The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษ

แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษ

๑.๑ ผลการพฒั นาผู้เรยี น
๑) มพี ฒั นาการตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คลทแ่ี สดงออก
ถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบคุ คล หรือแผนการใหบ้ ริการชว่ ยเหลอื เฉพาะครอบครวั
ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ท่ีแสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัด
การศกึ ษาเฉพาะบุคคล หรอื แผนการใหบ้ ริการช่วยเหลอื เฉพาะครอบครวั
๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อ เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน หรือการอาชีพหรือ
การดำ�เนินชวี ิตในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
ผเู้ รยี นมคี วามพรอ้ มสามารถเขา้ สบู่ รกิ ารชว่ งเชอ่ื มตอ่
หรือการส่งต่อ เข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงข้ึน หรือการอาชีพ
หรอื การดำ�เนินชวี ิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ช่วงเช่ือมต่อ หมายถึง การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
จากโปรแกรมหน่ึงไปสู่อีกโปรแกรมหน่ึง การเปล่ียนจากระดับหน่ึงไปสู่
อีกระดับหนึ่ง เช่น การเปลี่ยนแปลงสถานท่ี สภาพแวดล้อม ระยะเวลา
จากท่ีหน่ึงไปสู่ท่ีหน่ึง โดยมีเป้าหมายข้างหน้าที่ดีกว่าปัจจุบันท้ังภายใน
และภายนอกสถานศกึ ษา
การส่งต่อ หมายถึง การพัฒนาผู้เรียนให้สามารถ
สง่ ตอ่ ไปรบั บรกิ ารอน่ื ทเ่ี หมาะสมเชน่ บรกิ ารทางการแพทย์บรกิ ารทางสงั คม
บริการทางการศึกษา ไห้แก่ผู้เรียนเม่ือมีผลการพัฒนาศักยภาพผ่าน
ตามเกณฑท์ กี่ �ำ หนด สามารถสง่ ตอ่ เขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษาในชนั้ เรยี นทส่ี งู ขน้ึ
หรือยา้ ยสถานศกึ ษา หรือรับบริการดา้ นอื่นๆ ต่อไป
44

๑.๒ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผู้เรียน
๑) มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด
ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมเปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
จิตสำ�นึกตามท่ีสถานศึกษากำ�หนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม
อันดีงาม
๒) มคี วามภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทยตามศกั ยภาพ
ของผเู้ รยี นแต่ละบุคคล
ผู้เรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในท้องถิ่น และ
ความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณี รวมท้ัง
ภูมิปัญญาไทย ตามศกั ยภาพของผู้เรียนแตล่ ะบุคคล

การให้ระดบั คุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
กำ�ลังพฒั นา ๑.๑ ผลการพัฒนาผ้เู รียน

◆ ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ทแ่ี สดงออกถงึ ความรู้ความสามารถทกั ษะตามทรี่ ะบไุ ว้
ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการ
ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวต่�ำกว่าเป้าหมาย
ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด

๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
◆ ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตส�ำ นกึ ตามท่ีสถานศึกษา

45

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ปานกลาง ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน

ดี ◆ ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ท่ีแสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามที่
ระบไุ วใ้ นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล หรือแผน
การให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวเป็นไปตาม
เปา้ หมายท่ีสถานศึกษาก�ำ หนด

๑.๒ คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน
◆ ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสำ�นึกตามที่สถานศึกษากำ�หนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดงี าม เปน็ ไปตามเปา้ หมาย
ทส่ี ถานศึกษาก�ำ หนด

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
◆ ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ที่แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตามท่ี
ระบไุ ว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผน
การให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวเป็นไปตาม
เปา้ หมายที่สถานศกึ ษาก�ำ หนด
◆ ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเช่ือมต่อ
หรือการส่งต่อ เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้น หรือ
การอาชพี หรอื การด�ำ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต้ ามศกั ยภาพ
ของแต่ละบุคคลเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา
กำ�หนด

46

ระดับคุณภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ดีเลศิ ๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น

◆ ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสำ�นึกตามท่ีสถานศึกษากำ�หนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามเป็นไปตามเป้าหมาย
ที่สถานศกึ ษาก�ำ หนด

◆ ผู้เรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในท้องถ่ิน และความ
เป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ประเพณี รวมท้ังภูมิปัญญาไทย ตามศักยภาพของ
ผู้เรียนแต่ละบุคคลเป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กำ�หนด

๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน
◆ ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ทแี่ สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตามทร่ี ะบุ
ไวใ้ นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการ
ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวสูงกว่าเป้าหมาย
ท่สี ถานศกึ ษากำ�หนด
◆ ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อ เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน หรือ
การอาชพี หรอื การด�ำ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต้ ามศกั ยภาพ
ของแตล่ ะบคุ คลสงู กวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษาก�ำ หนด

47

ระดบั คุณภาพ ประเด็นพิจารณา
ยอดเยี่ยม ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รียน

◆ ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสำ�นึกตามที่สถานศึกษากำ�หนด โดยไม่ขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามสูงกว่าเป้าหมายท่ี
สถานศึกษากำ�หนด

◆ ผู้เรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในท้องถ่ิน และความ
เป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ประเพณี รวมทั้งภูมิปัญญาไทย ตามศักยภาพของ
ผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คลสงู กวา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด

๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน
◆ ผู้เรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ทแ่ี สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตามทรี่ ะบุ
ไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล หรือแผนการ
ให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวสูงกว่าเป้าหมาย
ท่สี ถานศึกษากำ�หนดอยา่ งต่อเนอ่ื ง
◆ ผู้เรียนมีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อ เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้น หรือ
การอาชพี หรอื การด�ำ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต้ ามศกั ยภาพ
ของแตล่ ะบคุ คลสงู กวา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด

๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
◆ ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จติ ส�ำ นกึ ตามทส่ี ถานศกึ ษาก�ำ หนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมาย
และวฒั นธรรมอนั ดงี าม สงู กวา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษา
กำ�หนดอยา่ งต่อเนอ่ื ง
◆ ผเู้รยี นแสดงออกถงึ ความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณี
รวมท้ังภูมิปัญญาไทย ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละ
บุคคล สงู กวา่ เปา้ หมายทีส่ ถานศึกษากำ�หนด

