The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565

แผนการนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565



คำนำ

กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
ได้จัดทำแผนการนิเทศการศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 เพ่ือเปน็ แนวปฏบิ ตั ิในการนิเทศการศึกษาตามจุดเน้น
และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและตามบริบทความ
ต้องการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล โดยในปีงบประมาณ 2565 ได้กำหนด
ประเด็นการนิเทศตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ การนิเทศเชิงบูรณาการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานและการกำกับ
ติดตามโครงการ/นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยวางแผนการดำเนินงาน
โดยใชก้ ระบวนการนิเทศ PICED Model

ความมุ่งหมายสำคญั ในการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการนิเทศ เพื่อให้ทกุ ฝ่ายที่เก่ยี วข้องนำแผนการ
พัฒนาคุณภาพการนิเทศการศกึ ษา ไปใช้ในการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศึกษาในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาทั้งในระดับเขตพื้นที่และในระดับเครือข่ายสถานศึกษา เน้นการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการใน
เครือขา่ ย ส่งเสริมระบบการนิเทศภายในสู่เปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา่ งย่ังยนื

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ตระหนักถึงความสำคัญและความมุ่งหมายดังกล่าว
จึงได้จัดทำแผนการนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อเป็นแนวทางสู่การปฏิบัติอย่างมี
ประสิทธิภาพ

กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตลู

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

สารบญั ข

เรือ่ ง หน้า

คำนำ ก
สารบญั ข
บทที่ 1 ทิศทางการพัฒนาการศกึ ษา 1
1
หลกั การตามนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3
ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษาสพป.สตูล
6
บทท่ี 2 ขอ้ มลู พ้ืนฐานในการนเิ ทศ 6
ความสำคญั 7
วตั ถุประสงค์ 7
เปา้ หมาย 8
ขอบเขตในการนิเทศการศึกษา 14
14
บทท่ี 3 กระบวนการและกลยทุ ธ์การนเิ ทศ 16
เปา้ หมายการนิเทศการศึกษา 20
กระบวนการนิเทศ PICED 21
กรอบแนวคดิ การดำเนินการนิเทศโดยใชก้ ระบวนการ PICED 21
22
บทที่ 4 แผนการดำเนินงานนเิ ทศการศึกษา 24
ประเด็นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 26
ประเดน็ การนเิ ทศเชงิ บูรณาการโดยใชเ้ ครอื ขา่ ยเป็นฐาน
ประเดน็ การส่งเสรมิ และสนับสนนุ การดำเนนิ การตามจดุ เนน้ ฯ
ปฏิทนิ การนเิ ทศการศึกษา

แผนการนเิ ทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

บทที่ 1

ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษา

หลักการตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตาม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ใน
ฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12
การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนยอ่ ยท่ี 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคน
ตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา
แ ล ะ น โ ย บ า ย ร ั ฐ บ า ล ท ั ้ ง ใ น ส ่ ว น น โ ย บ า ย ห ล ั ก ด ้ า น ก า ร ป ฏ ิ รู ป
กระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และ
นโยบายเรง่ ดว่ น เร่อื งการเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21
นอกจากน้ี ยังสนับสนุนการขับเคลือ่ นแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์
ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่
12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความ
มั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.
2560-2579) รวมทั้งนโยบายต่างๆ ที่เก่ียวข้อง โดยคาดหวังว่าการ
พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต จะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความ
พร้อมร่วมขบั เคล่อื นการพัฒนาประเทศสู่ความม่นั คง มง่ั ค่ัง และยั่งยืน ดงั นัน้ ในการเรง่ รดั การทำงานภาพรวม
กระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึง
ทุกคนต้องปรับเปลี่ยนการดำเนินชวี ิตให้เขา้ กบั วิถีชวี ติ ใหม (New Normal) จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
รูปแบบการดำเนินการให้มีความปลอดภยั ทั้งต่อตัวผู้เรียน ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ ไป
ด้วยความเรียบร้อย กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศนโยบายและจุดเน้นของ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 ดังนี้
1) การจัดการศกึ ษาเพื่อความปลอดภัย
1.1 เร่งสร้างสถานศึกษาปลอดภัยเพอื่ เพมิ่ ความเช่ือมนั่ ของสงั คม
1.2 เร่งพัฒนาตัวช้ีวดั เรื่องความปลอดภัยใหอ้ ย่ใู นเกณฑ์มาตรฐานของสถานศึกษาและหน่วยงาน
ทุกระดับ
1.3 เร่งพัฒนาให้มหี น่วยงานดา้ นความปลอดภัยทีม่ โี ครงสรา้ งและกรอบอตั รากำลัง
2) การยกระดบั คุณภาพการศึกษา
2.1 เร่งจดั ทำและพัฒนากรอบหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ) โดยศึกษา
วเิ คราะห์ทดลองใช้กอ่ นประกาศใช้หลกั สตู รในเดือนเมษายน พ.ศ.2565
2.2 จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นกระบวนการ
เรยี นรูแ้ บบถักทอความรู้ (weaving knowledge) ทักษะคุณลักษณะผู้เรียนเข้าด้วยกันด้วยการลงมอื ปฏิบตั จิ ริง

2

(Active Learning) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
รวมทั้งการพฒั นาระบบการวดั และประเมินผลเชงิ สมรรถนะ

2.3 พัฒนาช่องทางการเรียนรู้ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ สื่อการสอนคุณภาพสูง การประเมินและพัฒนาผู้เรียน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล
(Personalized Learning)

2.4 มุ่งพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนประวัตศิ าสตร์ หน้าทพ่ี ลเมืองและศีลธรรมใหท้ นั สมัย สอด
รับกับวิถีใหม่ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชวี ิตของความเป็นพลเมืองท่ี
เขม้ แขง็

2.5 สง่ เสริมใหค้ วามรูด้ ้านการเงนิ และการออม (Financial Literacy)
2.6 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นแบบโมดูล (Modular System) ท่ี
บูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพในชุดวิชาอาชีพเดียวกัน รวมทั้งจัดการเรียนรู้แบบตอ่ เน่ือง (block course)
เพ่ือสะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (credit bank) รว่ มมอื กับสถานประกอบการ
2.7 ศึกษาวิจัย ถอดบทเรียนความสำเร็จในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
ของสถานศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงาน สถานศึกษา ผู้เกี่ยวข้องนำไปใช้
3) การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษาทุกชว่ งวยั
3.1 สำรวจ ติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน เพื่อเข้าสู่ระบบการศึกษาภาคบังคับ
3.2 ส่งเสรมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปทุกคนเข้าสู่ระบบการศึกษา
3.3 มงุ่ แกป้ ัญหาคนพกิ ารในวัยเรียนท่ไี มไ่ ด้รบั การศกึ ษา
3.4 ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนห่างไกลกันดารได้มีโอกาสเรียนรู้ในยุคโควดิ สร้างความพร้อมใน
ดา้ นดจิ ิทัลและดา้ นอื่น ๆ
3.5 สนับสนุนการสร้างความร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ
สถาบนั สังคมอนื่
4) การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะอาชพี และเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
4.1 ขบั เคลื่อนศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center)
4.2 ส่งเสริมสนบั สนุนให้มีการฝึกอารมอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกับความถนดั ความสนใจ โดยการ Re-
skill, Up-Skill, New skill
4.3 จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start up) โดยเชื่อมโยงกับกศน. สถาน
ประกอบการทั้งภาครฐั และเอกชนท่ีสอดคล้องกับการประกอบอาชพี ในวิถีชีวติ รปู แบบใหม่
4.4 พัฒนาแอปพลเิ คชน่ั สนบั สนนุ ชา่ งพนั ธุ์ R อาชวี ะซอ่ มทว่ั ไทย นำร่องผา่ นศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือ
ชุมชน จำนวน 100 ศูนย์
5) การสง่ เสรมิ สนับสนนุ วิชาชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
5.1 พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมินวทิ ยฐานะแนวใหม่ PA โดยใชร้ ะบบ DPA
5.2 พัฒนาสมรรถทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยจัดทำกรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital
Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอาชีวศึกษา
5.3 ดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้ความรู้ด้านการ
วางแผนและการสรา้ งวินัยดา้ นการเงินและการออม

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

3

6) การพฒั นาระบบราชการและการบริการภาครฐั ยคุ ดิจิทลั
6.1 จัดระบบทะเบียนประวัติของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์
6.2 ปรับปรุงแนวทางการจดั สรรเงินคา่ เครือ่ งแบบนักเรียนฯ ผ่านแอปพลิกเคชั่น “เป๋าตัง” ของ

