The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2562

รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2562

คํานํา

ด้วยการจัดการศึกษาในปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการ ได้กระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาทั้งสี่
ด้าน คอื ด้านวิชาการ งบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คลและการบรหิ ารทัว่ ไป ไปยังสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และสถานศึกษา โดยตรง สําหรับสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลมีคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา เปน็ ทีป่ รึกษาในการดาํ เนินงานเพ่อื พัฒนาคุณภาพการศึกษา จํานวน
ทั้งส้ิน 9 คน ในปีการศึกษา 2562 ได้จัดทําแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
ประจําปีการศึกษา 2562 ขึ้น เพื่อใช้เป็นทิศทางในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษา
หลงั จากนน้ั ไดศ้ ึกษาผลการดาํ เนินงาน ดังปรากฎรายละเอียดในเอกสารรายงานฉบับนี้

การดําเนินงานตามแนวทางทุกข้ันตอนสําเร็จได้ด้วยการได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการ ติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา อนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นิเทศการศึกษา
และผเู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยดว้ ยดี สง่ ผลใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทกุ ประการ ซงึ่ ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานผลการดําเนินงานตามแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศกึ ษา ประจําปีการศกึ ษา 2562 ฉบับนสี้ ามารถนําไปใชป้ ระโยชน์เพื่อการ พัฒนาการศึกษาและ
ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั ทาํ รายงานเร่ืองต่าง ๆ ตอ่ ไป

2

สารบญั

คาํ นาํ หนา้
สารบญั
บทที่ 1 บทนํา 4
4
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา 4
5
วตั ถปุ ระสงค์ 5
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั 5
ขอบเขตของการดําเนินงาน 7
นิยามศัพท์ 7
บทท่ี 2 เอกสารและหลักการทเี่ ก่ยี วข้อง 10
สาระกฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง 13
บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา 13
บทที่ 3 การดําเนินงาน 13
วัตถุประสงค์ 13
การดําเนนิ งานติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา 15
ด้านวิชาการ 24
แผนการนเิ ทศ ติดตาม โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบ PICED สพป.สตลู 26
ดา้ นงบประมาณ 27
ดา้ นการบริหารงานบุคคล 28
ด้านบรหิ ารทัว่ ไป
บทท่ี 4 ผลการดาํ เนนิ งาน 28
ตอนท่ี 1 ผลการพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา 31
32
ประจาํ ปีการศกึ ษา 2562
ตอนที่ 2 ผลการสร้างเครือข่ายการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา 33
ตอนที่ 3 ผลการรายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม การดําเนินการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ตอนที่ 4 ผลการดําเนนิ งานโครงการนโยบายสําคญั โดยยดึ ยทุ ธศาสตรข์ องยทุ ธศาสตร์

ของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล

3

สารบัญ (ต่อ) หน้า
33
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การศึกษาเพื่อความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผ้เู รียนและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ ง 34
39
ขดี ความสามารถในการแข่งขัน 40
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 40
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ การบริการทางการศึกษา 41
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาเพื่อเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 42
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การและสง่ เสริมให้ทุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วม 42
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 42
วัตถปุ ระสงค์ 42
ประชากร 42
เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการดําเนินงาน 43
การวเิ คราะห์ผลการดาํ เนนิ งาน 45
สรปุ ผลการดําเนินงาน 45
อภปิ รายผล 46
ข้อเสนอแนะ 47
บรรณานกุ รม 61
ภาคผนวก
คณะทํางาน

4

บทที่ 1

บทนาํ

ความเป็นมาและความสาํ คญั ของปญั หา

การจัดการศึกษาในปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการได้กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ทงั้ ด้านวิชาการ งบประมาณ การบรหิ ารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการ สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง ดังนั้นสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีลักษณะการบริหารงานที่เข้มแข็ง
(Strong Chief Executive Officer) สามารถตัดสินใจดําเนินการได้อย่างเต็มที่ เพ่ือให้เขตพื้นที่การศึกษา
มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับหลัก
การศึกษา แนวการจัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนนโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษา ข้ึนพื้นฐานและกระทรวงศึกษาธิการ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 จึงได้บัญญัติให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา “โดยมีอํานาจหน้าที่ให้เป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม
และประเมินผลสัมฤทธ์ิของหน่วยงานและสถานที่ในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือเตรียมการรับการนิเทศ
ติดตามและประเมินผลจากหน่วยงานภายนอก” (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2549 : 5)
สําหรับพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และฉบบั แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 มาตรท่ี 62 ระบุให้
มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษา
แนวการจัดการศึกษาและคุณภาพมาตรฐานการศึกษาโดยหน่วยงานภายในและหน่วยงานของรัฐ ที่มีหน้าท่ี
ตรวจสอบภายนอก

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงกําหนดให้สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสตูล คัดเลือก
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ตามข้ันตอนและแนวทางของสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน จํานวนทงั้ สนิ้ 9 คน เพื่อเปน็ การระดมทรพั ยากร บุคคลที่ทรงคุณค่าแห่งภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ซ่ึงจะส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสตูล,
2561 : 1)

เพอ่ื ให้การบริหารจัดการศึกษาเป็นไปตามระเบียบที่เสนอมาแล้วนั้น คณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของสาํ นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาสตลู จึงไดจ้ ัดทําแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ประจําปี 2561 ขึ้น เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศกึ ษา ในปีงบประมาณ 2561 หลังจากใช้ แผนกลยุทธ์ดงั กล่าว ได้ศึกษาผลการดําเนินงาน ดังปรากฏ
รายละเอยี ดทจ่ี ะนําเสนอต่อไป

วตั ถปุ ระสงค์

เพือ่ ศึกษาและรายงานผลการดําเนินงานตามแผนกลยทุ ธ์ ระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและ
นิเทศการศกึ ษา ประจําปี 2561

5

ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั

1. สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาสตูลมีระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาท่ีมี
คุณภาพ

2. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษามีแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา

3. คุณภาพการศึกษาพัฒนาขึน้

ขอบเขตของการดําเนินงาน

1. ขอบเขตเนอ้ื หา

เป็นการศึกษาและรายงานผลการดําเนินงานตามแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา ประจําปีการศึกษา 2562 ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศกึ ษา สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ประจาํ ปีการศกึ ษา 2562

2. ประชากร

ประชากรท่ีใช้ในการดําเนินงาน เป็นผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสตูล ปี
การศึกษา 2562 จํานวน 161 คน

3. เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการดาํ เนนิ งาน

3.1 แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ประจาํ ปีการศึกษา
2562

3.2 กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
3.3 แบบรายงานผลการนิเทศติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
3.4 แบบรายงานผลการดาํ เนินงานโครงการนโยบายสําคัญ

นยิ ามศัพท์

แนวทางการติดตาม หมายถึง แนวทางท่ีมีการกําหนดเป้าหมายระยะยาวท่ีแน่ชัด มีการวิเคราะห์
อนาคต ท่ีต้องการระบบการทํางานที่มีความสามารถในการปรับตัวสูง สําหรับการทํางานในส่ิงแวดล้อมที่มีการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ เพอื่ นาํ ไปส่เู ปา้ หมายของการปฏบิ ตั งิ าน

คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา หมายถึง องค์ คณะบุคคล จํานวน
เกา้ คน ซง่ึ ประกอบด้วย ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นประธาน กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้บริหาร
สถานศึกษาข้ันพ้นื ฐานของรฐั จาํ นวนหนึ่งคน กรรมการท่ีเป็นผู้แทน ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของเอกชน
หน่ึงคน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนห้าคน และหัวหน้า กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
เป็นกรรมการและเลขานกุ าร

การติดตาม (monitoring) หมายถึง การศึกษาความก้าวหน้าในการดําเนินงานตาม แผนงานของ
สถานศกึ ษา และหน่วยงานตา่ ง ๆ ของสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา

การตรวจสอบ (inspection) หมายถึง การกํากับ ควบคุม และการใช้คําแนะนําเพื่อ ปรับปรุงการ
ดาํ เนนิ งานให้เปน็ ไปตามนโยบายและแผนของรฐั บาลและหนว่ ยเหนือ

6

การประเมินผล (evaluation) หมายถึง การตีคุณค่าของผลการดําเนินงานโดย เปรียบเทียบ
กบั วตั ถุประสงค์และเป้าหมาย ทก่ี ําหนดในแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีด่ ําเนนิ งาน

การนิเทศ (supervision) หมายถึง ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ของ
สาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษากับคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การศึกษาเพ่ือรับทราบ
และนําผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข หรือพัฒนาการดําเนินงานของ สถานศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ
ดงั กลา่ ว

7

บทท่ี 2
เอกสารและหลกั การทเ่ี กย่ี วข้อง

การดาํ เนนิ งานตามแผนกลยทุ ธ์ ระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ประจําปี
2550 ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อนํามาเป็นหลักการ กรอบแนวคิดสําคัญ ใช้ในการ
ดาํ เนินงาน ดงั นี้

1. สาระของกฎหมายและระเบียบทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

2545 1.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.
พ.ศ. 2546
1.2 พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
1.3 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546
1.4 กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2546
1.5 กฎกระทรวงกาํ หนดหลกั เกณฑ์การแบง่ สว่ นราชการภายในสาํ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

1.6 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ.2560

2. บทบาทหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศ การศึกษา

2.1 การทําความเข้าใจบทบาทหน้าท่ี
2.2 ขนั้ ตอนการดาํ เนินงาน
2.3 ข้อมลู ที่สถานศึกษาจะต้องจดั ทําเสนอคณะกรรมการ

1. สาระของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

1.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545
มาตราท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศกึ ษา มดี ังนี้

มาตรา 62 ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลการใช้จ่าย
งบประมาณการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา แนวการจัด การศึกษา คุณภาพมาตรฐาน
การศึกษา โดยหนว่ ยงานภายในและหนว่ ยงานของรฐั ท่มี ีหนา้ ที่ ตรวจสอบภายนอก

มาตราทเ่ี ก่ยี วกบั แนวการจดั การศกึ ษา มีดังนี้
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสําหรับบุคคล ตาม มาตรา 10
วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี ตอ้ งมลี ักษณะหลากหลาย ทั้งนี้ให้จัดตามความ เหมาะสมของแต่ละระดับ โดย
มงุ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคลใหเ้ หมาะสมแก่วัยและศักยภาพ
สาระหลักสตู ร ท้ังที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลท้ังด้าน ความรู้ ความคิด
ความสามารถ ความดีงาม และความรับผดิ ชอบต่อสังคม
สาํ หรับหลกั สูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหน่ึง และวรรค สองแล้ว ยังมี
ความมุ่งหมายเฉพาะท่ีจะพัฒนาวิชาการวิชาชีพชั้นสูง และการค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนา องค์ความรู้ และพัฒนา
สังคม

8

มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน
เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ สถาบันสังคมอ่ืน ส่งเสริมความ
เข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อให้ ชุมชนมีการจัดการศึกษา มีการแสวงหา
ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และ วิทยาการต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับ
สภาพปญั หาและความตอ้ งการ รวมทงั้ หาวิธีการ สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนาระหว่าง
ชมุ ชน

มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ ส่งเสริมให้
ผู้สอนสามารถวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกับผ้เู รยี นในแต่ละระดับการศึกษา

มาตรา 47 ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้วย ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก

มาตรา 48 ใหห้ น่วยงานต้นสงั กัดและสถานศกึ ษาจดั ให้มรี ะบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา
และใหถ้ อื วา่ การประกันคณุ ภาพภายในเป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการบริหาร สถานศึกษาที่ต้องดําเนินการอย่าง
ต่อเน่ือง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปีเสนอต่อหน่วยงานต้น สังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อ
สาธารณชนเพื่อนําไปส่กู ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา และเพ่ือรองรบั การประกนั คุณภาพภายนอก

มาตรา 49 ใหม้ สี ํานกั งานรองรับมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา มฐี านะเป็น องค์การมหาชน
ทําหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการประประเมินผลการจัดการศึกษา เพ่ือให้มี
การตรวจสอบคุณภาพสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละ
ระดับตามทีก่ าํ หนดไวใ้ นพระราชบัญญตั นิ ี้

ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหน่ึงคร้ังในทุกห้าปี นับต้ังแต่การ
ประเมนิ ครง้ั สดุ ท้าย และเสนอผลการประเมินตอ่ หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งและสาธารณชน

มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ท่ีมี ข้อมูลเกี่ยวกับ
สถานศึกษา ตลอดจนให้บุคลากรคณะกรรมการของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ปกครองและ ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับ
สถานศกึ ษาให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมในส่วนทพ่ี จิ ารณาเห็นวา่ เกยี่ วข้องกับการปฏบิ ตั ิ ภารกิจของสถานศึกษา ตามคําร้อง
ขอของสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคล หรือหน่วยงานภายนอกท่ี
สํานักงานดงั กล่าวรบั รองทีท่ ําการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สถานศึกษาน้ัน

มาตรา 51* ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้มาตรฐานที่ กําหนด ให้
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทําข้อเสนอแนะการ ปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงาน
ต้นสงั กัด เพ่ือใหส้ ถานศึกษาปรบั ปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาท่ีกําหนด หากมิได้ดําเนินการดังกล่าว ให้สํานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เพ่อื ดาํ เนินการใหม้ ีการปรับปรงุ แก้ไข

1.2 พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546
มาตราที่เกยี่ วข้องกบั การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการศึกษา คอื
มาตรา 20 ให้กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวงเพ่ือทําหน้าที่ในการ ตรวจราชการ
ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม และประเมินผลระดับนโยบาย เพื่อนิเทศให้คําปรึกษา และแนะนําเพ่ือการ
ปรับปรงุ พฒั นา
ในระดับสํานักงานคณะกรรมการหรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่น ให้ทําหน้าท่ีติดตาม และ
ประเมนิ ผลนโยบายตามภารกิจ ตลอดจนนเิ ทศให้คาํ ปรกึ ษาและแนะนําเพ่ือปรับปรงุ พฒั นา

9

ในระดบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษาใหเ้ ป็นการศึกษา วเิ คราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการบริหาร
และการดําเนินการ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาใน สังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษา เพ่ือการ
เตรียมการรบั การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหนว่ ยงานภายนอก

การดําเนินการตามวรรคหนง่ึ และวรรคสาม ให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการ
จัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของ
เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบดําเนินการ สําหรับกระทรวงศึกษาธิการ หรือสําหรับเขตพื้นที่การศึกษา ทั้ง
จาํ นวน หลกั เกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการดังกลา่ ว ให้เปน็ ไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

การดําเนินการในเร่ืองการตรวจราชการ และการดําเนินการของคณะกรรมการต่าง ๆ ที่ กําหนดใน
มาตรานี้ ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบ หรือข้อบังคับของกระทรวงหรือ ส่วนราชการ หรือมติ
คณะรัฐมนตรี หรือคําส่ังของนายกรัฐมนตรี ท้ังน้ี จะต้องไม่กระทบกระเทือน ต่อสาระการบริหาร และการ
จัดการของสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาท่ีเป็นนิติ บุคคลในสายบังคับบัญชาของสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาที่สามารถดําเนินกิจการได้โดย อิสระ พัฒนาระบบบริหาร และการจัดการที่เป็น
ของตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู่ภายใต้การกํากับ ดูแลของสถานศึกษาตามกฎหมาย
ว่าด้วยการจัดต้ังสถานศึกษานั้น และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
กําหนดอาํ นาจหนา้ ทีข่ อง คณะกรรมการเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

1.3. กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
กฎกระทรวงฉบับนี้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัด การศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร คอื
ขอ้ 4(7) กําหนดใหส้ าํ นักตรวจราชการและตดิ ตาม ประเมินผลมอี าํ นาจหน้าที่ดังน้ี
1) ดาํ เนินการเกี่ยวกบั งานเลขานกุ ารกรมของคณะกรรมการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ :
2) ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมลู และสารสนเทศ เพ่อื สนบั สนนุ การตรวจราชการจัดทํา แผนการตรวจราชการ
การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลตามนโยบาย และแผนการตรวจ ราชการของกระทรวง
3) วิจัยและพัฒนาระบบ และประสานเครือข่ายการตรวจราชการ การติดตาม การ ตรวจสอบ และ
ประเมินผลของกระทรวงศกึ ษาธิการ
4) ปฏิบัตกิ ารรว่ มกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอืน่ ท่เี กยี่ วขอ้ ง หรือที่ไดร้ บั มอบหมาย

1.4. กฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2546
กฎกระทรวงฉบับน้ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
คอื
ข้อ 3 (3) สาํ นกั ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มอี ํานาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี
1) ดาํ เนนิ การเก่ียวกบั การติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ในภาพรวม
2) เสนอแนวทางการปรบั ปรุง และพัฒนาการจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
3) สง่ เสริม และประสานงานการตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษากับ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
4) ปฏบิ ัติงานร่วมกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอน่ื ท่ี เกยี่ วขอ้ ง หรอื ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

10

1.5 กฎกระทรวงกาํ หนดหลักเกณฑก์ ารแบ่งส่วนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.
2546

กฎกระทรวงฉบับนี้มีส่วนเก่ียวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด การศึกษาข้ัน
พื้นฐาน คอื

ข้อ 6 (4) กําหนดให้หน้าท่ีของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอํานาจหน้าที่ กํากับ ดูแล ติดตาม และ
ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และในเขตพื้นที่การศกึ ษา

1.6 ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา พ.ศ. 2560 ได้กําหนดบทบาทหนา้ ที่ไวร้ ายละเอียดในลาํ ดบั ตอ่ ไป

2. บทบาทหนา้ ท่ีของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศ การศกึ ษา

ตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศกึ ษา พ.ศ. 2560 กาํ หนดบทบาทหนา้ ทดี่ งั นี้

1. ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหม้ กี ารนาํ มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมากําหนดเปน็ แนวทางในการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบริหารและการดําเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาใน
สงั กัดเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา

2. กําหนดแนวทางการศึกษา วิเคราะหว์ ิจัย การบรหิ ารและการดาํ เนินการของหน่วยงาน
และสถานศึกษาในสงั กดั เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

3. พิจารณาแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา โดยม่งุ เน้นผลสัมฤทธิ์
ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

4. ตดิ ตาม ประเมินผล และนิเทศการบริหารและการดาํ เนนิ การตามแผนที่กาํ หนด

5. รับทราบผลการตดิ ตาม ประเมินผลและนิเทศการบรหิ ารและการดาํ เนนิ การตามแผน
และใหข้ ้อเสนอแนะ เพอ่ื การปรับปรงุ และพัฒนา คุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง

6. สง่ เสรมิ ให้มกี ารประสานการติดตาม ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษากบั คณะกรรมการ

และหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง
7. แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศกึ ษาตามความจําเป็น
8. ปฏิบตั ิงานอืน่ ใดตามทไี่ ดรับมอบหมาย

สําหรับการดําเนินงานของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ
ตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 ส่วนที่ 4 ข้อ 27
กําหนดใหส้ ํานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ดําเนนิ การ ดังนี้

1. มอบหมายศึกษานเิ ทศก์ หรอื ขา้ ราชการอนื่ ในสังกดั ทาํ หนา้ ที่ติดตาม ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษาในเขตพนื้ ท่ี

2. จดั ทําแผนการตดิ ตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาประจําปี ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนปฏิบัติ
ราชการของหน่วยงานเสนอขออนุมตั ิจากคณะ ก.ต.ป.น. ของเขตพื้นท่ี แลว้ แจ้งสถานศึกษาในสงั กัดทราบ

3. ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ยั ดาํ เนินการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษา การบริหารการศึกษา โดย
มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา เพ่ือการเตรียมรับการนิเทศ ติดตามและ

ประเมินผลจากหน่วยงานภายในและภายนอก

11

4. รายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาและคณะกรรมการ

ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพืน้ ที่การศกึ ษา

5. ประสานให้หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ เพ่ือช้ีแจง ให้ถ้อยคําหรือส่งเอกสารและหลักฐานเก่ียวกับการ

ปฏบิ ตั งิ าน

6. ปฏบิ ตั ิงานอื่นใดตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

เพอ่ื ให้การบรหิ ารจัดการศกึ ษาเป็นไปตามระเบียบทีเ่ สนอมา สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
สตูลจึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสตูล เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การดําเนินงานของ ก.ต.ป.น. โดยกําหนดแนวทางในการ
ติดตาม ประเมินผล และนิเทศการศึกษา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา
และดําเนินงานการจัดทําแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาประจําปีการศึกษา
2562 ให้ครอบคลุม ทั้ง 4 ด้าน ข้ึน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา ในปีการศึกษา 2562 สําหรับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล และสถานศึกษาใน
สังกดั

ด้วยเหตุที่กระทรวงศึกษาธิการได้กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาท้ัง ด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไปไปยังคณะกรรมการและ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และสถานศึกษาโดยตรง ดังนั้น สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีลักษณะการบริหารงานในลักษณะฝ่ายบริหารท่ี
เข้มแข็ง (STRONG CHIEF EXECUTIVE OFFICER) สามารถตัดสินใจดําเนินการได้อย่างเต็มที่ เพื่อให้เขตพื้นที่
การศึกษามีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกับหลักการศึกษา แนวการ จัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ตลอดจนนโยบายของ
สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระทรวงศึกษาธิการ พระราชบัญญัติระเบียบบริ หาร
ราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 20 จึงได้บัญญัติให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา “โดยมีอํานาจหน้าท่ีให้เป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
นิเทศ ติดตาม และประเมินผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขต พื้นท่ีการศึกษา เพ่ือการ
เตรยี มการรับการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลจากหนว่ ยงานภายนอก”

2.1 การทําความเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ี

บทบาทหน้าทสี่ ําคัญ 4 ประการ คอื
2.1.1 การติดตาม (monitoring) หมายถึง การศึกษาความก้าวหน้าในการดําเนินงานตาม

แผนงานของสถานศกึ ษา และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของสํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
2.1.2 การตรวจสอบ (inspection) หมายถึง การกํากับ ควบคุม และการใช้คําแนะนํา เพ่ือ

ปรับปรงุ การดําเนนิ งานให้เปน็ ไปตามนโยบายและแผนของรัฐบาลและหนว่ ยเหนอื
2.1.3 การประเมินผล (evaluation) หมายถึง การตีคุณค่าของผลการดําเนินงานโดย

เปรียบเทยี บกับวตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย ทกี่ ําหนดในแผนงาน โครงการ และกจิ กรรมทีด่ ําเนนิ งาน
2.1.4 การนิเทศ (supervision) หมายถึง ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงาน

ตา่ งๆของสํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษากบั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาเพ่ือ
รบั ทราบ และนาํ ผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงแก้ไข หรือพัฒนาการดําเนินงาน ของสถานศึกษาและหน่วยงานต่าง
ๆ ดังกลา่ ว

12

2.2 ข้ันตอนการดําเนินงาน
2.2.1 การทาํ ความเข้าใจในบทบาทหนา้ ท่ี และความรับผิดชอบ
2.2.2 กาํ หนดกรอบ หัวข้อ ดชั นีชี้วัด และเกณฑ์การพิจารณาแต่ละหวั ข้อ
2.2.3 กําหนดรูปแบบของรายงานและข้อมูลของสถานศึกษาที่หน่วยงานรับผิดชอบจะ จัดทํา

เสนอคณะกรรมการ และรายงานผลการศึกษาของคณะกรรมการ
2.2.4 กําหนดแผนและขั้นตอนการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการ
2.2.5 จัดทําคู่มือเพื่อช้ีแจงเก่ียวกับการจัดทํารายงานที่สถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง

จะตอ้ งจดั ทําเสนอตอ่ คณะกรรมการ
2.2.6 เสนอแนวทางการดําเนินงานตามข้อ 2.1.1 – 2.2.5 ให้คณะกรรมการเขตพื้นที่

การศกึ ษาทราบ และนาํ ไปสู่การพฒั นาการจดั การศกึ ษา
2.2.7 จัดประชุมร่วมกับผู้บริหารสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อ

