สํารวจและคน หา(exploration)

2.1. ตวั แทนนักเรียนแตละกลุม ออกมารับเอกสารประกอบการสอน หนว ยท่ี 1 ทกั ษะกระบวนการและ
โครงงานทางวิทยาศาสตร ตามจํานวนนกั เรยี นในกลุม

2.2. นักเรยี นศึกษาความหมายทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตร จากเอกสาร
ประกอบการเรียน เปน เวลา 15 นาที

2.3. นกั เรยี นแตล ะกลุมเลอื กประธานและเลขานกุ ารกลมุ และรว มกันอภปิ รายซักถามและสรปุ กบั
สมาชิกในกลุมเกย่ี วกบั ความหมาย ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตร ซึง่ ครไู ดส่ังใหน ักเรยี น
สบื คนมาลว งหนา โดยมคี รูคอยใหค ําแนะนําและชวยเหลือกรณนี ักเรยี นมีขอสงสัย

2.4. ครูประเมนิ นกั เรียน และนักเรยี นประเมินตามเกณฑการประเมินตนเองและกลุม

3. อธบิ ายและลงขอสรปุ (explanation)

9

3.1. ตวั แทนนกั เรียนทีไ่ ดรบั การสมุ โดยการจับฉลาก จํานวน 3 กลุม ออกมานาํ เสนอผลงานจาก
การอภปิ รายกลมุ หนาชัน้ เรียน

3.2. นกั เรียนและครูรว มกันสรุปผลการศึกษา ความหมาย ทักษะกระบวนการและโครงงานทาง
วทิ ยาศาสตรดังน้ี

3.2.1 ทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร เปนพฤติกรรมทเ่ี กดิ จากการคิดและปฏิบัติทาง
วทิ ยาศาสตรจ นเกดิ ความชาํ นาญ และความคลองแคลว ในการใชเพ่อื แสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร ตลอดจนหา
วิธกี ารเพ่ือแกป ญ หาตา งๆแบงออกเปน 13 ทักษะ
3.2..2 โครงงานวทิ ยาศาสตร เปน วิธกี ารอยางหนงึ่ ในกระบวนการเรียนรทู างวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี โดย
ผูเรียนลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนรดู วยตนเอง แบงเปน 4 ประเภท

1. โครงงานวิทยาศาสตรประเภทสํารวจ (Survey Science Project)
2. โครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภททดลอง (Experimental Science Project)
3. โครงงานวทิ ยาศาสตรป ระเภทสิง่ ประดษิ ฐ (Invention Science Project)
4. โครงงานวิทยาศาสตรป ระเภททฤษฎี (Theoretical Science Project)

4. ขยายความรู (elaboration)
4.1. นักเรยี นศกึ ษาคาํ ศัพทนา รู และทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตรจากเอกสาร

ประกอบการเรยี น เพ่ือใหไดข อ สรปุ เพ่มิ เติมวา โครงงานวทิ ยาศาสตร เปนวธิ ีการอยางหนงึ่ ในกระบวนการ
เรียงทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยผเู รยี นลงมือปฏบิ ัติกิจกรรมการเรียนรดู ว ยตนเอ

12. นักเรยี นเพ่มิ เติมความรูโดยการศึกษาคําศพั ทนารู แลวลงมอื ทาํ
ใบงานที่ 1.1 คําอุปสรรคและสัญลักษณของคาํ อปุ สรรค
ใบงานท่ี 1.2 องคป ระกอบในการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร
ใบงานที่ 1.3 การเขียนโครงรา งโครงงานวทิ ยาศาสตร

และแบบฝก หัดทายหนว ยที่ 1
6. ขั้นประเมนิ (evaluation)

นักเรียนทําแบบทดสอบหลงั เรียน จาํ นวน 5 ขอ เวลา 5 นาที

7. สือ่ การเรียนการสอน
1.เอกสารประกอบการเรียน หนวยที่ 1 ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร
2. สื่อเทคโนโลยี
2.1 สอื่ การเรยี นรคู อมพิวเตอร ดว ยโปรแกรมสาํ เรจ็ รปู

10

- ผงั มโนทศั น (Concept Mapping) แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2
ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร

- แผนภมู แิ สดงการบูรณาการแผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 1 ทกั ษะกระบวนการ
และโครงงานทางวิทยาศาสตร

- กรอบการจัดการเรยี นรูบูรณาการหนว ยท่ี 2เรอื่ งท่ี ทกั ษะกระบวนการ
และโครงงานทางวิทยาศาสตร

8. สอื่ การเรยี นการสอน
1.เอกสารประกอบการเรยี น หนวยท่ี 1 ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร
2. สอื่ เทคโนโลยี
2.1 สื่อการเรียนรคู อมพวิ เตอร ดว ยโปรแกรมสําเร็จรปู
- ผงั มโนทัศน (Concept Mapping) แผนการจัดการเรยี นรูที่ 1
ทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร
- แผนภมู แิ สดงการบรู ณาการแผนการจดั การเรียนรูที่ 2 ทักษะกระบวนการ
และโครงงานทางวิทยาศาสตร
- กรอบการจัดการเรยี นรบู รู ณาการหนว ยที่ 2เร่อื งที่ ทักษะกระบวนการและโครงงาน

ทางวทิ ยาศาสตร

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. เมือ่ ตรวจผลงานแลว อาจคัดเลอื กชิน้ งานดีเดนใหน ักเรียนนาํ เสนอผลงานโดยการจดั ปา ยนิเทศ
2. ขน้ั สรางชนิ้ งานเพ่ือสะทอ นความเปน ตนเอง (Right)ครูอาจใหนกั เรยี นทําเปนการบา น แลวนําเสนอ

ผลงาน และแลกเปลย่ี นเรียนรใู นชั่วโมงถดั ไป
3. นักเรยี นทําแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 9 หนวยการเรยี นรู จาํ นวน 120 ขอ ในช่ัวโมง

ปฐมนเิ ทศ และแจงใหนกั เรยี นทราบวา จะใชแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ชุดเดิม เพอื่ เปรยี บเทยี บคะแนนอีกครงั้ หนง่ึ ภายหลังจากท่นี กั เรียนเรียนจบหนวยท่ี 9 แลว
10. ผลงานหรอื หลักฐานของนกั เรียน :

1.ผลการศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรอ่ื ง ทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวทิ ยาศาสตร
2. ผลการทาํ แบบฝก หัดทา ยหนวยท่ี 2 เร่อื ง ทักษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร
3. ผลการบรู ณาการ เรื่อง ทกั ษะกระบวนการและโครงงานทางวิทยาศาสตร สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ภาษาตา งประเทศ ศิลปศกึ ษา การงานพน้ื ฐานอาชพี และเทคโนโลยี

11

4. ผลการทําแบบทดสอบกอ นเรียนและแบบทดสอบหลังเรยี น หนวยที่ 2 ทักษะกระบวนการและโครงงานทาง
วทิ ยาศาสตร

5. ผลการทําแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 5 หนว ยการเรยี นรู

บนั ทกึ หลงั การสอน

ขอสรปุ หลังการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญหาท่พี บ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรูแบบบรู ณาการที่ 3 หนวยที่ 3 12

รหสั วิชา 20000-1301 วชิ าวทิ ยาศาสตรเ พือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ สอนครั้งท่ี 3

ชอื่ หนวย/เร่อื ง หนวยและการวัด จํานวน 3 ช่วั โมง

แนวคดิ สําคญั

การวัดปริมาณตาง ๆ ในทางวิทยาศาสตร เปนกระบวนการเปรยี บเทียบปริมาณท่ีตอ งการวัด กับหนว ยท่ี

เปนมาตรฐาน โดยอาศัยเครื่องมือวัดที่ถูกตองและเหมาะสม การวัดประกอบดวยเคร่ืองมือ วดั ซึ่งเปนอุปกรณที่ใช

เปนตัวกลางในการเปรียบเทียบคาของปริมาณท่ีตองการวดั กับมาตรฐาน วิธีการวัดตองเปนวธิ ีท่ีสะดวก ปลอดภัย

และไดคา ที่ละเอียดถูกตอ ง และหนว ยท่ีเปน มาตรฐาน เดยี วกัน ปจจุบันมีระบบหนวยซงึ่ ประเทศตา ง ๆ ไดต กลงใช

รวมกันเปนมาตรฐานสากลเพ่ือใชไดท่ัว โลก เรียกวา ระบบหนวยระหวางชาติ หรือเรียกยอ ๆ วา ระบบ SI ซ่ึง

ประกอบดวย หนว ยฐาน หนว ย เสรมิ หนว ยอนุพัทธ และคาํ อปุ สรรค

สมรรถนะยอ ย

แสดงความรูและปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับหนวยและการวดั

จุดประสงคก ารปฏิบัติ

ดานความรู

1. บอกชอื่ หนว ยวดั พื้นฐานในระบบอังกฤษ และระบบ เมตรกิ

2. จาํ แนกองคประกอบของหนว ย SI

3. เลอื กใชคําอุปสรรคแทนตัวพหคุ ณู

4. ใชห นวย SI ตามขอ กําหนด

5. บันทึกผลการวัดพรอมระบุคาความคลาดเคลือ่ น ของการวัด

6. บอกสาเหตทุ ที่ าํ ใหผ ลการวดั คลาดเคลือ่ น

7. เลอื กใชเครื่องมือวดั ไดเหมาะสมกับส่งิ ทวี่ ดั

ดานทักษะ
1. จาํ แนกองคประกอบของหนว ย SI

2. เปรยี บเทียบมุมระนาบในหนว ยเรเดยี นกบั องศา

3. เลอื กใชค ําอปุ สรรคแทนตวั พหคุ ูณ

4. บันทึกผลการวัดพรอ มระบุคาความ คลาดเคล่ือน

5. อา นและบนั ทกึ การวัดตามขอกําหนด

6. คํานวณหาคาเฉลีย่ จากการวัด

7. เลอื กใชเคร่ืองมือวัดเหมาะสมกบั ปรมิ าณ ท่ีตอ งการวัด

13

ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดานความสนใจใฝรู การตรงตอเวลา ความซื่อสัตย สุจริต ความมีนํ้าใจ และแบงบัน มีเหตุผล