กรมบัญชีกลางไปยงั ผ้ปู กครองโดยตรง
7) การขบั เคลอ่ื นกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแหง่ ชาติ

จัดทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแห่งชาติเพื่อรองรับพระราชบัญญัติการศึกษา
แหง่ ชาติควบคู่กับการสรา้ งการรบั รใู้ หป้ ระชารบั ได้รบั ทราบอยา่ งทั่วถึง

ทิศทางการพฒั นาการศึกษาสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล

ทิศทางการพัฒนาการศึกษาของสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล 19 ขอ้ มงุ่ เน้นการ
แกป้ ัญหาการอา่ นออกเขียนได้ สง่ เสรมิ การคัดลายมอื ทักษะเชิงคำนวณ และการยกระดบั กระบวนการบริหาร
วิชาการเพ่อื มุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพอยา่ งยงั่ ยืน ดังนี้

1. เรง่ รัดแกไ้ ขปญั หาอ่านไม่ออกเขยี นไม่ไดข้ องนกั เรยี น
2. เรง่ รดั การพฒั นาทกั ษะทางคณติ ศาสตร์ข้ันพนื้ ฐาน ทั้ง บวก ลบ คูณ หาร ของนักเรียน
3. เรง่ รดั การยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี น
4. พัฒนาทกั ษะการคัดลายมอื ของนักเรียนด้วยรปู แบบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
5. ส่งเสรมิ การปลูกฝังคา่ นิยมพื้นฐาน ๑๒ ประการแกน่ ักเรยี น
6. พฒั นาศักยภาพในการแขง่ ขนั ทางวชิ าการของนักเรยี น
7. ส่งเสรมิ การพฒั นาศักยภาพของเด็กพิการ
8. เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
9. ส่งเสรมิ ความเขม้ แขง็ ของการนิเทศการศึกษา
10. สง่ เสริมศักยภาพของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาและครูในการปฏบิ ัติงาน
11. พัฒนาขดี ความสามารถในการปฏิบตั งิ านและการใหบ้ รกิ ารของบุคลากรทางการศึกษา
12. ส่งเสริม สนับสนนุ ศกั ยภาพในการแข่งขนั ดา้ นตา่ ง ๆ แก่สถานศกึ ษา
13. ส่งเสริมให้บคุ ลากร ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียน พัฒนาศักยภาพเพื่อรองรับการเป็น
ประเทศไทย 4.0
14. เสรมิ สรา้ งความพร้อมในการเป็นพลเมอื งของประชาคมอาเซียนแก่บคุ ลากรผู้บรหิ าร
สถานศึกษา ครู และนกั เรยี น
15. สง่ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาพื้นที่เกาะ และโรงเรียนถ่นิ ทรุ กนั ดาร
16. สง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาตามโครงการและนโยบายของสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
17. สง่ เสรมิ การพัฒนาภมู ิทศั น์ของสถานศึกษาใหส้ ะอาด รม่ รนื่ สวยงาม เอ้ือต่อการจัด
การศกึ ษา

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

4

18. เสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาโดยผา่ นครผู ู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน รวมทงั้ การชแี้ จง การแสดง หรือการแนะนำเกย่ี วกับการสอน

19. ส่งเสริมการพฒั นาศกั ยภาพของเด็กปฐมวยั
การนเิ ทศการศกึ ษาจงึ เป็นภารกจิ ที่จำเปน็ ต่อการจดั การศึกษา ท่ีตอ้ งอาศัยความร่วมมือจากบุคคล
หลายฝ่าย เพ่อื ช่วยเหลือ สนบั สนนุ ให้กระบวนการบรหิ าร และการบวนการเรยี นการสอนมีคุณภาพและให้ทัน
ต่อสภาพความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้แก่ ความเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ตระหนักและเห็นความสำคัญของการนิเทศการศึกษา จึงได้
จัดทำแผนปฏบิ ัติการนิเทศ ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ปกี ารศึกษา 2564 โดย
ใชฐ้ านขอ้ มูล และสารสนเทศ จากการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล ซ่งึ ไดด้ ำเนนิ การในปีการศกึ ษา 2563
ที่เน้นการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ ตามนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล รวมทั้งให้สอดคล้องกับกลยุทธ์
หลกั สูตรและองค์ประกอบต่าง ๆ เพือ่ ยกระดับมาตรฐานทางการศึกษา ใหไ้ ด้ มาตรฐาน ตามภาระงานท่ีได้รับ
มอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบของกล่มุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสตูล รับผิดชอบการจัดการศึกษาในพืน้ ทีจ่ ังหวัดสตูล 7
อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสตูล อำเภอควนโดน อำเภอทา่ แพ อำเภอควนกาหลง อำเภอละงู อำเภอมะนัง และ
อำเภอท่งุ หวา้ มีศูนยเ์ ครอื ข่าย จำนวน 16 ศูนย์ และมโี รงเรยี นในสงั กดั 159 โรงเรียน ได้แก่

อำเภอเมือง
เครอื ขา่ ยสันหลงั มังกร
เครือข่ายเมืองสตูล
เครือข่ายพญาบงั สา
เครือข่ายชัยพัฒน์*

อำเภอทา่ แพ
เครือขา่ ยไผ่สีทอง
เครือขา่ ยบาราเกต

อำเภอควนกาหลง
เครอื ข่ายดอกกาหลง
เครือข่ายทุ่งนุ้ยสมั พนั ธ์

อำเภอละงู
เครือขา่ ยภูผาวารี
เครือข่ายปากนำ้ แหลมสน
เครือข่ายเสมากำแพง
เครอื ขา่ ยละงู

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

5

อำเภอมะนัง
เครือข่ายมะนงั

อำเภอทุง่ หวา้
เครอื ข่ายทุ่งหว้าอันดามนั
เครอื ข่ายสไุ หงอุเปสเตโกดอน

แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

6

บทท่ี 2
ข้อมูลพืน้ ฐานในการนิเทศ

ความสำคญั

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กำหนดเป้าหมายการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ เป็นปัจจัย
สำคัญในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้คนในทุกมิติ ทกุ ช่วงวัยเป็นคนเก่ง ดี และมีคุณภาพ ดงั น้ัน การพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษา จึงหมายถงึ การมุง่ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน ทั้งน้ี กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ประสบ
ผลสำเร็จ ต้องอาศัยการขับเคลื่อนองค์ประกอบร่วม ได้แก่ กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการเรียน
การสอน และกระบวนการนิเทศการศกึ ษา

การนเิ ทศการศกึ ษา เปน็ กระบวนการปรับปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยความร่วมมอื ระหว่าง
ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศที่เน้นการให้การช่วยเหลือ แนะนำตามความต้องการจำเป็น และผู้รับการนิเทศ
ยอมรับข้อเสนอแนะเพ่ือปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนของตนให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การ
เปลี่ยนแปลงเชิงพลวัตทั้งด้านสังคม เทคโนโลยี และสถานการณ์เฉพาะ เช่น การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้รูปแบบการจัดการศึกษาต้องมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์
จากเดิมที่ครูสามารถจัดการศึกษาในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้า ปรับสู่การจัดการศึกษาทางไกล (distance
learning) ผ่านระบบออนไลน์ ระบบโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือระบบการรับส่งเอกสารเพื่อศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง ดังนั้น เมื่อการจัดการศกึ ษาในชั้นเรียนจำเป็นตอ้ งมีการเปล่ียนแปลง การบริหารจดั การใน
การนิเทศการศึกษาทั้งระดับเขตพื้นที่ ระดับสถานศึกษา ย่อมต้องมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับวิถี
ปฏิบัตใิ นการจดั การศึกษา เนน้ ความปลอดภัยของครู ผู้เรียน ควบคู่กบั คุณภาพตามความมงุ่ หมายของหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
ตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการนิเทศการศึกษาท้งั รูปแบบการจัดการศกึ ษาปกติในช้นั เรียน และรูปแบบ
การศึกษาทางไกล จึงได้จัดทำแผนนิเทศการศึกษา ปีงบประมาณ 2565 โดยใช้ข้อมูลจากรายงานการนิเทศ
การศึกษาผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งได้ดำเนินการในปีการศึกษา 2564 ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อเน้นการ
พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ ตามนโยบายและจุดเนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั
พื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล สอดคล้องการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 และหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2561