ชี้แจงและทําความเข้าใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของคณะกรรมการ และสิ่งท่ีสถานศึกษาและ หน่วยงานที่
เกี่ยวขอ้ งจัดทําเสนอ

2.2.8 ดาํ เนินการพจิ ารณารายงานตามท่ีสถานศึกษา และหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งจดั ทาํ เสนอ
2.2.9 ศึกษาเพ่ิมเติมโดยการตรวจเยี่ยมและสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา และหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ ง
2.2.10 วิเคราะห์ และจดั ทํารายงานเสนอคณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา
2.2.11 เสนอรายงานต่อสถานศึกษาและหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง และร่วมมือกนั ทจ่ี ะนํา
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการไปสู่การปฏิบตั ิ

2.3 ข้อมูลที่สถานศกึ ษาจะตอ้ งจดั ทาํ เสนอคณะกรรมการ
2.3.1 แผนกลยทุ ธ์ และแผนปฏิบัติการประจาํ ปี
2.3.2 รายงานการดําเนินงานประจําปีงบประมาณ และรายงานประเมินตนเองของ

สถานศึกษา
2.3.3 เอกสารแสดงโครงสร้างองค์กร ระบบงาน และระเบียบปฏิบัติของสถานศึกษาแต่ละ

โครงการ แตล่ ะแผนงาน และแตล่ ะพนั ธกิจ

13

บทท่ี 3

การดาํ เนินงาน

การรายงานผลการดําเนินงานแนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา
ประจําปี การศึกษา 2562 ไดด้ ําเนินการตามองคป์ ระกอบ ดังนี้

1. วัตถุประสงค์
2. โครงสรา้ งระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา
3. ประชากร
4. เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการดาํ เนินงาน
5. การดาํ เนินงานตามกลยุทธ์
6. การวิเคราะหผ์ ลการดําเนินงาน

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาและรายงานผลการดําเนินงานตามแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา ประจาํ ปกี ารศกึ ษา 2562

การดําเนนิ งานตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการจดั การศกึ ษา

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จัดทําแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ
นิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ปีการศึกษา 2562 ตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ตามภารกิจหลัก 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้าน
งบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และการนํานโยบายสู่การปฏิบัติ โดยแต่ละด้าน
ดําเนินงานดงั น้ี

ดา้ นวิชาการ มีวิธกี ารดาํ เนนิ งาน ดังนี้

1.1 คณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา นิเทศโรงเรียนในสังกัด อย่าง
น้อยภาคเรยี นละ 1 คร้งั

1.2 คณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา นิเทศโครงการ/กิจกรรมตาม
ลักษณะงานวชิ าการ

1.3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา เพ่ือเตรียมรบั การประเมนิ ภายนอกรอบสี่
1.4 เน้นการนิเทศภายในโรงเรยี น
1.5 กลุ่มนิเทศฯ และ ก.ต.ป.น. สพป.สตูล มีกระบวนการดําเนินงานและการนิเทศ PICED นําข้อมูล
สารสนเทศท่ีได้มาจัดทําแผนปฏิบัติการนิเทศ สรุปรายงานผลการนิเทศ เสนอ ก.ต.ป.น. และ นําไปใช้ในการวาง
แผนการพฒั นาจดั ทําโครงการ/กจิ กรรมในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ดังแผนภมู ิ

14

การกากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา

กระบวนการขับเคล่อื นการนเิ ทศ PICED

P-Planning การนเิ ทศโดยเครือข่าย การนิเทศภายนอก
I-Implementation การนเิ ทศตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
(Network)
C-Control การนิเทศตามนโยบาย
E-Evaluation การนเิ ทศโดยการใช้เทคโนโลยี การนเิ ทศตามเครอื ข่ายสถานศกึ ษา
D-Diffusing (Technology)
การนิเทศโดยใช้ขอ้ มลู สารสนเทศ ศกึ ษานิเทศก์ประจาํ เครอื ข่าย
สถานศึกษา
(Information)
ประธานเครอื ข่ายสถานศกึ ษา
การนิเทศโดยใช้เทคนิคการเปน็ พี่เลี้ยง

(Mentoring)

การนเิ ทศแบบเสรมิ พลงั (Empowerment)
การนิเทศแบบคลนิ ิก

(Clinic)

การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
การนิเทศภายใน

15

แผนการนิเทศ ตดิ ตาม โดยใช้กระบวนการนเิ ทศแบบ PICED
สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสตลู

ความเปน็ มาและความสาคญั

กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ประสบผลสาเร็จ ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๓ ประการ
คือ กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศการศึกษา สาหรับ
กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีผู้นิเทศใช้ข้อมูลจากการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผล
สาหรับการวางแผนในการให้คาแนะนา ช่วยเหลือ ร่วมคิด ร่วมทา และสนับสนุน ให้มีการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาให้สูงข้ึนตรงตามสภาพความต้องการที่แท้จริงของการพัฒนา โดยผ่านครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน
รวมทั้งการชีแ้ จง การแสดง หรือการแนะนาเกีย่ วกบั การสอน การนิเทศการศึกษาจึงเป็น ภารกิจท่ีจาเป็นต่อการ
จดั การศกึ ษา ที่ตอ้ งอาศยั ความร่วมมอื จากบคุ คลหลายฝ่าย เพอ่ื ชว่ ยเหลือ สนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และ
การบวนการเรียนการสอนมีคุณภาพและให้ทันต่อสภาพความ เปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น ได้แก่ ความเปล่ียนแปลง
ของสังคม รวมท้งั ความเจริญก้าวหน้าด้านวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็ว กลุ่มนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล ตระหนักและเห็นความสาคัญ
ของการนิเทศการศึกษา จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการนิเทศ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาข้ัน
พื้นฐานที่ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๑ โดยใช้ฐานข้อมูล และสารสนเทศ จากการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผล ซ่ึงได้ดาเนินการในปีการศึกษา ๒๕๖๒ ที่เน้นการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ ตาม
นโยบายและจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสตูล รวมท้ังให้สอดคล้องกับกลยุทธ์หลักสูตรและองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานทาง
การศึกษา ให้ได้ มาตรฐาน ตามภารงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การจัดการศกึ ษา