48

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำ�หนด
ชดั เจน
๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุกกล่มุ เป้าหมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการ
จัดการเรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร
จัดการและการจดั การเรยี นรู้
คำ�อธิบาย
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
กระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
มกี ารก�ำ หนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ อยา่ งชดั เจน สามารถด�ำ เนนิ งาน
พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทำ�แผนพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษา ดำ�เนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญ
ทางวิชาชีพ และจัดทำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการ
บริหารจัดการและการเรียนรู้ รวมท้ังจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ
สังคมที่เอื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้

49

๒.๑ มเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำ หนด
ชดั เจน
สถานศกึ ษามเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน
วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล และของ
ตน้ สังกดั รวมทง้ั ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของสังคม
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
อย่างเป็นระบบท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
การนำ�แผนไปสู่การปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตาม
ตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพฒั นางานอย่างตอ่ เนื่อง มีการบรหิ าร
อัตรากำ�ลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สร้างการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ร่วมรับผิดชอบต่อผลการ
จดั การศึกษา
๒.๓ ด�ำ เนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รียนทุกกล่มุ
เป้าหมายอยา่ งรอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาบริหารจัดการเกยี่ วกบั งานวชิ าการ ท้งั ด้าน
การพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนตาม
ศักยภาพและประเภทของความพิการ และให้ครอบคลุมทุกประเภท
ความพกิ าร เชอ่ื มโยงชวี ิตจรงิ
๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ
สถานศกึ ษาส่งเสริม สนับสนุน พฒั นาครแู ละบคุ ลากร
ให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี และนำ�กระบวนการของชมุ ชนการเรียนรู้
ทางวชิ าชพี มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผเู้ รียน
50

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีปลอดภัย
และเออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ
สถานศึกษาจัดหรือปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้ปลอดภัย และเอ้ือต่อการเรียนรู้
จดั เทคโนโลยี สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก สอื่ บรกิ าร และความชว่ ยเหลอื อนื่ ใด
ทางการศึกษาให้ผู้เรียนได้เข้าถึง และใช้ประโยชน์ได้จากแหล่งเรียนรู้
ตามศักยภาพและประเภทของความพิการ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ าร
จัดการและการจัดการเรยี นรู้
สถานศกึ ษาจดั หาพฒั นาและบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ
อย่างเป็นระบบ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้
ตามศักยภาพและประเภทของความพิการ

การใหร้ ะดบั คุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ก�ำ ลังพฒั นา ◆ เป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากำ�หนด

ปานกลาง ไม่ชดั เจน
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาแต่ไม่ส่งผล

ต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
◆ เปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำ หนดชดั เจน

เปน็ ไปได้ในการปฏิบตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อ

คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

51

ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ดี ◆ เปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำ หนดชดั เจน

ดเี ลศิ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา เปน็ ไปไดใ้ นการปฏบิ ตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน

ส่งผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
◆ ดำ�เนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน

ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย
◆ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ
◆ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีปลอดภัย

และเอื้อตอ่ การจัดการเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ
◆ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร

จดั การและการจัดการเรียนรู้
◆ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำ�หนด

ชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการ
ของชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ
เปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มปี ระสิทธภิ าพ ส่งผลต่อคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย
◆ ดำ�เนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยง
กบั ชวี ิตจรงิ
◆ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความตอ้ งการของครแู ละสถานศึกษา

52

ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ยอดเยีย่ ม ◆ จัดหรือปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา ให้ปลอดภัยและเอ้ือต่อการเรียนรู้
จัดเทคโนโลยี ส่ิงอำ�นวยความสะดวก สื่อ บริการ และ
ความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ขา้ ถงึ และ
ใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ากแหลง่ เรยี นรู้ ตามศกั ยภาพและประเภท
ของความพิการ
◆ จัดหา พฒั นา และบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างเปน็
ระบบ เพอื่ ใช้ในการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้
ตามศกั ยภาพและประเภทของความพกิ าร
◆ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากำ�หนด
ไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผน
การศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาล และของต้นสงั กัด
เป็นไปได้ในการปฏิบัติ รวมทั้งทันต่อการเปล่ียนแปลง
ของสงั คม
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มปี ระสทิ ธภิ าพ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษาโดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
มกี ารน�ำ ขอ้ มลู มาใชใ้ นการปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
และเปน็ แบบอยา่ งได้
◆ ดำ�เนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่ม
เป้าหมายอย่างรอบด้านตามสถานศึกษา ตามศักยภาพ
และประเภทของความพกิ าร และใหค้ รอบคลมุ ทกุ ประเภท
ความพกิ าร เชือ่ มโยงกบั ชวี ติ จริง และเป็นแบบอยา่ งได้
◆ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี และ
นำ�กระบวนการของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ใน
การพัฒนางานและการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น

53

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
◆ จัดหรือปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา ให้ปลอดภัยและเอ้ือต่อการเรียนรู้
จดั เทคโนโลยี สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก สอื่ บรกิ ารและความ
ช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ให้ผู้เรียนได้เข้าถึงและใช้
ประโยชน์ได้จากแหล่งเรียนรู้ ตามศักยภาพและประเภท
ของความพิการ และเปน็ แบบอย่างได้
◆ จดั หา พัฒนา และบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างเปน็
ระบบ เพือ่ ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู้
ตามศักยภาพและประเภทของความพกิ าร

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ
สามารถน�ำ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอื้อต่อ
การเรยี นรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และน�ำ ผล
มาพฒั นาผเู้ รยี น
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

54

ค�ำ อธบิ าย
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี น
เปน็ ส�ำ คัญ
เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น
แตล่ ะบคุ คล ตามทรี่ ะบไุ วใ้ นแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทส่ี อดคลอ้ ง
กบั หลักสตู รของสถานศกึ ษา สรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล
มกี ารบรหิ ารจดั การเรยี นรเู้ ชงิ บวก สรา้ งปฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ี รว่ มกนั แลกเปลยี่ น
เรยี นรู้ ด�ำ เนนิ การตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและน�ำ ผล
มาพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรใู้ ห้มีประสิทธิภาพอยา่ งต่อเนื่อง
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ
สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา ท่ีเน้นให้
ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ เชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ ประจ�ำ วนั
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้ที่เก่ียวข้อง โดยผู้เรียนได้รับการฝึก
ให้มีทักษะ และการแสดงความคิดเห็นตามศักยภาพและประเภทของ
ความพิการ
๓.๒ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ีเ่ อื้อต่อ
การเรียนรู้
มกี ารใช้เทคโนโลยี ส่ิงอำ�นวยความสะดวก สอื่ บริการ
และความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษาเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้
ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยนำ�มาใช้ในการจัด
การเรียนรู้ และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ตามศักยภาพ
ของผู้เรยี นจากสอ่ื ที่หลากหลาย