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล รับผิดชอบการจัดการศึกษาในพื้นที่จังหวัดสตูล 7
อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสตูล อำเภอควนโดน อำเภอท่าแพ อำเภอควนกาหลง อำเภอละงู อำเภอมะนัง และ
อำเภอทุง่ หวา้ มศี นู ย์เครือขา่ ย จำนวน 16 ศูนย์ ได้แก่ สันหลงั มงั กร เมอื งสตลู พญาบังสา ชยั พัฒน์ ควนโดน ไผ่
สีทอง บาราเกต ดอกกาหลง ทุ่งนุ้ยสัมพันธ์ ภูผาวารี ปากน้ำแหลมสน เสมากำแพง ละงู มะนัง ทุ่งหว้าอันดามัน
และสไุ หงอเุ ปสเตโกดอน มีโรงเรียนในสงั กัด 159 โรงเรียน มีผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผู้สอน จำนวน 2,276 คน
นกั เรยี น จำนวน 27,400 คน

แผนการนิเทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

7

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื นเิ ทศ ติดตามจดั การเรยี นการสอนรปู แบบปกติ (on-site) และรูปแบบทางไกลโดยใชเ้ ครือข่าย
สถานศึกษาเป็นฐาน

2. เพอ่ื พฒั นาและส่งเสริมการขับเคล่ือนมาตรการการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของสำนกั งานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาสตลู โดยใช้เครอื ข่ายสถานศึกษาเป็นฐาน

3. เพือ่ กำกบั ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ นโยบาย จดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร สำนกั งาน-
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสตูล

เป้าหมาย

เชิงปริมาณ
ผู้บริหารและครูผูส้ อนในโรงเรียนทุกโรงในสังกัด ได้รับการนเิ ทศ กำกับ ติดตามด้านการจัดการเรียน
การสอน การดำเนินงานโครงการ นโยบายและการขับเคลื่อนมาตรการการยกระดับคุณภาพการศึกษาของ
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล
เชิงคุณภาพ
1. ผู้บริหารสถานศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะให้สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่งได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
2. ครู ได้รับการพัฒนาให้มีทักษะการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานตำแหน่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ สมรรถนะและคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ในระดับท่ีดีขน้ึ

ขอบเขตในการนิเทศการศกึ ษา

1. คณะกรรมการนิเทศ ตดิ ตาม กำกับและประเมินผลการจัดการศึกษา ประกอบดว้ ย

1.1 ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล

1.2 รองผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล จำนวน 3 คน

1.3 ศึกษานิเทศก์ จำนวน 10 คน

1.4 คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา (ก.ต.ป.น.)

จำนวน 9 คน

1.5 ประธานศูนยเ์ ครอื ข่าย จำนวน 16 คน

มรี ายละเอียดคณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตาม กำกบั และประเมินผลการจัดการศึกษา จำแนกตาม

เครือข่าย ดงั นี้

1) คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม กำกับและประเมินผลการจดั การศึกษา จำแนกตามเครอื ขา่ ย

ท่ี เครือข่าย รองผอ.สพป.สตูล ศกึ ษานิเทศก์ ประธานเครือขา่ ย

1 สนั หลงั มังกร นายอภิปราย โสภาย่งิ นายอับดลรอหมาน ปะดกู า นายยงยทุ ธ ยนื ยง

โรงเรียนอนุบาลสตูล

2 เมอื งสตลู นายอภปิ ราย โสภาย่ิง นายเจนวิทย์ อสุ สวโิ ร โรงเรยี นบา้ นเขาจนี

3 พญาบงั สา นายอภปิ ราย โสภายง่ิ นายเจนวิทย์ อสุ สวิโร โรงเรียนบา้ นโคกประดู่

แผนการนิเทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

8

ท่ี เครอื ขา่ ย รองผอ.สพป.สตลู ศึกษานิเทศก์ ประธานเครือขา่ ย
4 ชัยพฒั น์ นายอภิปราย โสภาย่ิง นายอับดลรอหมาน ปะดกู า
นายอับดลรอหมาน ปะดกู า นายนคิ ม กันตวชิ ญว์ งศ์
5 ควนโดน นางสาวศุจิรัตน์ ไชยบรู ณ์ โรงเรียนบา้ นไทรงาม
นางหนึง่ ฤทยั วจิ ิตรจรรยา
6 ภูผาวารี นายอำนวย สนี าค นางหนงึ่ ฤทยั วิจติ รจรรยา นายสุรทิน บิลยะแม
นายนภดล ยง่ิ ยงสกุล โรงเรียนบ้านยา่ นซ่ือ
7 ปากน้ำแหลม นายอำนวย สนี าค มติ รภาพท่ี 147
สน นางสาวจันทรัสม์ เอ่ียวเลก็
นางสาวศภุ วัลย์ ชมู ี นายนราวัฒน์ หลงเกม็
8 เสมากำแพง นายอำนวย สีนาค นางสาวศภุ วลั ย์ ชูมี โรงเรียนบา้ นหวั ควน

9 ละงู นางสาวศุจิรัตน์ ไชยบรู ณ์ นายซัครยี า หมาดบากา นายอาบดี นี องสารา
10 บาราเกต นายอำนวย สนี าค นายซัครยี า หมาดบากา โรงเรียนบ้านตะโละใส
11 ไผส่ ีทอง นายอำนวย สีนาค นางสาวกลั ยาณี พพิ ัฒนว์ รสกลุ
นางจิรชั ฎา ลิมานิ นางอุไร ทีปรักษพันธ์
12 ทงุ่ หว้าอันดา นายอภิปราย โสภายิง่ นางจริ ชั ฎา ลมิ านิ โรงเรยี นทุ่งเสมด็
มนั มติ รภาพท่ี 114

13 สุไหงอุเปสเตโก นายอภิปราย โสภาย่งิ นายสมมารถ จนั มา
โรงเรียนบา้ นลาหงา
ดอน
นายปรชี า หมนี คลาน
14 มะนงั นางสาวศจุ ิรตั น์ ไชยบูรณ์ โรงเรยี นอนบุ าลทา่ แพ

15 ดอกกาหลง นางสาวศุจิรตั น์ ไชยบรู ณ์ นายเกษม สะหมดั หานาย

16 ทงุ่ น้ยุ สมั พันธ์ นางสาวศุจิรัตน์ ไชยบูรณ์ โรงเรียนสมาคม
เลขานกุ ารสตรี 3

นายสุนันท์ เหรม็ ดี
โรงเรยี นบา้ นราไว

นายอุสมาน กาเจ
โรงเรยี นบ้านทุ่งดินล่มุ

นายไสว อนิ ยอด
โรงเรยี นอนุบาลมะนัง

นายรชั พล มาสินธุ์

โรงเรยี นนคิ มพฒั นาผงั 120

นายรกั ชาติ ขา้ งแก้ว
โรงเรียนบา้ นท่งุ นยุ้
มิตรภาพที่ 49

แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

9

2) รายชื่อผูร้ ับผิดชอบการนิเทศ ติดตามการจดั การศกึ ษาโรงเรียนพื้นทเ่ี กาะและถิน่ ทุรกนั ดาร จำแนกตาม
กลุม่ ศกึ ษานิเทศก์ A,B

โรงเรียน โรงเรียน
โรงเรียนบา้ นเกาะสาหรา่ ยชยั พัฒนา
โรงเรยี นบา้ นเกาะหลเี ป๊ะ โรงเรียนบ้านเกาะยาว
โรงเรยี นบา้ นเกาะยะระโตดน้ยุ โรงเรียนบ้านตันหยงกาโบย
โรงเรียนบา้ นตันหยงกลงิ โรงเรียนบ้านตำมะลังเหนือ
โรงเรยี นบ้านตันหยงอมุ าชัยพฒั นา โรงเรียนบา้ นตำมะลังใต้
โรงเรยี นบ้านเกาะบูโหลน
กลมุ่ A โรงเรียนเพียงหลวง 4
รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาสตลู กลุ่ม B
1. นายอภิปราย โสภายิง่
2. นายอำนวย สีนาค รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
3. นางสาวศจุ ิรตั น์ ไชยบรู ณ์ ประถมศึกษาสตลู
ศึกษานเิ ทศก์ 1. นายอภปิ ราย โสภาย่ิง
1. ผู้อำนวยการกลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล 2. นายอำนวย สนี าค
การจดั การศกึ ษา 3. นางสาวศุจิรัตน์ ไชยบรู ณ์
2.นางหนง่ึ ฤทยั วิจิตรจรรยา
3.นายอับดลรอหมาน ปะดูกา ศึกษานิเทศก์
4.นายซคั รยี า หมาดบากา 1. ผู้อำนวยการกลุม่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล
การจดั การศกึ ษา
2. นางจริ ชั ฎา ลิมานิ
3.นายเจนวทิ ย์ อสุ สวิโร
4.นางสาวศภุ วัลย์ ชมู ี
5.นางสาวกลั ยาณี พพิ ัฒน์วรสกลุ