รว มมือ/ยอมรบั ความคิดเหน็ สวนใหญ
เนือ้ หาสาระ

3.1 ระบบของหนวยวดั ระบบหนวยวัดที่นิยมใชกนั อยูในปจจุบนั ไดแก ระบบอังกฤษ ระบบเมตรกิ และ
ระบบSI ระบบหนว ย SI ประกอบดวย หนวยฐาน (Based Units) หนวยเสริม (Supplementary Units) หนวยอนุ
พทั ธ (Derived Units) และคําอุปสรรค (Prefixes)

3.2 การวัด การวัด (Measurement) คือ การใชเคร่ืองมือชวยในการระบุขนาดของปริมาณตาง ๆ ของ
วัตถโุ ดยการเปรียบเทยี บกับคาปริมาณมาตรฐานสากล ตามหนวยในมาตราตาง ๆ ของเครือ่ งมอื เหลานนั้
กจิ กรรมการเรยี นรู
1. นกั เรียนทําแบบทดสอบกอ นเรียนหนว ยท่ี 2 หนวยและการวดั
2. แบง กลุม นกั เรียนเปน กลมุ ๆ ละ 5 คน
3. ครใู หน ักเรยี นดูเนือ้ หาหนวยท่ี 3
4. ขั้นนาํ เขาสูบทเรียน ครูตัง้ คาํ ถามใหน กั เรียนชว ยกนั ตอบ และรว มอภิปรายเพอ่ื ใหได ขอ สรปุ
5. ครูแจงจดุ ประสงคก ารเรยี นทงั้ ทฤษฎแี ละปฏิบตั ิ
6. ขัน้ สอน

6.1 ครอู ธบิ าย บรรยายและถามตอบ นกั เรยี นศกึ ษาจากเนือ้ หาในหัวขอ เรื่อง
6.2 นักเรยี นแตละกลุมสง ตัวแทนมาอภปิ รายหนาชนั้ เรียนเพอื่ สรุป
6.3 ครใู หค วามรเู พิ่มเตมิ โดยใชสอ่ื PowerPoint
6.4 นักเรียนทํากจิ กรรมตามใบกจิ กรรมท่ี 2.1–2.5
6.5 ขณะนักเรียนทํากจิ กรรมครูจะสังเกตการทํางานกลุม
7. ข้ันสรุป ครแู ละนักเรยี นรว มกนั เฉลยกิจกรรม และรวมอภิปรายสรุปบทเรยี น
สื่อและแหลงการเรยี นรู
1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 3 เรอื่ ง หนว ยและการวดั ใบกิจกรรมที่ 2.1-2.5 แบบฝก หัดหนว ย
ที่ 2 และแบบทดสอบกอ นเรยี น และหลงั เรยี น และPowerPoint ประกอบการสอน หนว ยท่ี 2
2. แหลง การเรียนรู หนงั สอื วารสาร เก่ยี วกบั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และอนิ เทอรเนต็
การวดั และการประเมนิ ผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล

1.1 แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมีวนิ ัย และความรบั ผิดชอบ ตองไดคะแนน ไมน อยกวารอย ละ
70 ผา นเกณฑ

14

1.2 ทดสอบโดยใชแบบทดสอบกอนเรียนหลงั เรียน
1.3 สงั เกตการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุมโดยใชแบบประเมินผล การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลมุ
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝก หัด
2. เกณฑก ารวดั และประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวนิ ัยและความรับผิดชอบตองไดคะแนน ไมนอยกวา รอยละ 70 ผาน
เกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ งไดคะแนนไมน อ ยกวา รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
2.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลมุ ตอ งไดค ะแนนไมนอ ยกวา รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2.4 ใบกจิ กรรมตอ งไดค ะแนนไมนอยกวารอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2.5 แบบฝกหัดตองไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ งานที่มอบหมาย งานท่ีมอบหมาย
นอกเหนือเวลาเรียน ใหทบทวนเนื้อหารวมท้งั ความสมบูรณข องแบบฝก หดั และใบกิจกรรม
ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาํ เรจ็ ของผูเรียน
1. ผลการนําเสนองานจากใบกิจกรรม
2. ผลการท าแบบฝก หัดหนว ยท่ี 3
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว ยที่ 3
เอกสารอา งอิง
1. หนงั สอื เรียนวชิ า วทิ ยาศาสตรเ พ่อื พัฒนาทักษะชีวิต (20000–1301)
2. เว็บไซตแ ละสือ่ สง่ิ พมิ พท ี่เกี่ยวขอ งกบั เน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

15

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอ สรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาทีพ่ บ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรูแ บบบรู ณาการที่ 4 หนวยที่ 4 16

รหัสวิชา 20000-1301 วิชาวิทยาศาสตรเ พ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ สอนครงั้ ที่ 4

ชือ่ หนว ย/เร่อื ง แรงและการเคล่อื นท่ี จํานวน 3 ชว่ั โมง

แนวคดิ สาํ คัญ

แรง เปนสาเหตสุ ําคญั ทท่ี ําใหวัตถเุ ปล่ยี นขนาดของความเร็ว เปลี่ยนทิศทางการเคลือ่ นท่ี และทําใหวตั ถุมี

การเปลี่ยนรูปราง หนวยวัดของแรงในระบบ SI คือ นิวตัน แรงที่เกิดขน้ึ ในธรรมชาตมิ ี หลายชนิด ไดแก แรงโนม

ถว ง แรงแมเ หลก็ แรงไฟฟา แรงนวิ เคลยี ร มนุษยไ ดนําความรเู กีย่ วกับแรง มาใช ประโยชนในดานตา ง ๆ เชน ดาน

อุตสาหกรรม ดานเกษตรกรรม แรงมีผลทําใหวัตถุเกิดการ เคล่ือนท่ีแบบเลื่อนตําแหนง แบบหมุน และแบบส่ัน

สมรรถนะยอย แสดงความรแู ละปฏิบัติเกีย่ วกบั แรงและการเคล่ือนที่

จดุ ประสงคการปฏบิ ตั ิ

ดา นความรู

1. อธิบายความหมายของแรงและผลของแรง

2. อธิบายลักษณะและชนดิ ของแรงพรอมทัง้ ยกตัวอยาง

3. อธบิ ายลกั ษณะการเคล่อื นทแี่ บบตาง ๆ ของวตั ถุ

4. ยกตวั อยางการนําความรเู รอ่ื งแรงและการเคลอื่ นที่ไปใช ประโยชนใ นชวี ิตประจําวนั

ดา นทักษะ

1. บอกการเปล่ยี นแปลงรปู ทรงของวตั ถุ เมือ่ ถกู แรงตาง ๆ กระทํา

2. ทดลองการเกิดแรงไฟฟาสถติ

3. ระบุประเภทการเคลือ่ นทขี่ องวัตถุแบบตาง ๆ

ดา นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดานความสนใจใฝรู การตรงตอเวลา ความซื่อสัตย สุจริต ความมีนํ้าใจและแบงบัน มีเหตุผล

รวมมอื /ยอมรับความคดิ เห็นสว นใหญ

กจิ กรรมการเรยี นรู

1. เตรียมความพรอมในการเรียน โดยการเรียกชอ่ื สาํ รวจการแตงกาย พรอมท้ังบนั ทึกลงใน แบบสังเกต

ความมวี ินยั และความรับผิดชอบ

2. ขน้ั นําเขาสูบ ทเรียน

2.1 ครูฉายภาพรถยนตท่ีอยูในสภาพปกติกับภาพรถยนตที่ถูกชนพังยับท้ังคันให นักเรียนดู แลว

ถามนักเรียนวาภาพท้ังสองตางกันอยางและรวมกนั อภิปรายจนไดขอสรุปวารถยนตคัน ที่พังยับทั้งคันเน่ืองจากมี

แรงมากระทําจากการชนกัน

2.2 ครูแจงจดุ ประสงคการเรยี นรแู ละใหนกั เรียนท าแบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยที่ 4 แรงและการ

เคล่อื นท่ี โดยเนนใหทาํ ดวยความซอ่ื สตั ย ไมลอกค าตอบของผูอ ่นื

17

3. ขน้ั สอน
3.1 นักเรียนจัดกลมุ ๆ ละ 4-5 คน คละเพศ และความสามารถ
3.2 นกั เรียนแตล ะกลุมศึกษา เรื่อง ความหมายของแรงและทาํ กิจกรรมท่ี 4.1 เร่ือง ผลของแรงทํา

ใหว ตั ถเุ ปลย่ี นรูปทรงโดยเนนใหนักเรียนรวมมือกันท างาน แสดงความคิดเหน็ กัน ภายในกลุมและยอมรับฟงความ
คดิ เหน็ ของกลุม

3.3 ขณะนักเรียนท ากิจกรรม ครูสังเกตการณท ากิจกรรมกลุมโดยใชแบบสังเกต การปฏิบัติ
กจิ กรรมกลุม

3.4 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปกิจกรรมที่ทําจากน้ันครูใหความรูเร่ือง ชนิดชองแรง แรงใน
ธรรมชาติ โดยใชสื่อ PowerPoint ประกอบการอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็

3.5 ครูใหน กั เรียนทาํ ใบกจิ กรรมที่ 4.2 เร่อื ง แรงไฟฟา สถติ
3.6 ครูและนักเรียนรว มสรปุ กิจกรรมโดยใชค าํ ถามในใบกิจกรรม ประกอบในการสรปุ ผล
3.7 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับแรงอื่น และการนําไปใชป ระโยชน เชน แรงนวิ เคลียร
แรงเสียดทาน ลักษณะการเคล่ือนที่และปริมาณท่ีเกี่ยวของกับการเคลื่อนท่ีตามรายละเอียดในเอ
สารประกอบการสอน โดยใชสอื่ PowerPoint ประกอบ
3.8 นักเรียนทาํ ใบกจิ กรรมท่ี 4.3 เรื่อง การเคล่อื นที่ของวัตถุ
4. ขน้ั สรุป
4.1 นกั เรียนแตล ะกลุมสรุปบทเรียน โดยการเขียนเปน แผนที่ความคิด
4.2 นกั เรยี นทําแบบฝกหัดทายบทหนวยท่ี 4
4.3 นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นหนวยท่ี 4
สอื่ และแหลงการเรยี นรู
1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 4 เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ใบกิจกรรมท่ี 4.1-4.3 แบบฝกหัด
หนว ยท่ี 4 และแบบทดสอบกอนเรียน และหลงั เรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลงการเรียนรู หนงั สือ วารสาร เกยี่ วกบั วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และอนิ เทอรเ น็ต
การวดั และการประเมนิ ผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ตองไดคะแนน ไมน อยกวา รอยละ
70 ผา นเกณฑ
1.2 ทดสอบโดยใชแบบทดสอบกอนเรยี นหลงั เรยี น
1.3 สังเกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุมโดยใชแ บบประเมนิ ผล การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลมุ
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝกหดั

18

2. เกณฑก ารวดั และประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมวี ินัยและความรับผิดชอบตอ งไดคะแนน ไมน อยกวารอ ยละ 70

ผานเกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ งไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ
2.3 แบบประเมินพฤตกิ รรมปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลมุ ตองไดค ะแนนไมนอยกวา รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2.4 ใบกจิ กรรมตอ งไดคะแนนไมน อยกวา รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
2.5 แบบฝกหัดตอ งไดค ะแนนไมนอ ยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ

งานท่มี อบหมาย
งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหทบทวนเนอื้ หารวมท้ังความสมบรู ณข องแบบฝกหดั และใบกิจกรรม

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสําเรจ็ ของผูเรยี น
1. ผลการนาํ เสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทาํ แบบฝกหัดหนว ยท่ี 4
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หนว ยท่ี 4

เอกสารอา งอิง
1. หนังสือเรียนวชิ า วทิ ยาศาสตรเ พอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ (20000–1301)
2. เวบ็ ไซตแ ละสอ่ื ส่งิ พมิ พท ่เี กี่ยวขอ งกบั เนอื้ หาบทเรียนตามบรรณานุกรม

19

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาทพ่ี บ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกป ญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรแู บบบรู ณาการที่ 5 หนวยที่ 5 20

รหัสวิชา 20000-1301 วิชาวิทยาศาสตรเ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ สอนครงั้ ที่ 5
ชือ่ หนวย/เรอ่ื ง นาโนเทคโนโลยี จํานวน 3 ชัว่ โมง

แนวคิดสาํ คญั
นาโนเทคโนโลยีเปน กระบวนการสรางและสังเคราะหวสั ดุอปุ กรณเครื่องใชตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน

โดยการใชอ นุภาคขนาดนาโนผสมเขาไปในเน้อื วสั ดุดว ยเทคโนโลยีข้ันสูงใหเปน แบบซเู ปอรจว๋ิ เชน พลาสตกิ นาโน

จะมีคุณสมบตั แิ ขง็ แรง เบา ทนตอความรอ นกวา เดมิ หลายเทาตวั เปน ตน
สมรรถนะยอ ย

แสดงความรเู บอื้ งตน เกีย่ วกบั นาโนเทคโนโลยี
จดุ ประสงคการปฏบิ ตั ิ

1. บอกความหมายของนาโนเทคโนโลยี

2. บรรยายความเก่ียวของระหวา งนาโนเทคโนโลยีกับอตุ สาหกรรม

3. บอกสาขายอ ยของนาโนเทคโนโลยี
4. ยกตวั อยางและอธบิ ายนาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ

5. ยกตัวอยางผลิตภัณฑนาโนและบอกคณุ สมบตั ิของผลติ ภณั ฑ
ดานคุณธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมหยดนิ่งที่จะแกปญหา ความซ่ือสัตย ความรวมมือ

ชว ยเหลือเกือ้ กลู
เน้อื หาสาระ

5.1 ความหมายและความเปน มาของนาโนเทคโนโลยี

5.2 ความเก่ยี วของระหวางนาโนเทคโนโลยกี บั อุตสาหกรรม

5.3 สาขายอ ยของนาโนเทคโนโลยี

5.4 นาโนเทคโนโลยใี นธรรมชาติ
5.5 ผลติ ภณั ฑน าโน
กิจกรรมการเรยี นรู
1. เตรียมความพรอมในการเรียน โดยการเรียกชอ่ื สาํ รวจการแตง กาย พรอมทั้งบันทึกลงใน แบบสังเกต

ความมวี ินัยและความรบั ผิดชอบ

2. ขัน้ นาํ เขา สบู ทเรียน
3. ครแู จง จุดประสงคการเรยี นรู และใหนกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอนเรียนหนว ยท่ี 5 เนน ให ทําดวยความ

ซ่ือสัตย

21

4. ขั้นสอน ครใู หความรู บรรยาย อธบิ าย โดยใชสอ่ื PowerPoint ประกอบ
5. ข้ันสรุป ครูใหนักเรียนแตละกลุมสรุปบทเรียน โดยการจัดท าแผนท่ีความคิด และ มอบหมายใหทํา
แบบฝก หดั ทายบท
6. ใหน ักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนหนว ยท่ี 5
สอ่ื และแหลง การเรยี นรู
1. สือ่ การเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 5 เรื่อง นาโนเทคโนโลยี แบบฝกหัดหนวยที่ 5 และแบบทดสอบ
กอนเรยี น และหลงั เรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลง การเรียนรู หนงั สือ วารสาร เก่ยี วกับวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และอนิ เทอรเนต็
การวดั และการประเมนิ ผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล

1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ตองไดคะแนน ไมน อยกวารอ ยละ 70
ผา นเกณฑ

1.2 ทดสอบโดยใชแ บบทดสอบกอ นเรยี นหลังเรยี น
1.3 สงั เกตการปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ โดยใชแ บบประเมินผล การปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม ตรวจแบบฝก หดั
2. เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบตองไดคะแนน ไมนอยกวารอยละ 70

ผานเกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลังเรยี น ตอ งไดค ะแนนไมน อยกวา รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏบิ ัติกิจกรรมกลมุ ตอ งไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ผานเกณฑ
2.4 ใบกจิ กรรมตอ งไดคะแนนไมน อยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ
2.5 แบบฝกหัดตอ งไดค ะแนนไมน อยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ
งานท่มี อบหมาย
งานท่มี อบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ใหทํารายงาน
ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาํ เรจ็ ของผเู รียน
1. ผลการทาํ แบบฝก หัดหนวยที่ 5
2. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว ยที่ 5
เอกสารอา งอิง
1. หนงั สอื เรียนวิชา วทิ ยาศาสตรเ พือ่ พัฒนาทักษะชีวิต (20000–1301)

22

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอ สรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาท่ีพบ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรูแบบบรู ณาการท่ี 6 หนวยท่ี 6 23

รหัสวิชา 20000-1301 วิชาวิทยาศาสตรเ พื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ สอนคร้งั ที่ 6
ช่อื หนวย/เร่อื ง โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ
จํานวน 1 ชวั่ โมง

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั
1. อธบิ ายววิ ัฒนาการของแบบจาํ ลองอะตอมได
2. อธบิ ายวธิ สี าํ รวจตรวจสอบเกีย่ วกบั อนภุ าคมลู ฐานของอะตอมได

แนวคิดสําคัญ
อะตอม เปนอนุภาคท่ีเล็กมองไมเห็นดวยตาเปลา การศึกษาโครงสรางอะตอมนกั วิทยาศาสตร ตองสราง

แบบจําลองอะตอม และตั้งทฤษฎีข้ึนมาเพื่อใชอธิบายปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ ทดลอง แบบจําลอง
อะตอมมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงไปตลอด เนื่องจากมีการทดลองคนพบสิ่งใหม ๆ ท่ีเกิดขึ้นในอะตอม และ
แบบจําลองอะตอมเดิมไมสามารถใชอธิบายได นักวิทยาศาสตรจึงตองสราง แบบจําลองอะตอมขึ้นใหมเพื่อใช
อธิบาย อยางไรก็ตามปจ จุบนั นักวิทยาศาสตรพบวาในอะตอมจะมี อนภุ าคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน
และอิเล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอนจะอยตู รงกลาง อะตอมเรียกวานิวเคลียส สวนอเิ ล็กตรอนจะเคล่ือนที่รอบ
นิวเคลียสเปนช้ัน แตละชั้นจะมีจํานวน อิเล็กตรอนไมเทากัน จํานวนอิเล็กตรอนสูงสุดในแตละช้ันหาไดจากสูตร
2n2 และจํานวนอเิ ล็กตรอน วงนอกสุดมีไดไมเกิน 8 อเิ ล็กตรอน การจัดเรยี งอิเล็กตรอนในแตล ะชั้นจะสัมพันธกับ
หมแู ละคาบใน ตารางธาตุ ซงึ่ ปจ จุบันตารางธาตแุ บงออกเปน 8 หมู 7 คาบ

สมรรถนะยอ ย
แสดงความรูแ ละปฏิบัตเิ ก่ียวกับโครงสรางอะตอมและตารางธาตุ

จดุ ประสงคก ารปฏิบตั ิ
ดานความรู
1. ระบแุ บบจาํ ลองอะตอมของนกั วิทยาศาสตรส มัยตาง ๆ

2. ระบุวธิ ที ดลองของนักวิทยาศาสตรท ่คี น พบอิเล็กตรอน

3. เขยี นสญั ลักษณของธาตุ

ดานทักษะ
1. อธบิ ายลกั ษณะสําคัญของแบบจําลอง อะตอม
2. ระบุรูปภาพแบบจําลองอะตอมแตละแบบ

3. เขียนสัญลักษณธาตุทก่ี าํ หนดให

24

ดานคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค
1. มีวินยั
2. ใฝเรียนรู
3. มุงม่ันในการทํางาน

ดา นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมหยดนิ่งท่ีจะแกปญหา ความซ่ือสัตย ความ

รว มมือ ใชอ ุปกรณท ดลองอยางฉลาดและรอบคอบ

เนื้อหาสาระ
4.1 การพัฒนาแบบจาํ ลองอะตอม อะตอม เปนอนุภาคทีเ่ ล็กมองไมเ ห็นดวยตาเปลา การศึกษาโครงสราง