55

๓.๓ มีการบริหารจดั การผเู้ รยี นเชิงบวก
มีการบริหารจัดการผู้เรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์
เชงิ บวก ครูรักเด็ก ให้เด็กรกั ครู และรกั ที่จะเรียนรู้ สามารถเรยี นรู้ร่วมกนั
อย่างมีความสุข
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ
น�ำ ผลมาพัฒนาผเู้ รียน
มกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้
อยา่ งเปน็ ระบบ มขี น้ั ตอนชดั เจน โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื และวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล
ท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่
ผเู้ รียน และผู้ปกครองเพอ่ื นำ�ผลไปใช้พฒั นาการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนือ่ ง
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพ่อื ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้
และประสบการณร์ วมทง้ั ใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพอื่ น�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ
และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้

การให้ระดบั คุณภาพ

ระดับคุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
กำ�ลังพฒั นา ◆ จดั การเรยี นรทู้ ไี่ มเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ชก้ ระบวนการคดิ

และปฏบิ ัตจิ ริง
◆ ใช้เทคโนโลยี ส่ิงอำ�นวยความสะดวก สื่อ บริการและ

ความช่วยเหลอื อืน่ ใดทางการศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนร้ทู ีไ่ มเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นร ู้
◆ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งไมเ่ ปน็ ระบบ

56

ระดับคุณภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ปานกลาง ◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามทรี่ ะบไุ วใ้ นแผนการจดั การศกึ ษา

ดี เฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเี่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
◆ ใช้เทคโนโลยี สิ่งอำ�นวยความสะดวก สือ่ บรกิ ารและความ
ช่วยเหลอื อื่นใดทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
แหล่งเรยี นรทู้ ีเ่ อือ้ ต่อการเรียนร้ ู
◆ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำ�ผล
มาพัฒนาผเู้ รียน
◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามทร่ี ะบไุ วใ้ นแผนการจดั การศกึ ษา
เฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
โดยผเู้ รยี นไดร้ บั การฝกึ ใหม้ ที กั ษะ และการแสดงความคดิ เหน็
ตามศักยภาพและประเภทของความพกิ าร
◆ ใช้เทคโนโลยี สิ่งอำ�นวยความสะดวก ส่ือ บริการและ
ความช่วยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนร ู้
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การผเู้ รยี น โดยเนน้ การมปี ฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวก
◆ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้
อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน โดยใช้เครื่องมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายใน
การจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและ
ผู้ปกครองเพ่ือนำ�ผลไปใชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้
◆ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพือ่ พฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

57

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
ดเี ลิศ ◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามทร่ี ะบไุ วใ้ นแผนการจดั การศกึ ษา

เฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเี่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
เชอื่ มโยงกบั ชวี ติ จรงิ การมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครองโดยผเู้ รยี น
ได้รับการฝึกให้มีทักษะ และการแสดงความคิดเห็น
ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ
◆ ใช้เทคโนโลยี ส่ิงอำ�นวยความสะดวก ส่ือ บริการและ
ความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เอ้ือต่อ
การเรยี นร้ ู
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การผเู้ รยี น โดยเนน้ การมปี ฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวก
ครูรักเดก็ ให้เดก็ รักคร ู และรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรยี นรู้
ร่วมกนั อย่างมคี วามสุข
◆ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้
อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน โดยใช้เครื่องมือและวิธี
การวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัด
การเรยี นรู้ และใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รยี นและผปู้ กครอง
เพอ่ื น�ำ ผลไปใชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้
◆ มชี มุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ระหวา่ งครแู ละผเู้ กย่ี วขอ้ ง
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครู และ
ผเู้ กี่ยวข้องมีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้

58

ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ยอดเยี่ยม ◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามทร่ี ะบไุ วใ้ นแผนการจดั การศกึ ษา

เฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเี่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
เช่ือมโยงกับชีวิตประจำ�วัน การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
และผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยผู้เรียนได้รับการฝึกให้มีทักษะ และ
การแสดงความคิดเห็นตามศักยภาพและประเภทของ
ความพกิ าร
◆ มกี ารใช้เทคโนโลยี ส่ิงอำ�นวยความสะดวก สอื่ บรกิ ารและ
ความชว่ ยเหลืออ่นื ใดทางการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่นิ โดยน�ำ มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู ้ และสรา้ งโอกาส
ใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรตู้ ามศกั ยภาพของผเู้ รยี นจากสอื่
ทีห่ ลากหลาย
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การผเู้ รยี น โดยเนน้ การมปี ฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวก
ครูรกั เด็ก ให้เด็กรักครู และรกั ท่จี ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรู้
รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข
◆ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้
อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนชัดเจน โดยใช้เคร่ืองมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายใน
การจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและ
ผปู้ กครอง เพื่อนำ�ผลไปใช้พัฒนาการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง
◆ มชี มุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ระหวา่ งครแู ละผเู้ กย่ี วขอ้ ง
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครู และ
ผเู้ กย่ี วขอ้ งมกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั
เพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้

59

สว่ นท่ี ๓

แนวทางการประเมนิ คุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา

จากประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก
หนา้ ๓ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ กล่าวถึง “การประกันคุณภาพ
การศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาแตล่ ะระดบั และประเภท
การศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพ
การศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษาจดั ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาและสรา้ งความเชอ่ื มน่ั
ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่า สถานศึกษานั้นสามารถจัด
การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษา และบรรลเุ ปา้ ประสงค์
ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแล โดยให้สถานศึกษา
แต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยการก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน
การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการประกาศกำ�หนด พร้อมท้ังจัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำ�เนินการตาม
แผนท่ีกำ�หนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำ�เนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มี

60

คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ใหแ้ กห่ นว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทกี่ �ำ กบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจ�ำ
ทุกปี
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแลสถานศึกษา
มหี นา้ ทใี่ นการใหค้ �ำ ปรกึ ษา ชว่ ยเหลอื และแนะน�ำ สถานศกึ ษา เพอ่ื ใหก้ าร
ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเน่ือง และ
จดั สง่ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา พร้อมกบั ประเดน็ ต่าง ๆ
ทต่ี อ้ งการใหม้ กี ารประเมนิ ผลและการตดิ ตามตรวจสอบซงึ่ รวบรวมไดจ้ าก
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งน้ัน
ให้แก่ สำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน)เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก ส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
(องคก์ ารมหาชน) ด�ำ เนนิ การประเมนิ ผลและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา และจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ และ
การติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและ
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำ�กับดูแลสถานศึกษานั้น ๆ เพ่ือให้
สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ต่อไป ทั้งน้ี สำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) อาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีได้รับการรับรองจาก
สำ�นักงานดำ�เนินการประเมินผล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาได้