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสตูล รับผิดชอบการจัดการศึกษาในพื้นที่จังหวัดสตูล ๗ อาเภอ ได้แก่
อาเภอเมืองสตูล อาเภอควนโดน อาเภอท่าแพ อาเภอควนกาหลง อาเภอละงู อาเภอมะนัง และอาเภอทุ่งหว้า
มีศูนย์เครือข่าย จานวน ๑๖ ศูนย์ ได้แก่ สันหลังมังกร เมืองสตูล พญาบังสา ชัยพัฒน์ ควนโดน ไผ่สีทอง บารา
เกต ดอกกาหลง ทุ่งนยุ้ สมั พันธ์ ภผู าวารี ปากนา้ แหลมสน เสมากาแพง ละงู มะนัง ทุ่งหว้าอันดามัน และสุไหงอุ
เปสเตโกดอน มีโรงเรียนในสังกัด ๑๕๙ โรงเรียน ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ มีผู้บริหารโรงเรียนและรองผู้บริหาร
จานวน ๑๖๑ คน ครผู สู้ อน จานวน ๑,๙๗๒ คน นักเรยี น จานวน ๒๗,๘๙๙ คน

วตั ถปุ ระสงค์

๑.เพื่อให้โรงเรียนดาเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาบริหารหลักสูตรโรงเรียน จัด
กระบวนการเรยี นรู้ มีระบบการประกนั คณุ ภาพภายในโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน พัฒนาการ
วัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การนิเทศภายใน ได้อย่างมี
คณุ ภาพ

๒ .เ พ่ื อ ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม น โ ย บ า ย แ ล ะ จุ ด เ น้ น ข อ ง
กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสตูลได้

16

ขอบข่ายการนิเทศ

๑. คณะกรรมการนเิ ทศ ติดตาม กากับและประเมินผลการจัดการศึกษา ประกอบด้วย
๑.๑ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตลู
๑.๒ รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตลู จานวน ๒ คน
๑.๓ ศึกษานิเทศก์ จานวน ๑4 คน
๑.๔ คณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศึกษา (ก.ต.ป.น.)

จานวน ๙ คน
๑.๕ ประธานศูนยเ์ ครือข่าย จานวน ๑๖ คน

๒. เปา้ หมาย
๒.๑ เชิงปรมิ าณ
โรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในสังกัด ได้รับการช่วยเหลือ แนะนาในการพัฒนาคุณภาพ

การศกึ ษาตามนโยบายและจดุ เนน้ ทสี่ อดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการ แบง่ ออกเป็น ๒ กลมุ่ ดงั นี้
กล่มุ ที่ ๑ ภารกจิ กลุม่ งานท่รี ับผดิ ชอบ
๑.๑ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมาย มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการจัดการศึกษา

พิเศษ และหลักสูตรโรงเรียน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย จัดการเรียนการสอนสาหรับเด็กพิเศษเรียนรวม
ตามแผนการ จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และจัดการเรียนการสอนตามตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ตามหลกั สูตรโรงเรยี น (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ จานวน ๑๕๙
โรงเรียน

๑.๒ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาการจัดทาข้อมูลผลสัมฤทธ์ิในระบบ
Schoolmis และการนาผลการประเมินไปใช้เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวน ๑๕๙ โรงเรียน

๑.๓ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จานวน ๖๕ โรงเรียน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
(DLIT) จานวน ๙๔ โรงเรียน และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยสื่อ ๖๐ พรรษาสมเด็จพระเทพฯ จานวน
๑๐๔ โรงเรียน

๑.๔ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา จานวน
๑๕๙ โรงเรียน

๑.๕ โรงเรยี นในกลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาระบบนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการแบบร่วม
พฒั นา จานวน ๑๕๙ โรงเรียน

กลมุ่ ที่ ๒ ภารกิจงานรบั ผดิ ชอบโครงการ/นโยบายสาคญั
๒.๑ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายการจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง จานวน ๑๕๙ โรงเรยี น
๒.๒ โรงเรียนในกล่มุ เป้าหมายการจดั การเรยี นรสู้ ปู่ ระชาคมอาเซียน จานวน๑๕๙ โรงเรียน
๒.๓ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายพัฒนาการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน ๖๕
โรงเรียน

17

๒.๔ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายพัฒนาการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ จานวน
๑๕๙โรงเรียน

๒.๕ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายโครงการโรงเรยี นประชารัฐ จานวน ๒๘ โรงเรียน
๒.๖ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายการส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมโรงเรียนคณุ ธรรม จานวน ๑๕๙
โรงเรยี น
๒.๗ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายการส่งเสริมการจัดกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ จานวน ๔๔
โรงเรยี น
๒.๘ โรงเรียนในกลมุ่ เปา้ หมายจดั การเรยี นการสอนอสิ ลามศึกษา จานวน ๑๓๐ โรงเรียน
๒.๙ โรงเรียนในกลมุ่ เปา้ หมายจดั การเรียนการสอนอิสลามแบบเข้ม จานวน ๒ โรงเรยี น
๒.๑๐ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ระดับ
ประถมศกึ ษา จานวน ๖ โรงเรยี น
๒.๑๑ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายโครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา (STEM Education)
จานวน ๑๕๙ โรงเรียน
๒.๑๒ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนใน
โครงการมลู นิธิชยั พฒั นา จานวน ๘ โรงเรียน
๒.๑๓ โรงเรยี นในกลุ่มเป้าหมายโครงการโรงเรยี นสจุ รติ จานวน ๑๕๙ โรงเรียน
๒.๑๔ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ค่านิยม ๑๒ ประการ
จานวน ๑๕๙ โรงเรยี น
๒.๑๕ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านทักษะอาชีพ จานวน ๔๑
โรงเรียน
๒.๑๖ โรงเรยี นในกลุ่มเป้าหมายสง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้ส่ิงแวดล้อมศึกษา จานวน ๑๕๙
โรงเรยี น
๒.๑๗ โรงเรียนในกลมุ่ เป้าหมายโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล จานวน ๑ โรงเรยี น
๒.๑๘ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายส่งเสริมการจัดกิจกรรมห้องสมุดโรงเรียน จานวน ๑๕๙
โรงเรยี น
๒.๑๙ โรงเรยี นในกลุ่มเป้าหมายโครงการอ่านออก เขียนได้ จานวน ๑๕๙ โรงเรยี
๒.๒๐ โรงเรียนในกลมุ่ เป้าหมายงานส่งเสริมพน้ื ที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล จานวน
๑๐ โรงเรียน
๒.๒๑ โรงเรียนในกลุ่มเปา้ หมายส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยใช้
Boot Camp เป็นฐาน จานวน ๒๓ โรงเรียน English for All จานวน ๑ โรงเรียน ศูนย์ PEER จานวน ๗ ศูนย์
ENG๒๔ ECHO English จานวน ๑๕๙ โรงเรยี น และหนว่ ยสันติภาพสหรฐั อเมรกิ า จานวน ๔ โรงเรยี น
๒.๒๒ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โรงเรียนคุณภาพ
ประจาตาบล จานวน ๓๖ โรงเรยี น
๒.๒๓ โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายต้นแบบการปฏิรูปการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา
การเรียนรู้ที่มสี ติและสมาธิเป็นฐาน จานวน ๒ โรงเรียน