อะตอมนักวิทยาศาสตร ตองสรางแบบจําลองอะตอม และตั้งทฤษฎีข้ึนมาเพ่ือใชอธิบายปรากฏการณตาง ๆ ที่
เกิดข้ึนจากการ ทดลอง แบบจําลองอะตอมมีการพัฒนาเปลยี่ นแปลงไปตลอด เน่ืองจากมกี ารทดลองคนพบสงิ่ ใหม
ๆ ที่เกิดข้ึนในอะตอม และแบบจําลองอะตอมเดมิ ไมสามารถใชอธิบายได นักวิทยาศาสตรจ ึงตองสราง แบบจําลอง
อะตอมขนึ้ ใหมเ พื่อใชอ ธิบาย

4.2 อนุภาคมูลฐานของอะตอม ในป ค.ศ.1932 (พ.ศ.2475) เจมส แซดวิก นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ
ไดท าการทดลอง ยิงอนุภาคแอลฟาไปยังธาตุตาง ๆ และพบอนุภาคที่เปนกลางทางไฟฟาอยูในนิวเคลียส และ
เรียกชือ่ วา “นิวตรอน” การคนพบนิวตรอนทําใหความรูเก่ียวกับนิวเคลียสของอะตอมกระจางข้ึน ทาํ ใหทราบวา
อะตอมประกอบดวยอนุภาค 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน และเรียกอนุภาคท้ัง สามชนิดนี้วา
“อนภุ าคมูลฐานของอะตอม”

กจิ กรรมการเรียนรู
1. เตรียมความพรอมในการเรียน โดยการเรียกชือ่ สํารวจการแตงกาย พรอ มทง้ั บันทึกลงใน แบบสังเกต

ความมวี ินยั และความรับผิดชอบ
2. ข้นั นาํ เขาสูบทเรยี น
2.1 ครูฉายภาพดิโมครติ ุส นักปราชญชาวกรีกใหนักเรียนดูแลวสนทนา เรอ่ื ง ความเช่ือ ของคนใน
สมัยโบราณเก่ียวกับอะตอมวา เปนสิ่งท่ีเล็กท่ีสุดไมสามารถแบงแยกได แตปจจุบันความคิด
ดงั กลา วเปลย่ี นไปแลว จากนั้นโยงเขา สูการเรียนเก่ียวกับโครงสรางอะตอม
2.2 แจง จดุ ประสงคการเรยี นรู ขอ 1-3 ใหนักเรียนทราบ
3. ขัน้ สอน

25

3.1 นกั เรียนจัดกลมุ ๆ ละ 4-5 คน คละเพศ และความสามารถ
3.2 ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม เร่ือง กลองปริศนา โดยเนนให นักเรียนทํากิจกรรมดวยความ
ซอ่ื สัตยห า มเปดดภู ายในกลอง
3.3 นักเรียนตัวแทนกลุมนําเสนอผลการทํากิจกรรมและรวมกันอภิปรายกับครูผูสอน โดยครูใช
คําถามในกิจกรรมประกอบในการอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา การศึกษาส่ิงท่ีมองไมเห็นดวย ตาเปลา ถามี
เคร่ืองมอื หรอื อปุ กรณตา งๆ มาใชป ระกอบในการศึกษาคน ควา จะทําใหไดขอ สรุปท่ี ใกลเคียงความจรงิ มากที่สุด
3.4 ครูใหความรู เร่ือง แบบจําลองอะตอมของดอลตัน แบบจําลองอะตอมของ ทอม สัน
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด แบบจําลองอะตอมของนลี สโบร และแบบจาํ ลองอะตอม แบบกลุมหมอก
และอนุภาคมลู ฐานของอะตอม และสัญลักษณนิวเคลียร โดยใชส ่ือ PowerPoint
3.5 ครูใหนักเรียนแตละกลมุ ทําใบกจิ กรรมท่ี 6.1-6.2 ครทู าํ หนาที่สังเกตและให ขอ แนะนาํ การทํา
กจิ กรรม
4. ข้ันสรปุ
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลการทํากจิ กรรมในใบกิจกรรมที่ 6.1–6.2 เพ่ือ สรุปเน้ือหาท่ีเรียน
และมอบหมายใหท าํ แบบฝกหัดทา ยบทขอ 1–5 เปน การบาน
สื่อและแหลง การเรียนรู
1. สอื่ การเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 6 เรื่อง โครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ ใบกิจกรรม ท่ี 6.1–6.2
แบบฝก หดั หนวยท่ี 6 และแบบทดสอบกอ นเรียน และหลังเรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลงการเรียนรู หนงั สือ วารสาร เก่ยี วกบั วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และอนิ เทอรเนต็
การวัดและการประเมนิ ผล
1. การวัดผลและการประเมินผล
1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ตอ งไดค ะแนน ไมน อยกวารอ ยละ 70
ผานเกณฑ
1.2 ทดสอบโดยใชแบบทดสอบกอ นเรียนหลงั เรยี น
1.3 สงั เกตการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ โดยใชแ บบประเมินผล การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุม
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม ตรวจแบบฝกหดั
2. เกณฑก ารวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรบั ผิดชอบตองไดค ะแนน ไมนอยกวารอยละ 70
ผา นเกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลังเรยี น ตองไดคะแนนไมนอ ยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมปฏิบัติกิจกรรมกลุม ตอ งไดคะแนนไมน อยกวารอ ยละ 60 ผานเกณฑ

26

2.4 ใบกิจกรรมตองไดคะแนนไมน อยกวารอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2.5 แบบฝก หัดตองไดค ะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ
งานทีม่ อบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหทบทวนเนื้อหารวมท้ังความสมบูรณของแบบฝกหัด และใบ
กจิ กรรม
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสําเร็จของผเู รียน
1. ผลการนาํ เสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทําแบบฝกหดั หนวยท่ี 6
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนวยท่ี 6
เอกสารอางอิง
1. หนงั สือเรียนวิชา วทิ ยาศาสตรเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ (20000–1301)
2. เว็บไซตและสือ่ สง่ิ พิมพท่ีเก่ยี วของกบั เนอ้ื หาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บันทกึ หลงั การสอน

ขอ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาทพี่ บ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

27

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกป ญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการที่ 6 หนว ยท่ี 6

รหัสวชิ า 20000-1301 วิชา วิทยาศาสตรเพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ิต สอนครัง้ ท่ี 7

ชอื่ หนว ย/เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ จํานวน 3 ชัว่ โมง

................................................................................................................................................................

แนวคิดสาํ คัญ
อะตอม เปนอนุภาคท่ีเลก็ มองไมเหน็ ดวยตาเปลา การศึกษาโครงสรางอะตอมนกั วิทยาศาสตร ตองสราง

แบบจําลองอะตอม และต้ังทฤษฎขี ึ้นมาเพื่อใชอธบิ ายปรากฏการณตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการ ทดลอง แบบจําลอง
อะตอมมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงไปตลอด เนื่องจากมีการทดลองคนพบสิ่งใหม ๆ ท่ีเกิดขึ้นในอะตอม และ
แบบจําลองอะตอมเดิมไมสามารถใชอธิบายได นักวิทยาศาสตรจึงตองสราง แบบจําลองอะตอมข้ึนใหมเพื่อใช
อธิบาย อยางไรก็ตามปจ จุบนั นักวิทยาศาสตรพบวาในอะตอมจะมี อนภุ าคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน
และอิเล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอนจะอยูต รงกลาง อะตอมเรียกวา นิวเคลียส สวนอิเล็กตรอนจะเคล่ือนท่ีรอบ
นวิ เคลียสเปนช้ัน แตละชั้นจะมีจํานวน อิเล็กตรอนไมเทากัน จ านวนอิเล็กตรอนสูงสุดในแตละชั้นหาไดจากสูตร

28

2n2 และจํานวนอเิ ล็กตรอน วงนอกสุดมีไดไ มเกิน 8 อเิ ล็กตรอน การจัดเรียงอิเล็กตรอนในแตละชั้นจะสัมพันธก ับ
หมแู ละคาบใน ตารางธาตุ ซ่ึงปจจบุ นั ตารางธาตแุ บงออกเปน 8 หมู 7 คาบ
สมรรถนะยอย

แสดงความรแู ละปฏบิ ตั ิเก่ียวกับโครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ
จุดประสงคการปฏบิ ตั ิ
ดานความรู

1. ระบุแบบจําลองอะตอมของนกั วิทยาศาสตรส มยั ตา ง ๆ
2. ระบวุ ิธีทดลองของนกั วทิ ยาศาสตรทีค่ น พบอเิ ลก็ ตรอน
3. อธิบายชนิดและสมบัติของอนุภาคมูลฐานในอะตอม
4. อธบิ ายความหมายของเลขอะตอม และมวลอะตอม
5. บอกจํานวนอนภุ าคมลู ฐานของอะตอม เม่อื ทราบเลข อะตอมและมวลอะตอมของธาตุ
6. เขยี นสัญลักษณน ิวเคลยี ร เม่ือทราบเลขอะตอมและเลขมวลของธาตุ
7. ระบอุ นภุ าคมูลฐานของอะตอมไดเมอื่ ทราบสัญลกั ษณ นวิ เคลียร
8. อธบิ ายความหมายของไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร
9. ระบุธาตุท่เี ปนไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร
10. สามารถนาํ ประโยชนข องไอโซโทปไปใชในงานตาง ๆ
11. บอกสูตรทีใ่ ชและคาํ นวณจํานวนอเิ ล็กตรอนสงู สดุ ใน แตละระดับพลังงาน
12. จดั เรียงอิเล็กตรอนและบอกจ านวนเวเลนซอเิ ล็กตรอนของธาตุเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ
13. ระบุชื่อนกั วทิ ยาศาสตรท่ีเสนอสัญลกั ษณข องธาตุโดย ใชรูปภาพและอกั ษรยอ
14. เขยี นสญั ลกั ษณข องธาตุ
15. อธบิ ายการจดั ตารางธาตใุ นปจ จุบนั
16. ระบตุ าํ แหนงทอี่ ยใู นตารางธาตุ เมอื่ ทราบเลขอะตอม ของธาตุ
17. ระบุความสมั พันธของการจัดเรียงอิเลก็ ตรอนกับหมู และคาบของตารางธาตุ
18. บอกสมบัติของธาตุที่อยใู นหมหู รอื คาบเดยี วกนั
ดา นทักษะ
1. ใชทักษะการสังเกตและลงความเหน็ จากขอมูลที่ไดจ ากการสังเกต
2. วาดภาพวัตถทุ ่ีอยภู ายในกลองตามจินตนาการ
3. อธิบายลกั ษณะสาํ คัญของแบบจําลอง อะตอม
4. ระบุรปู ภาพแบบจําลองอะตอมแตล ะแบบ
5. บอกจํานวนอนุภาคมูลฐาน เม่ือทราบเลขอะตอมและเลขมวลของธาตุ