3) รายชอ่ื ผู้รบั ผิดชอบการนิเทศ ตดิ ตามการจัดการศกึ ษา โรงเรยี นพน้ื ท่เี กาะและพน้ื ที่ทุรกนั ดาร
จำแนกเปน็ รายโรง

ท่ี โรงเรยี น ศกึ ษานเิ ทศก์ รอง ผอ.สพป.สตูล
1 โรงเรยี นบา้ นเกาะสาหรา่ ย นายนภดล ยง่ิ ยงสกลุ นายอำนวย สีนาค

โรงเรยี นบา้ นเกาะยะระโตดนุ้ย นายอบั ดลรอหมาน ปะดูกา นายอำนวย สนี าค
โรงเรยี นบา้ นเกาะหลเี ป๊ะ
โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ
โรงเรยี นบ้านตันหยงละไน้
โรงเรียนบ้านเกาะสาหรา่ ย
2 โรงเรยี นบา้ นเกาะยะระโตดน้ยุ

แผนการนิเทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

10

ท่ี โรงเรียน ศึกษานิเทศก์ รอง ผอ.สพป.สตลู
นางจริ ัชฎา ลิมานิ
โรงเรียนบ้านเกาะหลเี ป๊ะ นางหนึง่ ฤทยั วจิ ิตรจรรยา นายอภปิ ราย โสภายง่ิ
นางสาวศุภวลั ย์ ชมู ี นางสาวศจุ ิรตั น์ ไชยบรู ณ์
โรงเรยี นเพยี งหลวง 4ฯ นายเจนวิทย์ อสุ สวิโร นายอำนวย สีนาค
นางสาวกลั ยาณี พพิ ัฒน์วรสกลุ
3 โรงเรยี นบ้านตันหยงอุมา นายซัครียา หมาดบากา นางสาวศุจริ ัตน์ ไชยบูรณ์
โรงเรียนบ้านเกาะบโู หลน นางสาวจนั ทรัสม์ เอีย่ วเล็ก
นายอภปิ ราย โสภายง่ิ
โรงเรียนบา้ นเกาะสาหรา่ ย นางสาวศุจิรัตน์ ไชยบูรณ์
โรงเรยี นบ้านเกาะยะระโตดนุ้ย
4 โรงเรียนบ้านเกาะหลีเปะ๊ นายอภปิ ราย โสภายิ่ง
โรงเรยี นเพียงหลวง 4ฯ นางสาวศุจิรตั น์ ไชยบูรณ์
โรงเรยี นบ้านตนั หยงละไน้ นางสาวศจุ ิรตั น์ ไชยบรู ณ์
นายอภิปราย โสภายิ่ง
โรงเรยี นบา้ นตนั หยงกาโบยฯ นางสาวศจุ ริ ตั น์ ไชยบูรณ์
5 โรงเรยี นบา้ นเกาะยาว นายอำนวย สนี าค
นายอภิปราย โสภาย่งิ
โรงเรยี นบา้ นเกาะบโู หลน

โรงเรียนบ้านตำมะลังเหนอื
6 โรงเรียนบา้ นตำมะลงั ใต้

โรงเรยี นบ้านเกาะบโู หลน

โรงเรียนบา้ นตำมะลงั ใต้
7 โรงเรยี นบา้ นตำมะลงั เหนือ

โรงเรยี นบ้านเกาะบูโหลน
โรงเรยี นบ้านเกาะยาว
8 โรงเรียนบา้ นตันหยงกาโบยฯ
โรงเรียนบา้ นราวปลา
โรงเรียนบ้านเกาะบโู หลน
โรงเรียนบา้ นตันหยงละไน้
9 โรงเรียนบา้ นเกาะหลีเป๊ะ
โรงเรียนบา้ นตนั หยงกลงิ
โรงเรียนเพียงหลวง 4ฯ

แผนการนิเทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

11

4) รายชื่อโรงเรยี นกลุ่มเปา้ หมายการนเิ ทศการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การดำเนนิ โครงการตามนโยบายและ
จดุ เน้น : โรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมายโรงเรยี นในพนื้ ท่ีนวัตกรรม

ท่ี ทมี A ท่ี ทมี B
1 โรงเรียนบ้านบ่อเจ็ดลกู 1 โรงเรยี นบ้านเขาจีน
2 โรงเรยี นบ้านโกตา 2 โรงเรียนวัดหน้าเมือง
3 โรงเรยี นบา้ นท่งุ สภากาชาด 3 โรงเรียนบ้านห้วยน้ำดำ
4 โรงเรยี นบา้ นทางงอ 4 โรงเรียนบ้านควนเก
5 โรงเรยี นบา้ นมะหงัง 5 โรงเรียนบา้ นตนั หยงกาโบย
7 โรงเรยี นอนบุ าลสตูล
8 โรงรยี นอนบุ าลมะนัง

2. เป้าหมายในการนเิ ทศการศึกษา

2.1 พัฒนาการจดั การเรียนการสอน : การนิเทศโดยใช้คณะศกึ ษานิเทศกต์ ่างกลุม่ สาระการ
เรียนรู้เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทง้ั การจดั การเรียนรสู้ ำหรับนกั เรยี นกลมุ่ ปกตแิ ละกลมุ่ นกั เรียนพเิ ศษเรยี น
รวม มีกลุ่มสาระการเรยี นรู้หลัก ได้แก่

1.1 การจัดการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
1.2 การจดั การเรียนรู้กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
1.3 การจดั การเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
1.4 การจัดการเรียนรกู้ ล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาองั กฤษ
1.5 การจดั การเรยี นรูก้ ลุ่มสาระอน่ื ๆ และการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

1.6 การจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย
2.2 การนิเทศเชิงบูรณาการโดยใช้เครือข่ายเปน็ ฐาน : การนิเทศตามบริบทความตอ้ งการจำเปน็

ของเครอื ขา่ ยสถานศึกษา เชน่ การนิเทศการสอน การนิเทศกจิ กรรม โครงการ นโยบาย จดุ เน้นตา่ ง ๆ ของ
สถานศึกษา การนเิ ทศเฉพาะกจิ เพือ่ แกป้ ญั หา ปรับปรุงพัฒนา ทงั้ นีเ้ ปน็ การดำเนินการพฒั นาการบริหาร

วชิ าการเพอื่ ส่งเสรมิ การนเิ ทศภายในร่วมกับเครอื ขา่ ยสถานศึกษา
2.3 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การดำเนนิ โครงการตามนโยบายและจุดเนน้ : การจดั ทำข้อมูล

สารสนเทศโครงการตามนโยบายและจดุ เนน้ เพือ่ กำกบั ติดตามการดำเนินงานของสถานศึกษาโดยแบ่งเปน็
โครงการ นโยบาย กจิ กรรมส่งเสริมการจดั การศึกษาของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และ

โครงการตามแผนปฏิบตั ิราชการ ปงี บประมาณ 2565 ของสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสตูล ดงั น้ี

โครงการ/นโยบาย/กจิ กรรมสง่ เสริมการจัดการศึกษา (สพฐ.)
1) โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย ระดบั ปฐมวยั

2) โครงการนอ้ มนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระประเมนทร-
รามาธบิ ดฯี

3) โครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ระดบั ประถมศึกษา

แผนการนิเทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

12

4) โรงเรยี นพน้ื ทน่ี วัตกรรมการศกึ ษาจงั หวัดสตูล
5) โครงการพัฒนานักเรยี นอยา่ งมคี ุณภาพด้วยการจดั ประสบการณเ์ รียนรู้วทิ ยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีและสะเต็มศึกษา
6) โครงการโรงเรียนประชารฐั
7) โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
8) โรงเรียนคณุ ภาพระดับประถม/stand alone
9) โครงการการพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนรวม
10) โครงการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนอสิ ลามศกึ ษา
11) โครงการโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ
12) โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นรูเ้ พอื่ เสรมิ สรา้ งสมรรถนะผู้เรียนท่ีตอบสนองการ
เปลี่ยนแปลงศตวรรษที่ 21
14) โครงการโรงเรียนสุจริต
15) โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
16) โครงการเพศวิถศี ึกษาและทักษะชวี ติ เพื่อพฒั นาการเรียนการสอนแบบ Active Learning
17) โครงการการจัดการเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ
18) โครงการแพลตฟอร์มดิจิตอลเพ่อื การศึกษา DEEP
19) โครงการติดตามจุดเน้นสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล
20) โครงการเดก็ สตูลลายมือสวย
21) โครงการนิเทศโรงเรียนในโครงการมูลนิธิชยั พฒั นา โรงเรยี นพ้ืนทเ่ี กาะและโรงเรยี นในถิ่น
ทุรกันดาร
22) โครงการอื่น ๆ