18

๒.๒๔ โรงเรยี นในกลุ่มเปา้ หมายตน้ แบบการจัดการเรยี นรวม จานวน ๑๔๓ โรงเรียน
๒.๒๕ โรงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือรองรับ
การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบ ๔ ระยะท่ี ๑ จานวน ๑๗ โรงเรียน
๒.๒๖ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดย
สถาบนั อุดมศกึ ษาเปน็ พ่เี ล้ียง ดา้ นวชิ าการ จานวน ๑๐ โรงเรียน
๒.๒๗ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถ่ินโดย
สถาบันอุดมศกึ ษาเป็นพีเ่ ล้ยี ง ดา้ นการสง่ เสรมิ อาชพี จานวน ๑๐ โรงเรยี น
๒.๒ เชิงคุณภาพ
๑. ผบู้ ริหารโรงเรยี น ในโรงเรียนกลมุ่ เป้าหมายได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการบริหารงาน
วิชาการอยูใ่ นระดับดีขึ้นไป
๒. ครูผู้สอน ในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการจัดการเรียนการ
สอนอยู่ ในระดับดขี นึ้ ไป
๓. นกั เรียน ในโรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมายได้รับการพัฒนาคณุ ภาพเตม็ ศักยภาพ

๓. แนวความคดิ ในการนเิ ทศกระบวนการ PICED
ในการจัดทาแผนปฏิบัติการนิเทศของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของ

สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล ไดย้ ดึ แนวคดิ ในการนเิ ทศการศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปน้ี

กระบวนการ PICED
๑. วางแผนดาเนินการนเิ ทศ (P – Planning)

เปน็ ขั้นท่ีผู้นิเทศต้องทาความเข้าใจขอบข่ายอานาจหน้าท่ีและบทบาทของผู้นิเทศ มีการนา
นโยบาย โครงการ/กิจกรรม/จุดเน้น ตลอดจนข้อมูลจากการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ ผล
การทดสอบระดับต่าง ๆ มาพิจารณาว่าจะสนับสนุน ส่งเสริม หรือมีปัญหาใดที่ต้องดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
กอ่ น-หลงั เพ่ือจดั ทาแผนการนิเทศ กาหนดปฏิทินนิเทศ และเครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการนิเทศ

๒. ปฏบิ ัติการนเิ ทศ (I – Implementation)
เป็นขนั้ ดาเนินการนเิ ทศตามแผนการนิเทศดว้ ยวธิ กี าร N-TIME๒C รายละเอยี ดดงั น้ี
๑) การนิเทศโดยเครือข่าย (Network Supervision) หมายถึง การนิเทศโดยใช้

กระบวนการการมสี ว่ นรว่ มจากศนู ย์เครือขา่ ย เพ่อื สง่ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการปฏบิ ัติการนิเทศของผู้รับการ
นเิ ทศ

๒) การนิเทศโดยใช้เทคโนโลยี (Technology Supervision) หมายถึง การนิเทศ
ทางไกลโดยผา่ นระบบ ICT เช่น Facebook, Line, My Office, Google Education, Website ฯลฯ

๓) การนิเทศโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นฐาน (Information Supervision) หมายถึง
การนิเทศโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศจากการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
และผลการทดสอบในระดบั ตา่ ง ๆ

๔) การนิเทศโดยใช้เทคนิคการเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) หมายถึงการให้คาปรึกษา
แนะนา และช่วยเหลอื ให้ผู้รับการนเิ ทศพัฒนาศักยภาพในการปฏบิ ัติงาน

19

๕) การนเิ ทศแบบเสริมพลงั (Empowerment Supervision) หมายถึง การนิเทศ ให้ครู
ไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพของตนเองท่ีมีอยู่แล้วให้เกิดเป็นพลัง ๓ ชนิดคือ พลังใจ (heart) พลังสมอง (head) และพลัง
การปฏบิ ัติ (hand)

๖) การนิเทศโดยใชเ้ ทคนคิ การสอนงาน (Coaching) หมายถึงการนิเทศ ที่เน้นการช้ีแนะ
เพ่อื พัฒนาผลการปฏบิ ตั ิงาน และพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัตงิ านของผรู้ บั การนเิ ทศใหส้ ูงขึ้น

๗) การนิเทศแบบคลินิก (Clinical Supervision) หมายถึง การนิเทศโดยใช้กระบวน
การพัฒนาช่วยเหลือครู ปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีขึ้นและตรงตามความต้องการของครู โดยการสังเกต
พฤติกรรมการสอนแบบตวั ตอ่ ตวั อยา่ งเปน็ ระบบ

บูรณาการแนวคิดร่วมในการนเิ ทศให้เกิดคณุ ภาพ ใน ๓ ด้าน คอื
๑. คณุ ภาพนักเรยี น
๒. คุณภาพโรงเรียน
๓. สมรรถนะของครูผ้สู อนและผบู้ รหิ ารโรงเรียน