29

6. เขียนสัญลกั ษณนวิ เคลยี รข องธาตไุ ด เมอื่ ทราบเลขอะตอมและเลขมวล
7. อธบิ ายความหมายของไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร
8. ระบุธาตุที่เปนไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร
9. จดั เรยี งอิเล็กตรอนและบอกจํานวน เวเลนซอ เิ ลก็ ตรอนของธาตุ เมอื่ ทราบเลขอะตอมของธาตุ
10. เขียนสัญลักษณธ าตุท่ีกําหนดให
ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมหยดน่ิงท่ีจะแกปญหา ความซื่อสัตย ความรวมมือ ใช
อุปกรณทดลองอยางฉลาดและรอบคอบ

เนือ้ หาสาระ
4.1 การพัฒนาแบบจําลองอะตอม อะตอม เปนอนุภาคทเ่ี ล็กมองไมเ ห็นดวยตาเปลา การศึกษาโครงสราง

อะตอมนักวิทยาศาสตร ตองสรางแบบจําลองอะตอม และต้ังทฤษฎีข้ึนมาเพ่ือใชอธิบายปรากฏการณตาง ๆ ที่
เกดิ ขึ้นจากการ ทดลอง แบบจาํ ลองอะตอมมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงไปตลอด เนื่องจากมีการทดลองคน พบส่งิ ใหม
ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ในอะตอม และแบบจําลองอะตอมเดิมไมสามารถใชอ ธิบายได นกั วิทยาศาสตรจ ึงตองสราง แบบจําลอง
อะตอมขน้ึ ใหมเ พอื่ ใชอ ธบิ าย

4.2 อนุภาคมูลฐานของอะตอม ในป ค.ศ.1932 (พ.ศ.2475) เจมส แซดวิก นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ
ไดท าการทดลอง ยิงอนุภาคแอลฟาไปยังธาตุตาง ๆ และพบอนุภาคที่เปนกลางทางไฟฟาอยูในนิวเคลียส และ
เรียกชื่อวา “นิวตรอน” การคนพบนิวตรอนทําใหความรูเก่ยี วกับนิวเคลียสของอะตอมกระจางขึ้น ทาํ ใหทราบวา
อะตอมประกอบดวยอนุภาค 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน และเรียกอนุภาคท้ัง สามชนิดน้ีวา
“อนุภาคมลู ฐานของอะตอม”

กิจกรรมการเรียนรู
1. เตรียมความพรอมในการเรียน โดยการเรียกชื่อ ส ารวจการแตง กาย พรอมทั้งบันทกึ ลงใน แบบสงั เกต

ความมวี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ
2. ข้ันนาํ เขาสูบ ทเรยี น
2.1 ครูฉายภาพดโิ มคริตุส นกั ปราชญชาวกรีกใหนักเรียนดูแลวสนทนา เรื่อง ความเชื่อ ของคนใน
สมัยโบราณเก่ียวกับอะตอมวา เปนส่ิงที่เล็กท่ีสุดไมสามารถแบงแยกได แตปจจุบันความคิด
ดังกลา วเปล่ียนไปแลวจากน้นั โยงเขาสกู ารเรยี นเก่ยี วกบั โครงสรางอะตอม
2.2 แจงจุดประสงคก ารเรียนรู ขอ 1-7 ใหนักเรยี นทราบ และใหท ําแบบทดสอบกอน เรียน เนนให
ทําดวยความซ่อื สัตย

30

3. ข้ันสอน
3.1 นักเรียนจัดกลุมๆ ละ 4-5 คน คละเพศ และความสามารถ
3.2 ครูใหนักเรียนท ากิจกรรม ใบกิจกรรมท่ี 6.1 เรือง กลองปริศนา โดยเนนให นักเรียนทํา

กจิ กรรมดวยความซ่อื สตั ยห า มเปด ดภู ายในกลอง
3.3 นักเรียนตัวแทนกลุม น าเสนอผลการท ากจิ กรรมและรว มกันอภิปรายกับครผู สู อน โดยครใู ชค

าถามในกิจกรรมประกอบในการอภิปรายเพ่ือใหไดขอสรุปวา การศึกษาส่ิงที่มองไมเห็นดวย ตาเปลา ถามี
เคร่ืองมือหรืออปุ กรณตางๆ มาใชป ระกอบในการศึกษาคน ควาจะทาํ ใหไดขอสรุปท่ี ใกลเคยี งความจริงมากทสี่ ุด

3.4 ครูใหความรู เร่ือง แบบจําลองอะตอมของดอลตัน แบบจ าลองอะตอมของ ทอม สัน
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟ อรด แบบจําลองอะตอมของนลี สโบร และแบบจาํ ลองอะตอม แบบกลุมหมอก
และอนภุ าคมลู ฐานของอะตอม และสัญลักษณนิวเคลยี ร โดยใชส ่ือ PowerPoint

3.5 ครใู หนักเรยี นแตละกลมุ ทาํ ใบกิจกรรมท่ี 6.1-6.4 ครทู ําหนาที่สังเกตและให ขอแนะนาํ การทํา
กิจกรรม

4. ข้ันสรปุ
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลการทํากิจกรรมในใบกิจกรรมท่ี 6.1–6.4 เพ่ือ สรุปเนื้อหาที่เรียน
และมอบหมายใหท าํ แบบฝก หัดทา ยบทขอ 1–5 เปนการบา น
ส่อื และแหลง การเรยี นรู
1. สอื่ การเรียนรู หนงั สือเรียน หนวยท่ี 6 เร่ือง โครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ ใบกิจกรรม ท่ี 6.1–6.8
แบบฝกหดั หนว ยที่ 6 และแบบทดสอบกอ นเรยี น และหลังเรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลง การเรยี นรู หนงั สอื วารสาร เก่ยี วกบั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และอนิ เทอรเ นต็
การวดั และการประเมินผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล

1.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมวี ินัย และความรับผิดชอบ ตองไดคะแนน ไมน อยกวารอ ยละ 70
ผา นเกณฑ

1.2 ทดสอบโดยใชแบบทดสอบกอ นเรียนหลังเรยี น
1.3 สังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรมกลมุ โดยใชแ บบประเมนิ ผล การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม ตรวจแบบฝก หัด
2. เกณฑการวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรบั ผิดชอบตองไดค ะแนน ไมนอยกวารอ ยละ 70
ผานเกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตองไดค ะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ

31

2.3 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมปฏบิ ัติกจิ กรรมกลมุ ตองไดคะแนนไมน อ ยกวารอยละ 60 ผา นเกณฑ
2.4 ใบกจิ กรรมตอ งไดค ะแนนไมน อยกวา รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
2.5 แบบฝก หัดตอ งไดคะแนนไมน อ ยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ
งานท่มี อบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหทบทวนเน้ือหารวมท้ังความสมบูรณของแบบฝกหัด และใบ
กิจกรรม
ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสําเรจ็ ของผเู รียน
1. ผลการนําเสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทําแบบฝก หัดหนวยที่ 6
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนวยท่ี 6
เอกสารอางอิง
1. หนังสอื เรยี นวิชา วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต (20000–1301)
2. เว็บไซตและสื่อส่งิ พมิ พทีเ่ ก่ียวของกบั เน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บันทึกหลงั การสอน

ขอสรุปหลังการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาท่พี บ
................................................................................................................................................................

32

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรแู บบบูรณาการท่ี 6 หนวยที่ 6

รหัสวชิ า 20000-1301 วิชา วทิ ยาศาสตรเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิต สอนคร้งั ที่ 8-10

ชื่อหนวย/เรือ่ ง สารและการเปลย่ี นแปลง จาํ นวน 9 ชัว่ โมง

................................................................................................................................................................

แนวคดิ สําคัญ
สารตาง ๆ ในโลกมีมากมายหลายชนิด การศึกษาเก่ียวกับสารจึงตองจัดหมวดหมูเพ่ือ ประโยชนตอ

การศึกษาคนควาโดยการกําหนดเกณฑเพ่ือใชในการจาํ แนกสาร เมื่อใชเน้ือสารเปน เกณฑจะจําแนกสารออกเปน
2 ประเภท ไดแก สารเนื้อเดียว และสารเนื้อผสม สารเนื้อเดียวยังแบง ออกเปนสารละลายและสารบริสุทธ์ิ และ
สารบรสิ ุทธิ์ยังแบง ออกเปน ธาตุกบั สารประกอบ การจัด จาํ แนกสารเม่อื ใชอนุภาคเปนเกณฑจ ะแบงได 3 ประเภท
เรียงล าดับตามขนาดของอนุภาคจากใหญ ไปเล็ก ไดแก สารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลายสารตาง ๆ มี
การเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา อาจเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งการ

33

เปลี่ยนแปลงท้ังสองอยาง น้ีจะแตกตางกันโดยการเปล่ียนแปลงทางเคมีจะมีสารใหมเกิดข้ึนท าใหการยึดเหนี่ยว
ของอะตอมใน โครงสรางเปลี่ยนไป
สมรรถนะยอย