แผนการนเิ ทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

13

บทที่ 3
กระบวนการและกลยทุ ธ์การนิเทศ

เป้าหมายการนิเทศการศึกษา
1. การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา: การนิเทศโดยใช้คณะศึกษานิเทศก์ต่างกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาท้ังการจดั การเรยี นรู้สำหรับนักเรยี นกลมุ่ ปกติและกลมุ่ นักเรยี นพิเศษ
เรียนรวม และการนเิ ทศเชิงบูรณาการเพอ่ื พัฒนาองค์ประกอบทเี่ กย่ี วข้องกบั การพัฒนาคุณภาพการจัดการ
เรยี นการสอน ได้แก่

1.1 ด้านการจัดการเรยี นการสอน
1) การจัดการเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
2) การจดั การเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
3) การจัดการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4) การจัดการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
5) การจดั การเรียนรู้กลมุ่ สาระอน่ื ๆ และการจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ
6) การจัดประสบการณร์ ะดับปฐมวัย

1.2 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1.3 ด้านสิ่งแวดลอ้ มและการจดั บรรยากาศที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้
1.4 ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
1.5 ด้านการนเิ ทศภายใน
2. การนิเทศเชิงบรู ณาการโดยใชเ้ ครอื ข่ายเปน็ ฐาน : การนิเทศตามบรบิ ทความต้องการจำเป็นของ
เครือข่ายสถานศกึ ษา เชน่ การนเิ ทศการสอน การนเิ ทศกจิ กรรม โครงการ นโยบาย จุดเนน้ ต่าง ๆ ของ
สถานศึกษา การนเิ ทศเฉพาะกจิ เพ่ือแก้ปัญหา ปรับปรงุ พัฒนา ทงั้ นี้เป็นการดำเนนิ การพฒั นาการบริหาร
วชิ าการเพ่ือส่งเสรมิ การนเิ ทศภายในร่วมกับเครือข่ายสถานศกึ ษา
โดยการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาระดับเครอื ข่าย เป็นความร่วมมอื ระหว่างผู้อำนวยการสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบเครือข่าย ร่วมกับ
เครอื ข่ายสถานศึกษา วเิ คราะหจ์ ดุ เน้นตามมาตรการการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตามความตอ้ งการจำเป็นของ
เครือข่ายสถานศกึ ษา และออกแบบการพฒั นาวิชาการโดยใชเ้ ครอื ข่ายเปน็ ฐาน เช่น การสร้างเครือข่ายความ
รว่ มมอื ในการนิเทศระหว่างสถานศกึ ษา การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ในชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หรือ
แนวทางการพัฒนาการบริหารวชิ าการดว้ ยวธิ กี ารอน่ื ๆ ท่ีหลากหลาย เช่น

1. การวเิ คราะห์ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ในกรณที สี่ ถานศึกษามนี ักเรียนเข้าสอบ
วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น และวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพ เพื่อกำหนดแนวทางการ
แกไ้ ขและพฒั นาตามบรบิ ทของสถานศึกษา

2. การจดั ทำแผนงานโครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียน กำหนดคา่ เป้าหมาย
ตามตัวช้ีวัดความสำเรจ็ ในการประกันคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา

แผนการนเิ ทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

14

3. การจัดทำแผนการยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน รายกลมุ่ สาระ รายชัน้ ปี ระดับสถานศึกษา
ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามบริบทของสถานศึกษา เช่น On-site, Online, On-demand, On-
hand, On-air และ/หรือรูปแบบผสมผสาน

4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเน้น การ
จัดการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ และส่งเสรมิ นักเรียนให้มีความสามารถในการ
แสวงหาความรู้ เพอื่ สรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเอง

6. การพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019

7. การจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทปี่ ลอดภัยและเอือ้ ตอ่ การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
8. การส่งเสริมการจัดทำโครงงานคุณธรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัย ความรับผิดชอบและ
คณุ ลกั ษณะอนื่ ตามจุดเน้นของสถานศกึ ษาทกุ ช้ันเรยี น
9. การจัดระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
10. การจัดระบบการนิเทศภายใน เพื่อกำกับติดตามพฒั นาคุณภาพ

3. การสง่ เสรมิ และสนับสนุนการดำเนนิ โครงการตามนโยบายและจุดเนน้ : เพือ่ กำกบั ติดตามการ
ดำเนินงานของสถานศึกษาโดยแบ่งเป็นโครงการ นโยบาย กิจกรรมส่งเสริมการจัดการศึกษาของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และโครงการตามแผนปฏิบัตริ าชการ ปีงบประมาณ 2565 ของสำนักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสตูล ดังนี้

1. โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย ระดบั ปฐมวัย
2. โครงการนอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระประเมนทรรามาธบิ ดฯี
3. โครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ระดับประถมศกึ ษา
4. โรงเรยี นพน้ื ทน่ี วัตกรรมการศึกษาจังหวดั สตลู
5. โครงการพฒั นาแนวคดิ เชิงคำนวณโดยใช้เกมเป็นฐาน
6. โครงการโรงเรียนคุณภาพ SMT
7. โครงการพัฒนานกั เรียนอย่างมคี ุณภาพด้วยการจัดประสบการณ์เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสะเตม็ ศกึ ษา
8. โครงการโรงเรียนประชารฐั
9. โครงการโรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล
10. โครงการการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรวม
11. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนอสิ ลามศกึ ษา
12. โครงการโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ
13. โครงการพฒั นาการจดั การเรียนรูเ้ พอ่ื เสริมสรา้ งสมรรถนะผเู้ รียนทต่ี อบสนองการเปล่ยี นแปลง
ศตวรรษท่ี 21
14. โครงการโรงเรียนสุจริต
15. โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
16. โครงการเพศวถิ ีศกึ ษาและทักษะชวี ิตเพ่อื พฒั นาการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
17. โครงการการจัดการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

15

18. โครงการแพลตฟอรม์ ดจิ ิตอลเพื่อการศึกษา DEEP
19. จดุ เนน้ สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสตลู
20. โครงการเด็กสตลู ลายมือสวย
21. โครงการนเิ ทศโรงเรียนในโครงการมูลนิธิชัยพฒั นา โรงเรยี นพน้ื ทีเ่ กาะและโรงเรยี นในถ่นิ
ทุรกันดาร
22. โครงการอื่น ๆ
กระบวนการนิเทศ PICED

ในการนิเทศการศึกษา ใช้กระบวนการ PICED ประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติการนิเทศ
การกำกับ ติดตาม การประเมินผลการดำเนินนิเทศ และการเผยแพร่สู่สาธารณะ มีรายละเอียดการดำเนินงาน
ดังนี้

1. วางแผนดำเนนิ การนิเทศ (P – Plan)
ดำเนินการจัดทำแผนการนิเทศการศึกษา ปีงบประมาณ 2565 โดยการนำข้อมูลสารสนเทศทาง

การศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เช่น ผลการทดสอบระดับชาติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายงาน
ตนเองของสถานศึกษา รายงานผลการดำเนินโครงการ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในระดับเขตพื้นที่ และระดับ
สถานศึกษาเพ่อื กำหนดรูปแบบ ขั้นตอนและกลมุ่ เป้าหมายในการนเิ ทศ จัดประชมุ ช้แี จงเพ่ือสร้างความเข้าใจใน
การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยการนิเทศ และกำหนดปฏิทนิ การนเิ ทศตามประเดน็ การนิเทศ

2. ปฏบิ ตั ิการนิเทศ (I – Implement)
การปฏิบัติการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี

การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล ดำเนนิ การนิเทศโดยใชร้ ูปแบบการนิเทศแบบหลากหลายวิธีการ (Differentiated
Supervision) ประกอบด้วย