61

เพ่ือให้การดำ�เนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปตาม
กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จงึ ใหส้ ถานศกึ ษา
ในสังกัดทุกโรง เข้าใจถึงแนวทางการดำ�เนินงานพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาและการรองรับการประเมินภายนอก
รอบส่ี ดังน้ี
๑) สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้การประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาพ.ศ.๒๕๖๑โดยมกี ารก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษา
ท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำ�หนด พร้อมท้ังจัดทำ�แผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และด�ำ เนนิ การตามแผนทก่ี �ำ หนดไว้ จดั ใหม้ กี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบ
คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการด�ำ เนนิ งานเพอ่ื พฒั นา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผล
การประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ให้แก่หน่วยงาน
ตน้ สังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กบั ดูแลสถานศกึ ษาเป็นประจ�ำ ทกุ ปี
๒) สถานศกึ ษาน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จะก�ำ หนดประกาศใช้ ไปเทียบเคยี งและจัดท�ำ เป็น “มาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษา” จัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษา และดำ�เนินงาน
ตามแผนฯ ตลอดช่วงปีการศึกษา และจัดทำ� SAR ตามกรอบมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา หลังสิ้นปีการศึกษา แล้วจึงจัดส่ง SAR
ให้หนว่ ยงานต้นสังกดั หรอื หนว่ ยงานท่กี �ำ กับดูแลสถานศกึ ษา
62

๓) เม่ือหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำ�กับดูแล
สถานศกึ ษาไดร้ บั SAR จากสถานศกึ ษา กจ็ ะมกี ารสรปุ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์
ผลการดำ�เนินงาน และจัดส่ง SAR พร้อมประเด็นต่าง ๆ ท่ีต้องการให้มี
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ให้แก่ สำ�นักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพื่อใช้เป็นข้อมูล
และแนวทางในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
๔) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและ
การตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานเปน็ ไปตามหลกั การตดั สนิ โดยอาศยั
ความเช่ยี วชาญ (expert judgment) และการตรวจทานผลการประเมนิ
โดยคณะกรรมการประเมินในระดบั เดียวกนั (peer review) โดยเทียบกบั
เกณฑ์หรือมาตรฐานท่ีกำ�หนดไว้ คณะกรรมการประเมินต้องมีความรู้
อย่างรอบด้าน และวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในการตัดสิน เพ่ือให้ระดับ
คุณภาพตามเกณฑ์ที่กำ�หนด ซ่ึงจะไม่ใช่การให้คะแนนตามความคิดเห็น
ของคนใดคนหน่ึง
๕) การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษา
ที่ต้องตรวจสอบและประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษา
ทแ่ี ทจ้ รงิ โดยใหค้ วามส�ำ คญั กบั การประเมนิ เชงิ คณุ ภาพ ผนวกกบั การประเมนิ
เชงิ ปรมิ าณควบคกู่ นั ไป การตดั สนิ คณุ ภาพของสถานศกึ ษาใหใ้ ชเ้ กณฑก์ าร
ให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการ ท่ีไม่แยกส่วนหรือแยกองค์ประกอบ
ในการกำ�หนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผล
การดำ�เนินงานหรอื กระบวนการด�ำ เนินงาน

63

๖) การกำ�หนดเป้าหมายความสำ�เร็จการดำ�เนินงาน
ของสถานศึกษา ให้สถานศึกษากำ�หนดเป้าหมายความสำ�เร็จ
และเกณฑ์การประเมินตามสภาพบริบทของสถานศึกษา เพ่อื ตรวจสอบ
และประเมินผลการดำ�เนินงานต า ม ภ า ร กิ จ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า
โดยให้ยึดหลักการดำ�เนินงานเพื่อพัฒนา และสะท้อนคุณภาพ
การดำ�เนินงานตามเป้าหมายท่ีก�ำ หนดตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา
๗) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เน้น
การประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพ
จรงิ ของสถานศึกษา (evidence based) โดยเลอื กใช้วธิ ีการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูลที่เหมาะสม และสะท้อนคุณภาพการดำ�เนินงานตามมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งชดั เจน และมเี ปา้ หมาย การประเมนิ เพอื่ การพฒั นา
ลดภาระการจดั เกบ็ ขอ้ มลู และเอกสารทไี่ มจ่ �ำ เปน็ ในการประเมนิ แตข่ อ้ มลู
ต้องมีความน่าเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบผลการประเมินได้
ตามสภาพบริบทของสถานศกึ ษานนั้ ๆ
๘) คณะที่ทำ�หน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ควรศึกษามาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาที่กำ�หนดให้เข้าใจ
ถ่องแท้ก่อนดำ�เนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษาของตน หลังประเมิน
แล้วให้แจ้งผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา
คุณภาพการศึกษา สรุปและเขียนรายงานการประเมินตนเอง (self-
assessment report)
64

๙) ในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาให้สถานศึกษาดำ�เนินการ โดยให้มีการประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยปลี ะ ๑ ครง้ั และในการประเมนิ คณุ ภาพ
ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ใช้วิธีการและเครื่องมือ
ทหี่ ลากหลายและเหมาะสม
๑๐) ใหส้ ถานศึกษาสรุปและจดั ทำ�รายงานการประเมินตนเอง
ทส่ี ะทอ้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น และผลส�ำ เรจ็ ของการบรหิ ารจดั การศกึ ษา น�ำ เสนอ
รายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและหน่วยงานต้นสังกัด
เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเตรียมรับ
การประเมินคุณภาพภายนอกตอ่ ไป
๑๑) โครงสร้างรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ไม่มีรูปแบบตายตัว ให้สถานศึกษาจัดทำ�ในสิ่งที่สถานศึกษาต้องการ
น�ำ เสนอได้ สง่ิ ส�ำ คญั ทสี่ ดุ ของรายงานการประเมนิ ตนเอง คอื กระบวนการ
พัฒนาคุณภาพ ซ่ึงหมายรวมถึง กิจกรรม/โครงการ/งานท่ีสถานศึกษา
ด�ำ เนนิ การทจี่ ะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ หลกั การ แนวคดิ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
การมีเป้าหมาย หรือรูปแบบที่ชัดเจนในการพัฒนาการเรียนการสอน
ซงึ่ ทกุ กจิ กรรม/โครงการ/งานสง่ ผลถงึ การพฒั นาผเู้ รียนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
ของสถานศึกษา โดยให้นำ�เสนอข้อมูลพื้นฐานเบ้ืองต้นของสถานศึกษา
และมุ่งเน้นตอบคำ�ถามดังนี้ คือ ๑) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มีคุณภาพในระดับใด ๒) ข้อมูลหลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ์
สนับสนุนมีอะไรบ้าง และ ๓) แนวทางพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิม
เป็นอย่างไร