แสดงความรูแ ละปฏิบตั ิเกี่ยวกับสารและการเปลี่ยนแปลง
จุดประสงคก ารปฏบิ ตั ิ

ดา นความรู
1. บอกความแตกตา งของสมบตั ิทางกายภาพและทางเคมี
2. จาํ แนกความแตกตางระหวางสารเนือ้ เดยี วกบั สารเนอื้ ผสม
3. ระบสุ มบัติของธาตุทีเ่ ปนโลหะ อโลหะและกึง่ โลหะ
4. แยกตัวทาํ ละลายและตัวละลาย เมื่อกาํ หนด องคป ระกอบของสารละลายมาให
5. จําแนกประเภทของสาร เมือ่ กําหนดสารมาให
6. ระบุสมบตั ขิ องสารประเภทสารแขวนลอย คอลลอยด และสารละลาย
7. จาํ แนกการเปล่ยี นปลงทางกายภาพ และทางเคมีของ สารในชีวติ ประจําวัน
8. อธิบายแรงยึดเหนี่ยวของสารที่มสี ถานะของแข็ง ของเหลว และแกส
9. อธบิ ายสัมพนั ธข องพลงั งานความรอนทเี่ กีย่ วขอ งกบั การเปล่ียนสถานะ
10. ระบุปจ จัยท่มี ีผลตอการละลายของสาร
11. บอกสารตงั้ ตน และผลิตภณั ฑในปฏกิ ิริยาเคมี
ดานทักษะ
1. แยกตวั ทําละลายและตัวละลาย เมอ่ื กําหนดองคประกอบของสารละลายมาให
2. จาํ แนกประเภทของสาร เมือ่ กําหนด สารมาให
3. จาํ แนกการเปลี่ยนแปลงของสารในชีวติ ประจําวัน
4. อธิบายสมั พนั ธของพลังงานความรอนทเ่ี กย่ี วของกบั การเปลีย่ นสถานะ
5. ทาํ การทดลองการละลายของสารใน ตัวทาํ ละลายตาง ๆ
6. อธิบายการละลายแบบดูดความรอน และคายความรอ น
7. ใชเครอ่ื งมือตามการทดลอง

ดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมห ยดนิ่งท่ีจะแกปญหา ความ ซ่ือสัตย ความรวมมือ ใช

อุปกรณท ดลองอยางฉลาดและรอบคอบ
เนือ้ หาสาระ

34

7.1 สาร
สาร (Substance) หมายถึงส่ิงตา ง ๆ ท่อี ยูร อบตวั ของเราซ่งึ สามารถสมั ผสั ไดด วยประสาท ทั้ง 5
7.2 สมบัติของสาร สมบตั ิของสาร แบงเปน 2 ประเภท ไดแก สมบตั ิทางกายภาพ และสมบตั ทิ างเคมี
7.3 การจําแนกสาร

7.3.1 การจาํ แนกสารเม่อื ใชลักษณะเนื้อของสารเปนเกณฑสารเนอ้ื เดยี วยงั แบงออกเปน 2 ชนิด
ไดแก สารบรสิ ุทธ์ิ และสารละลาย

7.3.2 การจัดกลุมสารเม่ือใชขนาดของอนุภาคเปนเกณฑจะแบงได 3 กลุม คือ สารแขวนลอย
คอลลอยด และสารละลาย
7.4 การเปลี่ยนแปลงของสารการเปล่ยี นแปลงของสาร หมายถงึ การท่สี ารมีสมบตั ิตางไปจากเดมิ เชน มีสี
กลิ่น รส รปู ราง หรอื สถานะเปลีย่ นไป การเปล่ียนแปลงบางอยางอาจทาํ ใหมสี ารใหมเ กิดขึ้น หากใชสมบตั ิของ สาร
เปน เกณฑจะสามารถจาํ แนกประเภทของการเปล่ียนแปลงได 2 ประเภท คือ การเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพ และ
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
กจิ กรรมการเรยี นรู
1. เตรียมความพรอ มในการเรยี น โดยการเรียกชือ่ ส ารวจการแตง กาย พรอ มทั้งบันทึกลงใน แบบสงั เกต
ความมวี นิ ัยและความรบั ผิดชอบ
2. ขั้นนาํ เขา สบู ทเรยี น
3. ครูแจง จุดประสงคการเรยี นรู ขอ 1–5 และใหนกั เรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนหนว ยที่ 7 สารและการ
เปลี่ยนแปลง เนน ใหทําดวยความซ่อื สัตย
4. ข้ันสอน ครูใหความรู บรรยาย อธิบาย โดยใชส่ือ PowerPoint ประกอบ และใหนักเรียน ทําใบ
กิจกรรมที่ 7.1–7.3
5. ครแู ละนักเรยี นรว มสรปุ กิจกรรมทท่ี าํ
6. ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนแตละกลุมสรุปบทเรียน โดยการจัดทําแผนท่ีความคิด และ มอบหมายใหทํา
แบบฝก หัดทา ยบท
สื่อและแหลงการเรยี นรู
1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 7 เร่ือง สารและการเปลี่ยนแปลง ใบกิจกรรมท่ี 5.1– 5.5
แบบฝก หดั หนว ยที่ 7 และแบบทดสอบกอ นเรียน และหลังเรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลงการเรียนรู หนังสือ วารสาร เก่ียวกับวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และอนิ เทอรเนต็
การวัดและการประเมินผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล

35

1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินยั และความรับผิดชอบ ตอ งไดคะแนน ไมนอยกวารอยละ 70
ผา นเกณฑ

1.2 ทดสอบโดยใชแบบทดสอบกอ นเรยี นหลงั เรยี น
1.3 สงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุมโดยใชแบบประเมนิ ผล การปฏบิ ัติกิจกรรมกลมุ
1.4 ตรวจใบกิจกรรม ตรวจแบบฝกหดั
2. เกณฑการวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบตองไดคะแนน ไมนอยกวารอยละ 70
ผานเกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลังเรยี น ตอ งไดค ะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผา นเกณฑ
2.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุม ตอ งไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ
2.4 ใบกจิ กรรมตองไดคะแนนไมน อยกวารอยละ 60 ผานเกณฑ
2.5 แบบฝกหัดตองไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ งานท่ีมอบหมาย งานที่มอบหมาย
นอกเหนอื เวลาเรยี น ใหท บทวนเนอื้ หารวมทัง้ ความสมบรู ณข องแบบฝกหดั และใบกิจกรรม
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความส าเรจ็ ของผูเรยี น
1. ผลการนาํ เสนองานจากใบกิจกรรม
2. ผลการทาํ บบฝกหดั หนวยที่ 5
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว ยที่ 5
เอกสารอางอิง
1. หนงั สือเรยี นวชิ า วิทยาศาสตรเ พื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต (20000–1301)
2. เว็บไซตและส่อื สง่ิ พิมพทเ่ี กีย่ วขอ งกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บันทึกหลังการสอน

ขอสรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

36

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญหาทพี่ บ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกป ญหา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรแู บบบูรณาการท่ี 7 หนว ยที่ 7

รหัสวชิ า 20000-1301 วิชา วิทยาศาสตรเ พ่อื พฒั นาทกั ษะชีวิต สอนครง้ั ที่ 11-13
ชือ่ หนวย/เรอื่ ง ปฏิกริ ิยาเคมใี นชวี ติ ประจําวนั จาํ นวน 9 ชวั่ โมง

แนวคิดสาํ คัญ
รอบ ๆ ตัวเราและในรางกายเรามีปฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึนอยูตลอดเวลา ปฏิกิริยาเคมีเกิดจาก กระบวนการ

เปล่ียนแปลงโครงสรางของสารตาง ๆ มีผลใหพลังงานของระบบเปล่ียนไป และให ผลิตภัณฑหรือสารใหมเกิดขึ้น

ปฏกิ ริ ิยาเคมีบางชนดิ เกิดขึ้นเอง แตบ างชนิดตองไดร ับพลงั งานจ านวน หน่งึ กอนจึงจะเกิดปฏกิ ิรยิ าไดป ฏกิ ิรยิ าเคมี

37

หลายชนิดสามารถนํามาใชประโยชนในชีวิตประจําวันใน อุตสาหกรรมเกษตรกรรม และทางการแพทย ใน
ขณะเดยี วกนั ปฏกิ ริ ิยาบางชนิดก็ใหผ ลลบตอ สิ่งแวดลอมและชีวติ ของมนุษยเ องปฏิกิริยาเคมแี ตละชนิดมีอัตราการ
เกิดปฏกิ ิริยาทแ่ี ตกตางกัน ขนึ้ อยู กับปจจัยหลัก 5 ประการ ไดแก ความเขมขน พื้นที่ผิวอุณหภูมิ ตวั เรงปฏิกิริยา
และธรรมชาติของสาร ผลของปจจัยดังกลาวหาไดจากการทดลองการที่มนุษยสามารถปรับเปล่ียนและควบคุม
ปจจัยตาง ๆ ดังกลาว ทําใหมนุษยส ามารถใชป ระโยชนจ ากปฏิกิรยิ าเคมีได

สมรรถนะยอย
แสดงความรแู ละปฏบิ ัติเกย่ี วกบั ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี นชีวิตประจําวัน

จดุ ประสงคก ารปฏบิ ตั ิ
ดา นความรู
1. อธบิ ายการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี
2. อธบิ ายการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีแบบดดู ความรอนและคายความรอ น
3. ระบสุ ารตง้ั ตน และผลติ ภณั ฑใ นสมการเคมี
4. ใชส ญั ลกั ษณระบุสถานะของสารในสมการเคมี
5. ดลุ สมการเคมี
6. เขยี นสตู รความสมั พันธใ นการหาอตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
7. ระบุปจ จยั ท่มี ผี ลตอ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
8. อธบิ ายสมบตั ขิ องตัวเรงปฏกิ ิรยิ าเคมี
9. ระบุผลติ ภณั ฑท ี่เกดิ ข้ึนจากการเผาไหมท่ีสมบูรณและไมส มบรู ณ
10. อธิบายปฏกิ ริ ยิ าเคมีทีพ่ บเห็นในชีวติ ประจาํ วนั

ดานทักษะ
1. ดลุ สมการเคมี
2. ระบุสารต้งั ตน และผลิตภัณฑ พรอมระบุสถานะ
3. อธิบายปจ จยั ที่มีผลตอการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
4. เปรียบเทียบอตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมขี องสารตงั้ ตน ที่มพี ื้นท่ีผวิ ตางกนั
5. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีของสารตั้งตนระหวางการใชตัวเรงปฏิกริ ิยาเคมีกับไมใชตัวเรง
ปฏกิ ริ ิยาเคมี
6. ใชเ ครื่องมอื ตามการทดลอง