1. การนเิ ทศแบบคลนิ กิ (Clinical Supervision)
กระบวนการนิเทศเพอ่ื ปรับปรงุ การเรียนการสอนในชน้ั เรียนโดยตรง และตอ้ งดำเนินการนิเทศซำ้

เพือ่ สงั เกตประเด็นการสอนทคี่ วรรว่ มพัฒนา
2. การนิเทศแบบเพอ่ื นชว่ ยเพอ่ื น (Peer Supervision) หรอื การนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนาวิชาชีพ

(Cooperative Professional Development) มีการสังเกตการณ์สอนในชนั้ เรยี น 2-3 ครั้งและจัดกิจกรรม/
โครงการใหค้ รูทม่ี ีความตอ้ งการในการพฒั นาเหมอื นกันเขา้ กลมุ่ ร่วมกันแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ รับการพัฒนาการ
สอนอยา่ งเป็นระบบ

3. การนิเทศแบบพัฒนาตนเอง (Self-directed Development) เป็นการนเิ ทศที่ใหค้ รูทำงาน
อย่างเป็นอสิ ระตามโครงสรา้ งและแผนงานในวชิ าชพี ตามความสนใจของตนเอง โดยเสนอต่อผู้บริหารใหท้ ราบ
ถงึ เปา้ หมาย วธิ กี ารและความสำเร็จของงาน โดยต้องประเมนิ ผลตนเอง จัดทำเอกสารหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ประกอบการประเมนิ เช่น การจดั ทำแผนการพัฒนาตนเอง (ID Plan)

4. การนิเทศโดยผบู้ ริหาร (Administrative Monitoring) จัดทำเคร่อื งมอื สังเกตการสอนเชิง
คุณภาพและเชงิ ปริมาณ หรอื แบบสงั เกตการสอนแบบผสมผสานวิธี และบนั ทกึ ความพรอ้ มในการปฏิบัติงาน
ของครูในแตล่ ะครงั้ ท่ีดำเนนิ การนเิ ทศ

5. การนิเทศทางไกล (Distance Supervision) เป็นการนิเทศที่ผสานวิธีการติดต่อสื่อสารผ่าน
ระบบออนไลน์ และการใช้สอ่ื ประกอบการนิเทศ เช่น เอกสาร คมู่ ือ วดี ีทศั น์ เปน็ ตน้ เพ่อื นิเทศการจดั การเรียน

แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

16

การสอน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามการดำเนินงานต่างๆของสถานศึกษา ทั้งนี้การนิเทศทางไกล

สามารถดำเนินการได้ท้งั รูปแบบที่ผ้นู ิเทศส่ือสารผ่านระบบออนไลน์ไปยงั ผูร้ ับการนเิ ทศท่ีจดั การเรียนการสอน

หรอื ดำเนินงานต่างๆในสถานศึกษาแบบปกติ (On-site) และรปู แบบท่จี ัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์

หรอื การกำกบั ตดิ ตามร่องรอยการจัดการเรียนการสอนรปู แบบ On-demand และ On-hand เชน่ การส่ือสาร

ผ่านโปรแกรมประชุมออนไลน์ หรือการใช้แพลตฟอร์มเพื่อเผยแพร่เอกสาร คู่มือ วีดีทัศน์ และเพื่อการ

แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เช่น google site, line, weblog, e-book และส่ือสังคมออนไลน์อืน่ ๆ เป็นตน้

ซึ่งรปู แบบการนิเทศแบบหลากหลายวิธี สามารถกำหนดกลยุทธใ์ นการนเิ ทศโดยพจิ ารณากิจกรรมการ

นเิ ทศซึ่งเป็นเครอื่ งมือสำคญั เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนาการปฏบิ ตั งิ านของครู ซึ่งจะช่วยใหก้ ารดำเนนิ การนิเทศ

บรรลเุ ปา้ หมาย รวมท้งั เทคนิคเชิงกลยทุ ธ์ในการนิเทศแบบตา่ ง ๆ ปรบั ใช้ใหส้ อดคลอ้ งกับประเดน็ สาระการ

เรียนรู้ และกลุม่ เปา้ หมายในการนเิ ทศ

กลยทุ ธใ์ นการนิเทศ

กจิ กรรมการนิเทศ เทคนิคในการนเิ ทศ

- การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์วิธีปฏบิ ัติทเ่ี ป็น 1. การใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำและชว่ ยเหลือ

แบบอย่าง (นำเสนอเปน็ รายตอน/สกูป๊ ) (Mentoring)

- การเผยแพร่แนวคิด นวัตกรรม วิธีการจัดการเรียน 2. การเสรมิ พลงั พลงั ใจ พลงั สมอง และพลังการ

การสอนทโ่ี รงเรียนได้ค้นพบ หรอื คดิ คน้ นวัตกรรม ปฏบิ ัติ (Empowerment)

ทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งได้ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด 3. การช้แี นะแนวทางปฏบิ ตั ิ (Coaching)

ของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ผ่านรปู แบบท่ี 4. การช่วยเหลอื ครูปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน

หลากหลาย เชน่ วีดีโอ เอกสารวชิ าการ จดหมาย (Clinical)

ข่าว กฤตภาค เป็นตน้ 5. การพัฒนาบทเรยี นรว่ มกนั (Lesson Study)

- การจัดทำเอกสารประชาสมั พันธ์รูปแบบต่าง ๆ 6. การนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนา (Cooperative

เพ่ือนำเสนอแนวทางการจัดการเรยี นการสอน Development) / ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ

ผลการวจิ ยั ท่ีค้นพบจากการนิเทศและการศกึ ษา (Professional Learning Community)

ค้นคว้า 7. การวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วม

- การจดั ทำเพจ/เว็บไซตเ์ ผยแพรเ่ อกสาร วีดโี อ (Participatory Action Research)

ประกอบการจดั การเรียนการสอน 8. การนเิ ทศแบบกัลยาณมติ ร

- กจิ กรรมหนังสือหมุนเวยี น บริการตำรา คมู่ ือการ 9. การนิเทศแบบพัฒนาการ (Development

จดั การเรยี นรู้ใหค้ รมู ายืมใช้เพ่ือการศกึ ษาค้นคว้าได้ supervision)

- การผลิตตำรา คมู่ อื เอกสารประกอบการนเิ ทศ 10. การนิเทศแบบคูส่ ัญญา (Buddy Supervision)

เอกสารประกอบการพฒั นาครู

ฯลฯ
ฯลฯ

3. การควบคุม นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม (C - Control)
ดำเนินการนิเทศเพื่อ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาตามที่กำหนด โดยมีผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล รอง

ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูลลงพ้ืนที่ และศึกษานเิ ทศก์ คณะกรรมการติดตาม

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

17

ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) รวมทั้งบุคลากรที่ได้รับมอบหมายปฏิบัติหน้าท่ีเยี่ยม
ติดตามและสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูในการจัดการเรียนการสอน

ท้ังน้ี การนิเทศ กำกบั ตดิ ตามในระดบั สถานศกึ ษา กำหนดให้ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครวู ิชาการ และ
ครูผู้สอนประเมินความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานทั้งการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานตามจุดเน้น
โครงการ นโยบายทส่ี ถานศึกษาเกี่ยวข้อง

4. ประเมินผลการดำเนินการ (E – Evaluate)
การประเมนิ ผลจากการนิเทศการศกึ ษา โดยใชเ้ คร่ืองมือในการนิเทศ ไดแ้ ก่
1) เครอื่ งมือการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอน
2) เครื่องมือการกำกับติดตามการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินโครงการตามนโยบายและ

จุดเนน้
3) เคร่อื งมือการนิเทศอนื่ ๆ ตามประเด็นการนเิ ทศของเครอื ข่ายสถานศกึ ษา
ทั้งนี้ในการสรุปข้อค้นพบ ผลจากการนิเทศ ให้จัดทำเป็นรายงานสรุปข้อค้นพบ/รายงานผลการ

นเิ ทศตามเครอื ข่ายสถานศึกษาทต่ี นรับผิดชอบ และนำเสนอ แลกเปลย่ี นในการประชุมสรุปผลการนิเทศ
5. เผยแพร่สูส่ าธารณะ (D – Disseminate)
นำเสนอผลการนิเทศ ข้อค้นพบ วิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียน หลังจากได้รับการนิเทศแล้วอัพโหลด