65

๑๒) ขอ้ ควรตระหนกั ในการประเมินคุณภาพภายใน
๑๒.๑) ผู้ประเมินควรมีความรู้ลึกและเข้าใจบริบทของ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท้ังในแง่มุมของภาระงาน โครงสร้าง
เทคนิคต่าง ๆ ท่ีใช้ในการบริหาร และการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
และมปี ระสบการณเ์ พยี งพอ เพอ่ื การชว่ ยชแ้ี นะการปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศกึ ษา
ไดอ้ ยา่ งชดั เจน และตรงประเดน็ เกดิ ประโยชนต์ อ่ สถานศกึ ษาอยา่ งแทจ้ รงิ
๑๒.๒) ผปู้ ระเมนิ ควรวเิ คราะหอ์ ภปิ รายดว้ ยใจเปน็ กลาง
โดยพิจารณาจากข้อมูลหลักฐานที่เก็บรวบรวมจากหลาย ๆ ด้าน ท้ัง
ข้อมลู ปจั จุบนั และผลการประเมินการดำ�เนนิ งานทีผ่ า่ นมา (อาจพิจารณา
ย้อนหลัง ๓ ปี) ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาว่า
อยใู่ นระดับใด
๑๒.๓) สิ่งที่มีคุณค่ามากท่ีสุดที่ได้รับจากการประเมิน
ภายในของสถานศึกษา คือ การได้รับข้อชี้แนะ คำ�แนะนำ� แนวทาง
การพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติได้จริง ดังนั้น ผู้ประเมิน
จงึ ควรรคู้ วามเคลอ่ื นไหวของการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
ในเรื่องการพัฒนาการเรยี นการสอน
๑๒.๔) การก�ำ หนดระยะเวลาด�ำ เนนิ การประเมนิ ภายใน
ของสถานศึกษาน้ัน ให้สถานศึกษากำ�หนดได้เองตามความเหมาะสม
แตค่ วรสอดคลอ้ งกบั สภาพและบรบิ ทของการดำ�เนนิ งาน เพอื่ ความสะดวก
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลักฐาน เช่น แผนพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษา แผนการเรียนรู้ บันทกึ หลงั สอนรายงานประชุม เปน็ ต้น
ซ่ึงจะเห็นได้ว่า เอกสารหลักฐานต่าง ๆ น้ัน เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
ไม่ใช่การสรา้ งเอกสารหลักฐานเพมิ่ เตมิ
66

๑๒.๕) การเก็บรวบรวมข้อมูลในส่วนของการสังเกต
และสัมภาษณ์น้ัน ควรกระทำ�ด้วยความระมัดระวัง ต้องสร้างความรู้สึก
เป็นมิตรมากกว่าการจับผิดหรือการกล่าวโทษ และควรพูดคุยสอบถาม
ดว้ ยความสภุ าพ และสรา้ งความไวว้ างใจเปน็ อนั ดบั แรก กอ่ นทจี่ ะสอบถาม
เพ่ือการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตอ่ ไป

…บทบาทหน้าที่ของหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง

ระดับสถานศกึ ษา
ให้สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานดำ�เนินการ
ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. ใหส้ ถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาเพ่ือเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้เกิดการพัฒนาและสร้างความ
เชือ่ มน่ั ใหแ้ ก่สงั คม ชมุ ชน และผู้มสี ่วนเกีย่ วข้อง
๒. การจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ดงั นี้
๒.๑ กำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้
เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการ
ศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยใหส้ ถานศกึ ษาและผเู้ กยี่ วขอ้ งด�ำ เนนิ การและถอื เปน็
ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกัน ท้งั น้ี สถานศึกษาอาจกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษาเพม่ิ เตมิ นอกเหนอื จากทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศใชไ้ ด้
๒.๒ จัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำ�เป็นของสถานศึกษา
อยา่ งเปน็ ระบบ โดยสะทอ้ นคณุ ภาพความส�ำ เรจ็ อยา่ งชดั เจนตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

67

๒.๓ ดำ�เนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
๒.๔ ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน
สถานศึกษา โดยกำ�หนดผู้รับผิดชอบในการประเมินผลและตรวจสอบ
คณุ ภาพการศกึ ษา ท้งั ระดับบุคคลและระดบั สถานศกึ ษา และก�ำ หนดการ
ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา อยา่ งนอ้ ย
ภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง โดยวธิ ีการและเครือ่ งมือทห่ี ลากหลายและเหมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการดำ�เนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา
ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และน�ำ ผลการตดิ ตามไปใชป้ ระโยชน์
ในการปรบั ปรุงพฒั นา
๒.๖ จัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-
Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
นำ�เสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพ้ืนฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสำ�นักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาเป็นประจำ�ทุกปี
๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจาก
รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตาม
คำ�แนะนำ�ของสำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือสำ�นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง
๓. สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ส�ำ นกั งานรบั รอง
มาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) เพอื่ ปรบั ปรุงและพฒั นา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของสำ�นักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) และหนว่ ยงานต้นสังกัด
หรือหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแล เพ่ือนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา
68

ระดับสำ�นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในฐานะหน่วยงานที่กำ�กับดูแล
สถานศกึ ษา ด�ำ เนนิ การดงั ต่อไปนี้
๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา ตลอดจนให้คำ�ปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำ�สถานศึกษา
เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่งพัฒนา
อยา่ งตอ่ เนื่อง
๒. จดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-
Assessment Report : SAR) พรอ้ มกบั ประเดน็ ทต่ี อ้ งการใหม้ กี ารประเมนิ
ผลและติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือ
ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กบั สถานศกึ ษา ไปยงั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พนื้ ฐาน และส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
(สมศ.) เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลและแนวทางในการประเมินคณุ ภาพภายนอก
๓. ให้คำ�ปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนำ�สถานศึกษา เพ่ือ
ใหก้ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง
๔. ติดตามผลการดำ�เนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามขอ้ เสนอแนะของส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๕. ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีได้รับ
การรบั รองจากสำ�นกั งาน เพ่อื การประเมินคุณภาพภายนอก
๖. สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา อาจมอบหมายบุคคล
ที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพ่ิมเติมในการ
ประเมินคุณภาพภายนอกด้วยกไ็ ด้