38

7. อธิบายปฏิกริ ิยาเคมีในชีวิตประจาํ วนั

ดา นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมหยดนิ่งท่ีจะแกปญหา ความซ่ือสัตย ความรวมมือ ใช

อุปกรณทดลองอยา งฉลาดและรอบคอบ

เน้ือหาสาระ
8.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกริ ยิ าเคมี (Chemical Reaction) หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงทที่ ําใหเ กดิ สาร

ใหม มี สมบัติตางจากสารเดิม สารในการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะตองมีสารท่ีเขาทําปฏิกิริยาซึ่งเรียกวา สารตั้งตน
(Substrate) และมีสารท่ีใหมท่ีเกิดข้ึนจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งเรียกวา ผลิตภัณฑ(Product)การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี อาจ
สังเกตไดจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ เชน สังเกตจากสีท่ีเปล่ียนไป สังเกตจากการเกิดตะกอน สังเกตจากกล่ินที่
เกิดขึ้น เปนตน การดุลสมการ คือ การเติมตัวเลขที่เหมาะสมหนาสัญลักษณหรือสูตรของสาร เพื่อทําใหจํานวน
อะตอมของแตล ะธาตใุ นสารต้ังตน เทา กบั ในผลติ ภณั ฑ

8.2 พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเขามาเก่ียวของดวยเสมอ ถาใช
การถายเทพลังงานเปน เกณฑจะแบงปฏิกิริยาเคมีออกเปน 2 ชนิด ไดแก ปฏิกิริยาคายความรอน ปฏิกิริยาดูด
ความรอ น

8.3 ปจ จัยท่ีมีผลตอการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ปฏิกริ ิยาเคมีจะเกิดขนึ้ ไดเร็วหรือไมสามารถวัดไดจากอัตราการ
เกิดปฏิกริ ิยา ซงึ่ พจิ ารณา จากปรมิ าณของสารตั้งตนที่ลดลงหรือปรมิ าณของผลิตภัณฑทีเ่ พ่มิ มากขึน้ ตอหนวยเวลา
ซ่งึ อาจดไู ด จากความเขม ขน ปริมาตร หรอื มวลของสารทีเ่ ปล่ยี นแปลงไปหลังจากเกิดปฏิกริ ยิ า

8.4 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาํ วัน ปฏิกิริยาเคมจี ะเกิดขนึ้ เร็วหรือชาข้ึนอยูกับปจจัยตาง ๆ หลายประการ
พ้นื ที่ผวิ ความ เขมขน ของสารตงั้ ตน ตวั เรงปฏกิ ริ ิยา ตวั หนว งปฏกิ ริ ิยา อณุ หภูมคิ วามดนั

กิจกรรมการเรียนรู
1. เตรียมความพรอมในการเรียน โดยการเรยี กช่อื สาํ รวจการแตง กาย พรอมทั้งบนั ทึกลงใน แบบสังเกต

ความมีวนิ ยั และความรับผิดชอบ
2. ขน้ั นําเขา สบู ทเรยี น
3. ครูแจง จุดประสงคการเรยี นรู ขอ 6–10
4. ขั้นสอน ครูใหความรู บรรยาย อธิบาย โดยใชส่ือ PowerPoint ประกอบ และใหนักเรียน ทําใบ

กจิ กรรมที่ 8.3
5. ครูและนกั เรยี นรวมสรปุ กจิ กรรมทท่ี าํ

39

6. ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนแตละกลุมสรุปบทเรียน โดยการจัดทําแผนที่ความคิด และ มอบหมายใหทํา
แบบฝก หัดทา ยบท

7. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรยี นหนวยที่ 8

สอื่ และแหลง การเรยี นรู
1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 8 เร่ือง ปฏิกิริยาในชีวิตประจําวัน ใบกิจกรรมท่ี 8.1–8.3

แบบฝกหัดหนว ยท่ี 8 และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรียน และ PowerPoint ประกอบการสอน
2. แหลงการเรียนรู หนังสือ วารสาร เกย่ี วกับวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และอนิ เทอรเ น็ต

การวดั และการประเมินผล
1. การวดั ผลและการประเมินผล

1.1 แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมีวนิ ยั และความรบั ผิดชอบ ตองไดค ะแนน ไมนอ ยกวารอ ยละ 70 ผา น
เกณฑ

1.2 ทดสอบโดยใชแ บบทดสอบกอนเรยี นหลงั เรียน
1.3 สงั เกตการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลมุ โดยใชแ บบประเมนิ ผล การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลมุ
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม ตรวจแบบฝกหัด
2. เกณฑการวดั และประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมีวินัยและความรับผดิ ชอบตองไดค ะแนน ไมนอย กวา รอยละ 70 ผาน
เกณฑ
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ งไดคะแนนไมนอยกวา รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
2.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมปฏิบัตกิ จิ กรรมกลมุ ตอ งไดค ะแนนไมนอ ยกวารอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
2.4 ใบกจิ กรรมตองไดค ะแนนไมนอ ยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ
2.5 แบบฝกหัดตองไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ งานท่ีมอบหมาย งานที่มอบหมาย
นอกเหนอื เวลาเรียน ใหทบทวนเนือ้ หารวมท้ังความสมบรู ณของแบบฝกหดั และใบกจิ กรรม
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสําเร็จของผูเรยี น
1. ผลการน าเสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการท าแบบฝก หัดหนวยที่ 8
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนวยท่ี 8
เอกสารอา งองิ
1. หนงั สอื เรียนวิชา วทิ ยาศาสตรเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ (20000–1301)

40

2. เว็บไซตแ ละสื่อส่ิงพิมพที่เกีย่ วขอ งกบั เนื้อหาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

บันทกึ หลังการสอน

ขอ สรุปหลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

41

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญ หาทพี่ บ
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรูแบบบรู ณาการที่ 8 หนว ยท่ี 8

รหัสวชิ า 20000-1301 วชิ าวทิ ยาศาสตรเ พ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ สอนครัง้ ท่ี 14-15

ช่ือหนวย/เรื่อง ความกาวหนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ จํานวน 6 ชวั่ โมง

................................................................................................................................................................

แนวคิดสาํ คัญ
เทคโนโลยชี ีวภาพเปนการน าความรมู าปรับปรุงสง่ิ มชี วี ิตใหม ีคุณภาพและใชป ระโยชนไ ดต าม ตอ งการ ใน

ยุคแรก ๆ มนษุ ยร ูจักใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการถนอมอาหาร และแปรรูปอาหารตามข้นั ตอน งาย ๆเชนการท าน

42

าปลา ปลารา เนยแข็ง และไวน เปนตน ตอมาไดพัฒนาวิธีการใชเทคโนโลยีชีวภาพให สูงขึ้น เชน ใชใน
อุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมผลติ ยาปฏิชีวนะ เปน ตน

สมรรถนะยอย
แสดงความรเู กี่ยวกับหลักการเทคโนโลยชี วี ภาพ

จุดประสงคเชงิ พฤติกรรม
ดา นความรู
1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยชี ีวภาพได
2. อธิบายการน าเทคโนโลยีชีวภาพไปใชใ นดานตาง ๆ ได
3. อธบิ ายความหมายของพันธุวิศวกรรมและการนําไปใชป ระโยชนได
4. อธิบายวธิ ีการผสมเทยี มได
5. อธิบายประโยชนและวิธีการถายฝากตัวออนได ดานคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมหยดน่ิงที่จะแกปญหา ความซื่อสัตย
ความรวมมือ

เน้อื หาสาระ
9.1 ความหมายของเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีชวี ภาพ แปลมาจากคาํ วา Biotechnology โดยใชคาํ วา

Bio รวมกับ Technology สําหรบั คําวา Bio มาจาก Biology (ชีววิทยา) เปนเร่อื งของสิ่งมีชวี ิตและ Technology
เปนการประยุกตใชความรูทางวิทยาศาสตร เมื่อนํามารวมเปน Biotechnology หมายถึง การใช ความรูเก่ียวกับ
สิ่งมชี ีวติ เพื่อสรา งผลิตภัณฑ และบริการทเ่ี ปนประโยชนต อมนษุ ย ความรทู างดา น เทคโนโลยชี วี ภาพไดถ ูกนํามาใช
ประโยชนในดานตาง ๆ ทั้งดานการเกษตร ดานอตุ สาหกรรม ดาน การแพทย ดานสาธารณสุข และดา นการผลิต
แหลงพลังงาน และนอกจากน้ันเทคโนโลยีชีวภาพดานพันธุวิศวกรรมเปนวิธีการท่ีไดรับความสนใจในปจจุบัน
เพราะเปน เทคโนโลยที ี่น าไปใชใ นการตัดตอยีนเพอื่ ดดั แปลงพันธกุ รรมของพชื และสตั ว

9.2 ประโยชนข องเทคโนโลยีชวี ภาพ
9.2.1 ดานการเกษตร
9.2.2 ดานอุตสาหกรรม
9.2.3 ดา นอนุรักษสง่ิ แวดลอม
9.2.4 ดา นพลังงาน
9.3 พนั ธุวิศวกรรม

43

9.3.1 ประโยชนของพันธวุ ิศวกรรม
9.3.2 โทษของพันธุวศิ วกรรม
9.4 การผสมเทียม การผสมเทียม (Artificial Insemination) หมายถึง การใชน้ําเชื้อฉีดเขาไปในอวัยวะ
สบื พนั ธุของสัตวตวั เมียในระยะเวลาเปนสัด เพือ่ ใหสัตวตัวเมียตั้งทอ งแลวคลอดลูกออกมาตามปกติ โดยไมตองให
สัตวผ สมพันธตุ ามธรรมชาติ
9.5 การถายฝากตัวออน การถายฝากตัวออน (EmbryoTransfer) หรือการถายฝากเอ็มบริโอ หมายถึง
การนาํ เอา ตัวออนท่ีเกิดจากการผสมพันธุระหวางไขของสตั วแ มพ ันธุแ ละเช้ือตัวผูของพอ พนั ธทุ ี่คดั เลือกไว ซ่งึ ลาง
เก็บออกมาจากมดลูกของแมพันธุ (ตัวให) แลวนําไปฝากใสไวใหเติบโตในมดลูกของตัวเมียอีกตัวหน่ึง (ตัวรับ)
จนกระทงั่ คลอด ขัน้ ตอนการถา ยฝากตวั ออ น ตวั รับจะตองมีสภาพมดลกู พรอ มที่จะรบั การฝง ตวั ของตวั ออนได
9.6 การโคลนน่ิง
9.7 ผลของเทคโนโลยชี ีวภาพตอ สงั คมและสงิ่ แวดลอม