เพือ่ เผยแพร่สู่สาธารณชน ผา่ นทางสือ่ สาธารณะตา่ ง ๆ เช่น เว็บไซตก์ ลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา http://www.nitessatun.net หรือ Facebook : ครู สพป.สตลู หรอื หอ้ ง LINE แจง้ ราชการ สพป.
สตูล หรือช่อง Youtube: KruSatun Chanel Mobile Application สพป.สตูล และอื่น ๆ และ ส่งเสริม
สนับสนนุ ใหผ้ บู้ ริหารและครผู ้สู อนจัดรายงานผลการศกึ ษาสสู่ าธารณะ (Open House) เพื่อเผยแพรว่ ธิ ปี ฏิบัติท่ี
เป็นแบบอยา่ งได้ซึง่ เปน็ ผลที่เกดิ จากการนิเทศการศึกษา

แผนการนิเทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

กรอบแนวคิดการดาเน

นินการนิเทศโดยใช้กระบวนการ PICED

บทท่ี 4
แผนการดำเนนิ งานนิเทศการศึกษา

เปา้ หมายการนเิ ทศ :

1) คุณภาพการศกึ ษา

1.1 ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน

1) การจัดการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
2) การจัดการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
3) การจัดการเรียนร้กู ลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4) การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาองั กฤษ
5) การจัดการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระอืน่ ๆ และการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการ

6) การจดั ประสบการณร์ ะดบั ปฐมวยั

1.2 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1.3 ด้านส่ิงแวดลอ้ มและการจดั บรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้
1.4 ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน
1.5 ด้านการนิเทศภายใน
ระยะเวลา : ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 - ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

กลุ่มเป้าหมาย : โรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสตูล 159 โรง

ข้ันตอนการดำเนนิ งาน เครื่องมือนิเทศ หมายเหตุ

Plan - แบบบันทกึ การจดั การเรยี น

1. วเิ คราะห์ขอ้ มูลสารสนเทศ กำหนดรูปแบบ ข้นั ตอน การสอน (หลักการ OLE)

และกลมุ่ เปา้ หมายในการนิเทศ - แบบตรวจสอบรายการ

2. ประชมุ ช้แี จงและแลกเปลย่ี นเพือ่ กำหนดแนว - บนั ทึกสะท้อนผลการนิเทศ

ทางการนิเทศร่วมกนั

3. กำหนดปฏิทินการนเิ ทศตามกลุ่มสาระการเรียนรู้

Implement
4. ดำเนนิ การนเิ ทศ

- ชีแ้ จงวตั ถุประสงค์และกำหนดเปา้ หมายรว่ มกับ
ครูผูส้ อนในการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้/การจดั

ประสบการณ์
- นเิ ทศการสอนโดยการสงั เกตชั้นเรยี น อย่างนอ้ ย 2
ครั้งต่อภาคเรียน

- สะทอ้ นผลการนเิ ทศการสอน

20

ข้นั ตอนการดำเนินงาน เครอ่ื งมอื นเิ ทศ หมายเหตุ

- ออกแบบวิธกี ารพัฒนาการสอนรว่ มกัน
- PLC
- ID Plan
- นเิ ทศภายในและภายนอก
- ประชุมกลมุ่ ย่อยพัฒนาความร้/ู ทกั ษะ

การสอน ฯลฯ

Control
5. ตดิ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ สงั เกตชั้นเรยี น
เพม่ิ เตมิ เพือ่ กำกบั การพฒั นาวธิ ีการจัดการเรยี นรู้

Evaluate
6. ประเมินผลการนเิ ทศและสรปุ ผลรว่ มกับผูบ้ รหิ าร
เพ่ือจัดทำข้อเสนอแนะในการนิเทศครั้งต่อไป

Disseminate
7. จดั ทำรายงานผลการนเิ ทศ และเผยแพร่
แนวทางการสอนของครูที่ได้รบั การพัฒนาจนสามารถ
เป็นแบบอย่างได้

ประเดน็ การนิเทศ :
2) การนเิ ทศเชงิ บูรณาการโดยใช้เครอื ขา่ ยเป็นฐาน
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 / ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

กจิ กรรมการนเิ ทศ สื่อ/เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการนเิ ทศ หมายเหตุ

Plan *หมายเหตุ
1. ประชมุ ช้แี จง แลกเปลี่ยนความคิดเหน็
เพ่อื กำหนดแนวทางการพฒั นาคุณภาพ จดั ทำเคร่อื งมือการนเิ ทศ เครอื ข่าย
ร่วมกนั และกำหนดรูปแบบ ขนั้ ตอน
กลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นาคุณภาพ และ ตามบริบทความต้องการจำเปน็ สถานศึกษา
ปฏทิ นิ การนิเทศระดับเครือข่าย
2. กำหนดวธิ กี ารและเครื่องมอื ที่ใช้ในการ ของแต่ละเครือข่าย 1. สนั หลงั มังกร
นเิ ทศระดบั เครอื ขา่ ย
Implement 2. เมืองสตูล
3. ดำเนินการนิเทศระดับเครอื ข่าย
- ศกึ ษานเิ ทศกแ์ ละผู้บริหาร 3. พญาบังสา
สถานศกึ ษา รว่ มประชุมหารือเพอื่ กำหนด
แนวทางการบริหารเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ 4. ชัยพัฒน์

5. ควนโดน

6. ดอกกาหลง

7. ท่งุ นยุ้ สัมพนั ธ์

8. บาราเกต

9. ไผส่ ีทอง

10. ทงุ่ หวา้ อนั ดามัน

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

21

กิจกรรมการนิเทศ สื่อ/เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการนิเทศ หมายเหตุ

การศกึ ษา 11. สุไหงอุเป
-ดำเนนิ การนเิ ทศการศกึ ษาตาม 12. มะนงั
ประเด็นพัฒนาทเี่ ครือขา่ ยสถานศกึ ษา 13. ภูผาวารี
กำหนด 14. ปากน้ำแหลมสน
Control 15. เสมากำแพง
4. ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการพฒั นา 16. ละงู
คณุ ภาพตามแนวทางทเ่ี ครือข่ายกำหนด
Evaluate
5. ประเมนิ ผล และสรุปผลการดำเนนิ การ
นเิ ทศรว่ มกบั ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาในระดับ
เครอื ขา่ ย
Disseminate
6. จดั ทำรายงานผลการนิเทศ เสนอตอ่
ผูบ้ งั คบั บญั ชา และเผยแพร่ผลการปฏิบตั สิ ู่
สาธารณะ

เปา้ หมายการนเิ ทศ :
3) การส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดำเนนิ โครงการตามนโยบายและจดุ เน้น :
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 / ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565

กำกับ ติดตามการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาโดยแบ่งเปน็ โครงการ นโยบาย กจิ กรรมสง่ เสริมการจัด
การศกึ ษาของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ
ปงี บประมาณ 2565 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสตูล ดงั นี้

-โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทย ระดับปฐมวัย
-โครงการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระประเมนทรรามาธบิ ดีฯ
-โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ระดับประถมศกึ ษา
-โรงเรียนพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั สตลู
-โครงการพฒั นาแนวคิดเชงิ คำนวณโดยใชเ้ กมเป็นฐาน
-โครงการโรงเรยี นคุณภาพ SMT
-โครงการพฒั นานักเรียนอยา่ งมคี ุณภาพด้วยการจัดประสบการณเ์ รยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
เทคโนโลยแี ละสะเต็มศกึ ษา
-โครงการโรงเรยี นประชารฐั
-โครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล
-โครงการการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรวม
-โครงการพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนอิสลามศึกษา

แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

22

-โครงการโรงเรยี นวิถีพุทธ
-โครงการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้เพอ่ื เสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียนท่ตี อบสนองการ
เปล่ียนแปลงศตวรรษที่ 21
-โครงการโรงเรียนสุจริต
-โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
-โครงการเพศวถิ ีศกึ ษาและทักษะชีวิตเพอ่ื พฒั นาการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
-โครงการการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคำนวณ
-โครงการแพลตฟอร์มดจิ ิตอลเพอ่ื การศึกษา DEEP
-โครงการนิเทศโรงเรยี นในโครงการมูลนิธิชัยพัฒนา โรงเรียนพืน้ ทเ่ี กาะและโรงเรียนในถ่นิ
ทรุ กันดาร
-จดุ เน้นสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสตลู
-โครงการเด็กสตูลลายมือสวย
-โครงการอน่ื ๆ

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565

23

กิจกรรมการนิเทศ ส่ือ/เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการนิเทศ หมายเหตุ

Plan *เครอื่ งมอื การนเิ ทศ กำหนดตาม

- ศึกษาความเกย่ี วข้องและภารกจิ การตอบตวั ชี้วัด เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล

และมาตรฐานเขต (KRS,ARS) โครงการ

- ระบุกลมุ่ เป้าหมายในการกำกับ ติดตามโครงการ

- จัดทำปฏิทินการดำเนินการและการกำกับ

ตดิ ตามโครงการ

Implement

- รวบรวมเอกสาร คมู่ อื การนิเทศไวเ้ ป็นข้อมลู กลาง

ที่ศกึ ษานเิ ทศก์ทกุ คนสามารถดาวนโ์ หลดได้ เชน่

เคร่อื งมือการกำกับ ติดตามโครงการ และเอกสาร

ขอ้ มูลพ้ืนฐานของโครงการ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ

กำกับตดิ ตาม

- ดำเนนิ การตามปฏิทินทีก่ ำหนด

Control

- ตดิ ตามการดำเนินงานตามปฏทิ ินท่กี ำหนด

- รายงานผลการนิเทศ

Evaluate

- ประเมินผลการดำเนนิ โครงการ การกำกบั ติดตาม

การดำเนินโครงการ

- สรปุ ผลการดำเนินโครงการ

Disseminate

- เผยแพรส่ ถานศึกษา/ผู้บรหิ ารสถานศึกษา/

ครูผสู้ อน หรือแนวปฏบิ ตั ิของเขตพนื้ ทที่ ีม่ ีวิธปี ฏิบัติ

หรือผลลัพธท์ ่ีสามารถเป็นแบบอยา่ งได้

แผนการนเิ ทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

24

ปฏทิ นิ การนิเทศการศกึ ษา

ระยะเวลา ประเด็นการนิเทศ ผนู้ เิ ทศ หมายเหตุ

1 – 19 พ.ย. 64 พฤศจิกายน 2564

ธนั วาคม เยี่ยมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

สัปดาห์ที่ 1 ธันวาคม 2564
สปั ดาห์ท่ี 2
สปั ดาห์ท่ี 3 - ร.ร. ในเครอื ขา่ ย/
สัปดาห์ท่ี 4
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ศกึ ษานิเทศก์ พื้นทเ่ี กาะ
สัปดาห์ท่ี 1
สปั ดาห์ที่ 2 ทีม A / ทีม B ท่เี ปดิ On-site
สปั ดาห์ที่ 3
สัปดาห์ที่ 4 มกราคม 2565

สปั ดาห์ที่ 1 การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ศกึ ษานิเทศก์ - ร.ร. ในเครอื ขา่ ย/
สปั ดาห์ท่ี 2 ทมี A / ทีม B
สปั ดาห์ที่ 3 พื้นท่เี กาะ
สัปดาห์ที่ 4 ทีเ่ ปิด On-site

สัปดาห์ที่ 1 กมุ ภาพันธ์ 2565
สัปดาห์ที่ 2
สัปดาห์ท่ี 3 การนเิ ทศเครือข่าย ศน.เครอื ข่าย - ร.ร. ในเครือข่าย/
สัปดาห์ท่ี 4 พน้ื ทเ่ี กาะ
การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ศน.ทมี A/B
สปั ดาห์ที่ 1-4 ทเ่ี ปดิ On-site
การนิเทศเครอื ข่าย ศน.เครอื ขา่ ย
สัปดาห์ที่ 1 - ร.ร. ในเครือขา่ ย/
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ศน.ทมี A/B พืน้ ท่เี กาะ
สัปดาห์ท่ี 2
มีนาคม 2565 ทเ่ี ปิด On-site
-พน้ื ท่ีนวตั กรรม
การนิเทศเครอื ข่าย ศน.เครือขา่ ย

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ศน.ทมี A/B

การนเิ ทศเครอื ข่าย ศน.เครือขา่ ย

การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ศน.ทีม A/B

เมษายน 2565

ประชมุ สะท้อนผลการนเิ ทศ
เผยแพร่แนวปฏิบัติท่เี ปน็ แบบอย่างได้

พฤษภาคม 2565

เยีย่ มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

มิถุนายน 2565

การนเิ ทศเครือข่าย/ ศน.เครอื ข่าย - ร.ร. ในเครือข่าย/

การกำกับติดตามโครงการ ศน.โครงการ พ้ืนทเี่ กาะ/โครงการ

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ศน.ทีม A/B -พื้นที่นวตั กรรม

แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

25

ระยะเวลา ประเด็นการนิเทศ ผนู้ เิ ทศ หมายเหตุ

สัปดาห์ท่ี 3 การนเิ ทศเครอื ข่าย/ ศน.เครือข่าย - ร.ร. ในเครอื ขา่ ย/
พื้นที่เกาะ/โครงการ
การกำกับตดิ ตามโครงการ ศน.โครงการ
-พื้นที่นวตั กรรม
สปั ดาห์ที่ 4 การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ศน.ทีม A/B
- ร.ร. ในเครอื ข่าย/
กรกฎาคม 2565 พ้นื ท่เี กาะ/โครงการ

สปั ดาห์ที่ 1 การนเิ ทศเครือข่าย/ ศน.เครือขา่ ย -พื้นท่นี วัตกรรม

การกำกับตดิ ตามโครงการ ศน.โครงการ - ร.ร. ในเครือขา่ ย/
พ้นื ที่เกาะ/โครงการ
สปั ดาห์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ศน.ทีม A/B
-พน้ื ท่ีนวัตกรรม
สัปดาห์ที่ 3 การนิเทศเครือข่าย/ ศน.เครือขา่ ย

การกำกบั ติดตามโครงการ ศน.โครงการ

สปั ดาห์ท่ี 4 การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ศน.ทีม A/B

สงิ หาคม 2565

สปั ดาห์ที่ 1 การนิเทศเครือข่าย/ ศน.เครือขา่ ย

การกำกับติดตามโครงการ ศน.โครงการ

สปั ดาห์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศน.ทีม A/B

สปั ดาห์ที่ 3 การนเิ ทศเครือข่าย/ ศน.เครอื ข่าย

การกำกับตดิ ตามโครงการ ศน.โครงการ

สปั ดาห์ที่ 4 การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ศน.ทมี A/B

กันยายน 2565

สัปดาห์ท่ี 1 การนเิ ทศเครอื ข่าย/ ศน.เครอื ขา่ ย

การกำกับติดตามโครงการ ศน.โครงการ

สัปดาห์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศน.ทีม A/B

สปั ดาห์ที่ 3 ประชมุ สะท้อนผลการนิเทศ

สัปดาห์ท่ี 4 สรุปผลการนเิ ทศ

เผยแพรแ่ นวปฏิบัติท่เี ป็นแบบอยา่ งได้

หมายเหตุ :

ศึกษานิเทศก์ทมี A ประกอบด้วย 1. นายนภดล ย่งิ ยงสกุล

2. นายอบั ดลรอหมาน ปะดูกา

3. นางหนงึ่ ฤทยั วิจติ รจรรยา

4. นายซคั รียา หมาดบากา

5. นางสาวจนั ทรสั ม์ เอ่ยี วเลก็

ศกึ ษานิเทศก์ทมี B ประกอบด้วย 1. นายนภดล ยงิ่ ยงสกลุ

2. นางจิรัชฎา ลิมานิ

3. นายเจนวิทย์ อุสสวิโร

4. นางสาวศภุ วัลย์ ชูมี

5. นางสาวกัลยาณี พิพฒั น์วรสกุล

แผนการนิเทศการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2565

คณะผ้จู ดั ทำ

ทีป่ รึกษา

นายประหยดั สขุ ขี ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสตูล

นางสาวศจุ ริ ตั น์ ไชยบูรณ์ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสตลู

คณะผูจ้ ัดทำ ผอู้ ำนวยการกลุม่ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
นายนภดล ย่งิ ยงสกลุ ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ
นายอบั ดลรอหมาน ปะดูกา ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
นางจิรัชฎา ลิมานิ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
นายเจนวทิ ย์ อสุ สวโิ ร ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการ
นางหนึง่ ฤทยั วิจิตรจรรยา ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
นางสาวสวรรค์ ชำนาญนา ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการ
นางสาวศุภวลั ย์ ชูมี ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
นางสาวกลั ยาณี พพิ ฒั นว์ รสกุล ศึกษานเิ ทศก์
นางสาวจนั ทรสั ม์ เอยี่ วเล็ก เจ้าพนักงานธุรการปฏบิ ตั ิงาน
นางสาวฉนั ณภสินธ์ุ คงประสิทธิ์

แผนการนเิ ทศการศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2565


Click to View FlipBook Version