69

ระดบั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
๑. ก�ำ หนดนโยบายดา้ นการศกึ ษา ก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษา
ระดบั การศึกษาปฐมวัย และระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พร้อมทง้ั ก�ำ หนด
หลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ตั กิ ารประกันคุณภาพการศกึ ษา
๒. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหค้ ำ�ปรกึ ษา ชว่ ยเหลือตอ่ ส�ำ นกั งาน
เขตพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
พฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง
๓. วิเคราะห์ และสรุปผล ตามข้อเสนอแนะของสำ�นักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) เพอื่ เป็นข้อเสนอ
แนะเชงิ นโยบายทน่ี �ำ ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั
การศึกษาปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
๔. ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับ
การรับรองจากส�ำ นักงาน เพ่อื การประเมินคุณภาพภายนอก
70

ภาคผนวก

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย

ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
และระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ

โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษที่สองที่กำ�หนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการ
พฒั นาคณุ ภาพคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคต ประกอบกบั มนี โยบาย
ใหป้ ฏริ ปู ระบบการประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพทง้ั ภายในและภายนอก
ของทกุ ระดบั กอ่ นจะมกี ารประเมนิ คณุ ภาพในรอบตอ่ ไป จ�ำ เปน็ ตอ้ งปรบั ปรงุ
มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิกประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน เพอื่ ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ลงวนั ที่ ๑๑ ตลุ าคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐาน
การศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษา ลงวันท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐

72

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ
ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้กำ�หนด
การจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยดึ หลักทีส่ ำ�คัญ
ขอ้ หนงึ่ คอื มกี ารก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษา และจดั ระบบประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวง
มีอำ�นาจหน้าท่ีกำ�กับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำ�หนด
นโยบายแผนและมาตรฐานการศกึ ษาและมาตรา๔๘ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั
และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ
ใหถ้ อื วา่ การประกนั คณุ ภาพภายในเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการบรหิ ารการศกึ ษา
ท่ีต้องดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำ�รายงานประจำ�ปี
เสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และเปดิ เผยตอ่ สาธารณชน
เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับ
การประกนั คณุ ภาพภายนอก
ฉะนนั้ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๙ (๓) มาตรา
๓๑ และมาตรา ๔๘ แหง่ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานในการประชุม ครั้งที่ ๕/๒๕๖๑ เม่ือวันศุกร์ที่ ๑๑
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ ประกาศ
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อเป็นหลักใน
การเทียบเคียงส�ำหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส�ำนักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาทงั้ ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา ในการพฒั นา สง่ เสรมิ
สนบั สนนุ ก�ำกบั ดแู ล และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตามเอกสาร
แนบทา้ ยประกาศฉบับน้ี

73

ท้ังน้ี ให้ใช้กับสถานศึกษาท่ีเปิดสอนระดับปฐมวัย ระดับ
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานศูนย์การศึกษาพเิ ศษ
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์)
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ

74

มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย

แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวยั ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

และระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวนั ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
------------------------------------

มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจำ�นวน
๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเปน็ สำ�คญั
แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ด ดังนี้
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก
๑.๑ มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดแู ล
ความปลอดภยั ของตนเองได้
๑.๒ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออก
ทางอารมณไ์ ด้
๑.๓ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ
ที่ดขี องสงั คม
๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิด
พ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้

75

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทง้ั ๔ ด้าน สอดคลอ้ ง
กบั บรบิ ทของท้องถ่นิ
๒.๒ จัดครใู ห้เพียงพอกบั ชัน้ เรียน
๒.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
๒.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพอ่ื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั
และเพยี งพอ
๒.๕ ให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่ือการเรยี นรู้
เพ่อื สนับสนุนการจดั ประสบการณ์
๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย
มีสว่ นรว่ ม
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ ส�ำ คญั
๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน
อยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ
๓.๒ สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รงเลน่ และปฏบิ ตั ิ
อย่างมีความสขุ
๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยี
ทเี่ หมาะสมกบั วัย
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำ�ผล
การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็

76

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

แนบท้ายประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา
ระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

และระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ
ฉบบั ลงวนั ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
------------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑
มจี �ำ นวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน
๑.๒ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น
เปน็ ส�ำ คัญ
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร
และการคดิ คำ�นวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม

77

๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
๕) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชพี
๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษา
กำ�หนด
๒) ความภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย
๓) การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
และหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากำ�หนด
ชัดเจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น
ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อ
การจัดการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร
จัดการและการจดั การเรียนรู้

78

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ
สามารถนำ�ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ได้
๓.๒ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือ
ตอ่ การเรยี นรู้
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ
น�ำ ผลมาพัฒนาผเู้ รียน
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

79

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ

แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวยั ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

และระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ
ฉบับลงวันที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
------------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานศนู ยก์ ารศกึ ษา
พเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจำ�นวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลการพฒั นาผูเ้ รียน
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี น
เปน็ ส�ำ คญั
แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอียด ดังน้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลการพัฒนาผเู้ รียน
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ทแี่ สดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ตามทรี่ ะบไุ วใ้ นแผนการจดั การ
ศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการให้บรกิ ารชว่ ยเหลอื เฉพาะครอบครวั

80

๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพหรือ
การด�ำ เนนิ ชีวติ ในสังคมได้ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
๑.๒ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
๑) มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษา
ก�ำ หนด
๒) มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย
ตามศกั ยภาพของผ้เู รยี นแต่ละบุคคล
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำ�หนด
ชัดเจน
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น
ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อ
การจัดการเรียนรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ าร
จัดการและการจดั การเรียนรู้

81

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ
สามารถนำ�ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ เ่ี อื้อต่อ
การเรยี นรู้
๓.๓ มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ
น�ำ ผลมาพัฒนาผ้เู รยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
82