กจิ กรรมการเรียนรู
1. เตรียมความพรอ มในการเรียนโดยการเรียกช่ือสํารวจการแตงกายพรอ มบนั ทึกลงในแบบ สังเกต ความ

มวี นิ ัย และความรับผดิ ชอบ
2. ขนั้ นําเขา สบู ทเรยี น
2.1 ครทู บทวนเนือ้ หาทเี่ รยี นในครงั้ ที่ 16
2.2 ครแู จง จดุ ประสงคก ารเรยี น
2.3 นกั เรียนจดั กลมุ ๆ ละ 5 คน
3. ข้นั สอนเนื้อหาสาระขอ 9.2
4. นักเรยี นนําเสนอกจิ กรรมที่ 9.1 และแบบฝกหัด ขณะท ากจิ กรรมครูจะสังเกตการณทาํ งานกลุม
5. ข้ันสรปุ ครูและนกั เรยี นรวมกนั เฉลยกจิ กรรม และรว มอภิปรายกับนักเรียน
6. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นหนว ยที่ 9

สอื่ และแหลงการเรยี นรู
1. ส่ือการเรียนรูหนังสือเรียน หนวยท่ี 9, ใบกิจกรรมที่ 9.1, PowerPoint ประกอบการสอนและ

แบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรยี น
2. แหลง การเรียนรู หนังสือ วารสาร เกีย่ วกบั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี อนิ เทอรเนต็

การวดั และการประเมินผล

44

1. แบบประเมินพฤตกิ รรม ความมีวินัย และความรบั ผิดชอบ ตองไดคะแนน ไมนอย กวา รอ ยละ 60 ผา น
เกณฑ

2. แบบทดสอบหลังเรียน ตองไดคะแนนไมนอยกวา รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
3. สังเกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุม โดยใชแบบประเมินผล การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลมุ ตองไดค ะแนนไมนอ ยกวา
รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
4. ตรวจกจิ กรรมการทดลอง ไมนอยกวารอยละ 60 ผานเกณฑ
5. ตรวจแบบฝกหัด ไมนอ ยกวา รอยละ 60 ผานเกณฑ งานที่มอบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลา
เรียน ใหท าแบบฝก หดั ใหเ สรจ็ เรยี บรอย ถกู ตอ ง สมบรู ณ

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสําเร็จของผเู รียน
1. ผลการทาํ และนําเสนองานจากกจิ กรรม
2. ผลการทําแบบฝก หัดหนวยที่ 3
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว ยที่ 9

เอกสารอา งองิ
1. หนงั สอื เรียนวชิ า วทิ ยาศาสตรเ พอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ (20000–1301)
2. เวบ็ ไซตแ ละส่ือส่ิงพมิ พทเี่ กยี่ วขอ งกับเน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ สรุปหลงั การสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

45

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญหาทพี่ บ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แนวทางแกปญ หา
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรแู บบบรู ณาการที่ 9 หนวยท่ี 9

รหัสวชิ า 20000-1301 วชิ าวทิ ยาศาสตรเพือ่ พัฒนาทกั ษะชวี ิต สอนคร้งั ที่ 16-17

ช่อื หนว ย/เรื่อง ระบบนิเวศ จาํ นวน 6 ชัว่ โมง

................................................................................................................................................................

แนวคิดสําคญั

46

ระบบนิเวศเปนระบบความสัมพันธของสิง่ มีชีวิตกบั ส่ิงแวดลอมทีอ่ าศยั อยูระบบนิเวศอาจมตี ้ังแตข นาดเล็ก
จนถึงขนาดใหญครอบคลุมท้ังโลก ความสัมพันธท่ีเกิดข้ึนทําใหส่ิงมีชีวิตอยู รวมกันไดอยางสมดุล โดยส่ิงมีชีวิตที่
อาศัยอยูตางมีการปรบั ตัวทั้งในดา นความสมั พันธระหวาง ส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกนั และตองปรับตัว
เก่ียวกับการรกั ษาดุลยภาพของรางกายใหค งที่ เพ่ือการอยูรอด

สมรรถนะยอย
แสดงความรแู ละปฏบิ ัตเิ กีย่ วกบั ระบบนเิ วศและดุลยภาพของสิ่งมชี ีวิต

จดุ ประสงคก ารปฏบิ ัติ
ดานความรู
1. อธบิ ายความหมายของระบบนิเวศ
2. บอกถงึ ผลดี ผลเสียของการอยรู วมกลุมกันของสิ่งมีชวี ติ ในระบบนเิ วศ
3. ยกตัวอยางและสรปุ ความสัมพันธระหวา งสงิ่ มีชีวติ ชนดิ เดยี วกนั และตา งชนดิ กนั ในรปู แบบตา ง ๆ
4. อธบิ ายและเขยี นโซอาหาร และสายใยอาหาร
5. อธิบายการถา ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ
6. อธิบายการรกั ษาดลุ ยภาพของน้าํ
7. อธบิ ายการรกั ษาดลุ ยภาพของกรดเบส
8. อธิบายการรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภมู ิ
ดา นทักษะ
1. แสดงความสมั พนั ธร ะหวางสิ่งมชี วี ิต ตางชนดิ กนั
2. เขียนโซอาหารและสายใยอาหารจากสง่ิ มีชวี ติ ท่กี าํ หนดให

ดา นคุณธรรมจริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดานการตรงตอเวลา ความสนใจใฝร ไู มห ยดุ นงิ่ ทจ่ี ะแกป ญหา ความซอื่ สตั ย

47

เนอ้ื หาสาระ
10.1 ความหมายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง ระบบความสัมพันธระหวางกลุม
สงิ่ มชี วี ิตกบั กลุม สิ่งมชี วี ติ และกลุมสิง่ มีชีวติ กับสง่ิ แวดลอ มในแหลง ที่อยบู รเิ วณหนึ่งทม่ี ีอาณาเขตแนน อน
10.2 ความสัมพันธของส่งิ มีชีวิตในระบบนิเวศ ความสัมพันธของสิง่ มชี ีวิตในระบบนเิ วศแบง ได2 ลักษณะ
คอื ความสมั พนั ธของสงิ่ มีชีวติ ชนดิ เดียวกนั และความสัมพันธข องส่ิงมชี วี ติ ตางชนิดกนั
10.3 การถายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ความสัมพันธข องส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศแบงได 2 ลักษณะ คือ
ความสมั พนั ธข องสง่ิ มชี วี ติ ชนิดเดยี วกนั และความสัมพันธข องส่งิ มชี วี ติ ตางชนดิ กัน
10.4 การรกั ษาดลุ ยภาพของนา้ํ นา้ํ เปน องคประกอบทส่ี ําคญั ของสิ่งมีชีวิต สิง่ มีชีวิตแตล ะชนดิ จะมีปริมาณ
น าในรางกาย แตกตางกันปกติจะมีน าประมาณ 40–95 % ของน้ําหนกั ตัว และมอี ยูในเนื้อเยื่อตาง ๆ ไมเทากัน
เชน ในฟนมนี ้ํานอ ยมาก ประมาณ 10% แตใ นสมองมนี ํ้ามากถงึ 95% ถา รางกายเกิดการสูญเสยี น้าํ เพยี ง 20% จะ
มีอันตรายถึงชีวิต แตถาเปนการสูญเสียโปรตีน และไขมันในขณะท่ีมีน้ําอยางเพียงพอรางกายสามารถสูญเสีย
โปรตนี ได ถึง 50% หรือสญู เสียไขมนั เกอื บ 100% กย็ ังมชี วี ติ อยูได
10.5 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสในรางกาย ความเปนกรด–เบส มีความเกี่ยวของกับการหายใจ ใน
การหายใจมแี กสทเ่ี ก่ียวของ 2 ชนิด คือแกส ออกซิเจนกับแกสคารบ อนไดออกไซด แกสทัง้ สองชนิดนี้มีปริมาณไม
เทากนั ในขณะที่ รางกายทาํ งานและขณะพักผอ น เชน เมื่อเราทํางานหรอื ออกกาํ ลังกาย จะทําใหรางกายมีปริมาณ
แกส คารบอนไดออกไซด ในเลือดสูงกวาปกตแิ กส คารบ อนไดออกไซดจ ะท าปฏิกิริยากบั นํ้าในเซลลเม็ด เลือดแดง
เกิดเปนกรดคารบอนิก (H2CO3) ซ่งึ จะแตกตัวใหไฮโดรเจนคารบอเนตไอออน (HCO3) และไฮโดรเจนไอออน (H
+)
10.6 การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมริ างกาย ในรางกายกระบวนการหายใจเกิดขึ้นตลอดเวลา การหายใจ
เปนการสลายสารอาหาร เพื่อใหไดพลังงาน พลังงานรูปหนึ่งท่ีเกิดข้ึน คือ พลังงานความรอน เซลลจะคอย ๆ
ปลดปลอย พลงั งานความรอ นออกมา จงึ ทาํ ใหอ ณุ หภมู ิของรางกายคอนขางคงที่

กจิ กรรมการเรียนรู
1. เตรียมความพรอมในการเรียนโดยการเรียกชื่อสํารวจการแตงกาย พรอมท้ังบันทึกลงใน แบบสังเกต

ความมีวินยั และความรับผดิ ชอบ
2. ข้ันนาํ เขาสูบทเรยี น
3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรู และใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวยที่ 10 เนนให ทําดวย

ความซอื่ สตั ย
4. ขั้นสอน ครูใหความรู บรรยาย อธิบาย โดยใชสื่อ PowerPoint ประกอบ และใหนักเรียน ทําใบ

กิจกรรมท่ี 10.1–10.2


Click to View FlipBook Version