เล่มที่ ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑

กฎกระทรวง

การประกนั คณุ ภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

--------------------------
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา๕วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ มาตรา ๔๗ วรรคสอง
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ขอ้ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา”หมายความวา่ การประเมนิ ผล
และการตดิ ตามตรวจสอบ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
แต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ
ระบบการบรหิ ารคณุ ภาพการศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษาจดั ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นา
และสร้างความเชื่อม่ัน ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่า
สถานศึกษาน้ัน สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
การศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน
ที่กาํ กับดแู ล

83

เลม่ ที่ ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑
“สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ขอ้ ๓ใหส้ ถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภท
การศกึ ษาทรี่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศกาํ หนด พรอ้ มทง้ั
จัดทําแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตามแผนท่ีกําหนดไว้ จัดให้มี
การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาตดิ ตามผล
การดาํ เนนิ การ เพอื่ พฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด
หรือหนว่ ยงานทก่ี าํ กบั ดูแลสถานศกึ ษาเปน็ ประจาํ ทุกปี
เพอื่ ใหก้ ารด�ำ เนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาตามวรรคหนง่ึ
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กับ
ดแู ลสถานศกึ ษามหี นา้ ทใ่ี นการใหค้ �ำ ปรกึ ษาชว่ ยเหลอื และแนะน�ำ สถานศกึ ษา
เพอ่ื ใหก้ ารประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง
ขอ้ ๔ เมอื่ ไดร้ บั รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
ตามข้อ ๓ แล้ว ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแล
สถานศึกษาจดั ส่งรายงานดังกล่าวพร้อมกับประเด็นตา่ ง ๆ ท่ีต้องการใหม้ ี
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น ให้แก่
ส�ำ นักงานเพื่อใชเ้ ป็นขอ้ มลู และแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

84

เล่มที่ ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก ราชกจิ จานุเบกษา ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ให้สำ�นักงานดำ�เนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่ง
รายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อม
ข้อเสนอแนะให้แก่ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน
ที่กำ�กับดูแลสถานศึกษาน้ัน ๆ เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการ
ปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป
ในการดำ�เนินการตามวรรคสอง สำ�นักงานอาจจัดให้บุคคล
หรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสำ�นักงานดำ�เนินการประเมินผล
และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาได้
ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทก่ี �ำ กบั ดแู ลสถานศกึ ษานน้ั
ติดตามผลการดำ�เนินการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศกึ ษาตามวรรคสอง เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
ขอ้ ๕ ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอี �ำ นาจตคี วาม
และวินจิ ฉัยปญั หาอนั เก่ยี วกบั การปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงนี้
ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศิลป์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

85

หมายเหตุ เหตผุ ลในการประกาศใชก้ ฏกระทรวงฉบบั บน้ี คอื โดยทแี่ นวทาง
ในการดำ�เนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไมส่ อดคล้องกบั หลักการประกนั
คุณภาพการศึกษาท่ีแท้จริง จึงส่งผลให้การดำ�เนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในและภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซำ้�ซ้อนและ
คลาดเคล่ือนจากการปฏิบัติ ทำ�ให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการ
สรา้ งภาระแกส่ ถานศกึ ษาและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ตลอดจนหนว่ ยงาน
ตน้ สังกดั หนว่ ยงานทกี่ �ำ กับดแู ล และหน่วยงานภายนอกเกนิ ความจ�ำ เปน็
สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
เพอ่ื ใหม้ กี ลไกลการปฏบิ ตั ทิ เี่ ออื้ ตอ่ การด�ำ เนนิ การตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของแต่ละระดับ และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จงึ จ�ำ เป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
86

ประกาศส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั กิ ารด�ำ เนนิ งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑

โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ได้กำ�หนด
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาอันส่งผลให้
การดำ�เนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ท้ังหน่วยงานต้นสังกัด
หรือหน่วยงานกำ�กับดูแล และหน่วยงานภายนอกท่ีสะท้อนสภาพ
การดำ�เนินงานท่ีแท้จริง และเกิดประสิทธิภาพ และกำ�หนดแนวทาง
ในการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับหลักการ
ประกันคุณภาพการศึกษา และมีกลไกปฏิบัติท่ีเอื้อต่อการดำ�เนินงาน
ตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับให้เกิดประสิทธิภาพในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้จัดทำ�
แนวปฏิบัติการดำ�เนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น เพื่อให้
หน่วยงานต้นสังกดั สำ�นกั งานบริหารการศึกษาพิเศษ สำ�นักงานเขตพนื้ ที่
การศกึ ษาทง้ั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาใชเ้ ปน็ แนวปฏบิ ตั ใิ นการด�ำ เนนิ การ
เพอ่ื การพฒั นา สง่ เสรมิ ก�ำ กบั ดแู ล และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา
ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียด
ดงั นี้

87

ระดบั สถานศกึ ษา
ใหส้ ถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ด�ำ เนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. ใหส้ ถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเป็นกลไก
ในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการ
พฒั นาและสร้างความเชอื่ มนั่ ให้กับสงั คม ชุมชน และผู้มีสว่ นเกย่ี วข้อง
๒. จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ดงั นี้
๒.๑ กำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือ
ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีกระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษา
กำ�หนดเป้าหมายความสำ�เร็จตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท
ทงั้ นี้ สามารถเพมิ่ เตมิ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา นอกเหนอื จากที่
กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้ โดยให้สถานศึกษาและผู้เก่ียวข้อง
ดำ�เนินการและรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั
๒.๒ จัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำ�เป็นของสถานศึกษา
อยา่ งเปน็ ระบบ โดยสะทอ้ นคณุ ภาพความส�ำ เรจ็ อยา่ งชดั เจนตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา
๒.๓ ดำ�เนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
๒.๔ ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน
สถานศกึ ษา โดยกำ�หนดผรู้ ับผิดชอบ และวิธกี ารที่เหมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการดำ�เนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา
ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา และนำ�ผลการติดตามไปใช้
ประโยชนใ์ นการปรบั ปรุงพฒั นา
88

๒.๖ จดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง(SelfAssessment
Report : SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา น�ำ เสนอรายงานผล
การประเมนิ ตนเองตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหค้ วามเหน็ ชอบ
และจดั สง่ รายงานดงั กลา่ วตอ่ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา เปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี
๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจาก
รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) และตาม
คำ�แนะนำ�ของสำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือสำ�นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง
๓. สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ส�ำ นกั งานรบั รอง
มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) ในการประเมินคณุ ภาพ
ภายนอกของสถานศึกษา เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตามข้อเสนอแนะของสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) และหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแล
เพือ่ น�ำ ไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา
ระดับสำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา/สำ�นักบริหารงาน
การศกึ ษาพเิ ศษ
ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา/ส�ำ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำ�กับดูแล ดำ�เนินการ
ดังต่อไปนี้
๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา ตลอดจนให้คำ�ปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำ�สถานศึกษา
เพือ่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาแต่ละแห่ง
อย่างต่อเนอื่ ง

89

๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) พรอ้ มกบั ประเดน็ ตา่ ง ๆ
ทต่ี อ้ งการใหม้ กี ารประเมนิ ผลและการตดิ ตามตรวจสอบ ซง่ึ รวบรวมไดจ้ าก
หน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งน้ัน
และจดั สง่ ไปยังส�ำ นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา
(สมศ.) เพ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู และแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก
๓. ติดตามผลการดำ�เนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตามขอ้ เสนอแนะของส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
๔. ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบคุ คลทไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ ผปู้ ระเมนิ เขา้ รว่ มสงั เกตการณ์
และให้ข้อมลู เพมิ่ เติม ในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ระดับสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
๑. ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้คำ�ปรกึ ษา ชว่ ยเหลือ ต่อสำ�นักงาน
เขตพืน้ ที่การศกึ ษา เพอ่ื การพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
๒. ศึกษา วิเคราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report: SAR) และรวบรวมประเด็น
ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ซึ่งรวบรวมได้
จากหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา ไปยัง
ส�ำ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) เพื่อใช้
เปน็ ข้อมูลและแนวทางในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

90

บการประกนั คุณภาพการศึกษา
2. ศึกษา วิเคราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self
nt Report: SAR) และรวบรวมประเด็นท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบซ่ึง

นจาคกุณหภนา่วพยกงาารนศทึกษี่เ กกาา่ียร(วศสขมกึ ้อศษง.า)หขเรพอือ๓งือ่ ผสใ.ู้ม ชถีสเ้ตาป่วนิดน็นศตขไกึาด้อษม้สมผา่วูลลตนแกาลเสามะรียขแดกอ้นำ�ับเวสเสทนนถาินองางแในานนศนกะึกาขษปรอปารงับรสไะปป�ำ เยนมรุังงกิันสงคแาาุณนลนภะักรพบัางาพรัฒนอภนรงาับมายครานอตุณองรกภมฐาาาพนตรฐาน
3. ติดตามแผลละปการระดเมาินเนคินุณงภานาพปกราับรปศรึกุงษแาล(ะสพมัฒศ.น) าเคพุณื่อนภำ�าไพปกสาู่กราศรึกพษัฒาขนอางคสุณถภาานพศึกษา

นอแนะของสานักแงลาะนมราับตรรอฐงามนากตารรฐศากึ นษแาลขะอปงรสะถเามนินศคกึ ุณษภาาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือนาไปสู่การ
ภาพและมาตรฐา นการศึกษาข๔อ.ง สปถราะนสศากึ นษคาวามร่วมมือกับสำ�นักงานรับรองมาตรฐาน
4. ประสาแนลคะวปารมะรเม่วมินมคือณุ กภับาสพากนาักรงศากึ นษราับ(รสอมงศม.)าใตนรกฐารนจแดั ลบะุคปครละรเมว่ มินเคปุณ็นภผปู้าพระกเามรินศึกษา
การจัดบุคคลร่วมคเุณป็ภนาผพู้ปภระาเยมนินอคกุณกภับาสพำ�ภนาักยงนาอนกรักบับรอสงามนาักตงารนฐารนับแรอลงะมปารตะรเฐมาินนคแุณละภปารพะเมิน
รศึกษา (สมศ.) การศึกษา (สมศ.)
5. อาจมอ บหมายบคุ ค๕ล. ทไ่ีอมา่ไจดม้เปอน็ บผหปู้ มระาเยมบินุคเขค้าลร่วทมี่ไสมัง่ไเดก้ตเปก็นารผณู้ป์ รแะลเะมใหินข้ เข้อ้มารลู ่วเพมิ่มเติม
นการประเมินคุณสภังาเพกภตากยานรอณก์ และให้ข้อมูลเพ่ิมเติม ในกระบวนการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑



เลเขลาขธาิกธากิ ร(าคน(รนณคาายณะยบกบะรุญกญุ รรรมรรกั ักกมษษากร์์ ายกรยอากอรดาดศเรพเกึ ศพษชึกชราษร)ข)าัน้ ขพ้ัน้ืนพฐ้ืนาฐนาน


91

คณะทำ�งาน

ที่ปรึกษา

นายบุญรักษ์ ยอดเพชร เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
นายวษิ ณุ ทรพั ยส์ มบัต ิ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักทดสอบทางการศึกษา
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

รายชือ่ คณะกรรมการจดั ทำ�มาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดับและประเภทของหนว่ ยงานต้นสังกดั
หรือหน่วยงานที่กำ�กบั ดแู ล

รองศาสตราจารยอ์ นชุ าติ พวงสำ�ล ี ที่ปรึกษา
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชัยชนะ นิม่ นวล ทป่ี รกึ ษา
๑. นางสกุ ัญญา งามบรรจง ประธาน
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
๒. นายประชาคม จันทรชติ กรรมการ
รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
๓. นายวรศักด์ิ วชั รกำ�ธร กรรมการ
ท่ีปรึกษาด้านพัฒนาระบบเครอื ขา่ ยและการมีสว่ นร่วม สพฐ.
๔. นางสาววิเลขา ลีสวุ รรณ์ กรรมการ
รองเลขาธกิ ารส�ำ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัย

92

๕. นางบุญชู ชลษั เฐียร กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
๖. นางวาทนิ ี ธีระตระกูล กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิ สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
๗. นางสาวไพรวลั ย์ พิทักษ์สาลี กรรมการ
ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๘. ศาสตราจารยส์ วุ มิ ล วอ่ งวาณชิ กรรมการ
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๙. รองศาสตราจารย์พชั รี ผลโยธนิ กรรมการ
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
๑ ๐. นายชยุตม์ ภิรมย์สมบตั ิ กรรมการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๑ ๑. นางลำ�ใย สนัน่ รัมย ์ กรรมการ
ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการพฒั นาเครื่องมอื วดั ผล
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๒. นางบวั บาง บุญอยู ่ กรรมการ
ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
๑ ๓. ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั มาตรฐานการศึกษา กรรมการ
และพัฒนาการเรียนร ู้
ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
๑ ๔. นางประวณี า อัสโย กรรมการ
สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

93


Click to View FlipBook Version