จากกรอบแนวคิดในการนิเทศท้ัง ๗ แนวคิด และคุณภาพที่เกิดจากการนิเทศ นามาสรุป
เปน็ เทคนิคสาหรบั ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิการนิเทศ คือ เทคนิคการนเิ ทศ N-TIME๒C Supervisory Model ดังนี้

N : Network เครือขา่ ย
T : Technology การใชเ้ ทคโนโลยี
I : Information การใชข้ อ้ มลู สารสนเทศเปน็ ฐานในการนิเทศ
M : Mentoring การให้คาปรึกษา แนะนาและชว่ ยเหลอื
E : Empowerment การเสรมิ พลังพลงั ใจ พลังสมอง และพลังการปฏิบัติ
C : Coaching การช้แี นะแนวทางปฏิบตั ิ
C : Clinical การช่วยเหลอื ครูปรับปรุงการเรียนการสอน
๓. การควบคุม นเิ ทศ กากบั ติดตาม (C - Control)
เป็นขั้นของการเสริมกาลังใจของผู้รับการนิเทศ โดยผู้บริหารการศึกษา ระดับเขตพื้นที่ หรือ
ผู้นิเทศ เพอ่ื ใหม้ ีความม่นั ใจและบังเกดิ ความพงึ พอใจในการปฏิบตั งิ าน ข้ันนี้อาจจะดาเนินการไปพร้อม ๆ กันกับ
ผู้ทีร่ บั การนเิ ทศกาลงั ปฏบิ ัติงาน หรือการปฏิบัติงานได้เสร็จสิ้นลงไป เป็นการติดตามการปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ
อยา่ งตอ่ เน่อื ง ตามระยะเวลาปฏิบัติการนิเทศเพ่ือพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการเรียนการสอนท้ัง ๒
ระยะที่กาหนด
๔. ประเมินผลการดาเนินการ (E – Evaluation)
เป็นขั้นทผี่ ู้นิเทศทาการประเมินผลการดาเนินการซึ่งผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่าง ไร หลังจากการ
ประเมนิ ผลการนิเทศ หากพบวา่ มปี ญั หาหรืออุปสรรคอย่างหนึ่งอย่างใด ท่ีทาให้การดาเนินงานไม่ได้ผลก็สมควร
จะต้องทาการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งการปรับปรุงแก้ไขอาจจะทาได้โดยการให้ความรู้ในส่ิงที่ทาใหม่อีกคร้ังหน่ึง
สาหรับกรณีท่ีผลงานออกมายังไม่ถึงข้ันท่ีพอใจ หรือดาเนินการปรับปรุงการดาเนินงานทั้งหมดสาหรับกรณีการ
ดาเนินงานเป็นไปไม่ได้ผล และถ้าหากการประเมินผลได้พบว่าประสบผลสาเร็จตามท่ีได้ต้ังไว้หากจะได้
ดาเนินการนิเทศต่อไปก็สามารถทาไปไดเ้ ลยโดยไม่ต้องใหค้ วามรู้ในเร่ืองนัน้ อกี

20

๕. เผยแพรส่ ู่สาธารณะ (D – Diffusing)
เปน็ ข้นั ตอนที่ผนู้ ิเทศนาเสนอผลการนิเทศ ข้อคน้ พบ วธิ ปี ฏิบัติท่ดี ีของโรงเรียน หลังจากได้รับ

การนิเทศแล้วอัพโหลด เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชนผ่านทางเว็บไซต์กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา http://www.nitessatun.net หรือ Facebook : Nitessatun หรือห้อง LINE แจ้งราชการ สพป.
สตูล หรอื ชอ่ ง Youtube: KruSatun Chanel

การปฏบิ ัติการนเิ ทศ

การดาเนินการวางแผนการนิเทศเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ตามนโยบายและจุดเน้นของ
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล โดยใช้ฐานข้อมูลและสารสนเทศจากการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผล โดยกาหนดระยะเวลาในการดาเนินการ ๒ ระยะ คือ ระยะท่ี ๑ เร่ิมดาเนินการใน ระหว่าง เดือน
พฤษภาคม ๒๕๖๒ ถงึ เดอื นกันยายน ๒๕๖๒ และ ระยะท่ี ๒ ในระหว่าง เดือนตุลาคม ๒๕๖๒ ถึงเดือนเมษายน
๒๕๖๓ โดยคาดหวังว่า แผนปฏิบัติการนิเทศ จะเป็นเคร่ืองมือสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด
ประสทิ ธิผลต่อศกึ ษานเิ ทศก์และผ้เู กย่ี วข้อง ท่ีส่งผลต่อคณุ ภาพผเู้ รียนให้เกิดสมรรถนะ คุณลักษณะ มีทักษะและ
องค์ความรู้ ตามมาตรฐานการศกึ ษาทก่ี าหนด มีรายละเอยี ดของการดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี

ระยะที่ ๑ การนิเทศเพ่ือพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการเรียนการสอน การดาเนินการ
โครงการและนโยบายสาคัญ ระหวา่ งเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ ถึงเดือนกนั ยายน ๒๕๖๒ ประกอบดว้ ย

๑.๑ การนิเทศความพรอ้ มเปิดภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
๑.๒ การบรหิ ารจดั การกระบวนการใช้ผลการประเมนิ เพ่ือยกระดับผลการประเมนิ ระดับชาติ
๑.๓ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบ ๔ ระยะท่ี ๑
๑.๔ การพัฒนาระบบนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการแบบร่วมพัฒนา
๑.๕ การพฒั นาการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้
๑.๖ โครงการโรงเรียนประชารัฐ
๑.๗ โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ระดับประถมศกึ ษา
๑.๘ โครงการบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา (STEM Education)
๑.๙ การส่งเสรมิ การจดั การเรียนรูส้ ิง่ แวดล้อมศึกษา
๑.๑๐ การพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
๑.๑๑ การสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมโรงเรยี นคณุ ธรรม
๑.๑๒ การพัฒนาการเรียนร้ใู นโรงเรียนขนาดเลก็
๑.๑๓ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล
๑.๑๔ โครงการอา่ นออกเขียนได้
๑.๑๕ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV)
๑.๑๖ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLTV)
๑.๑๗ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม
บรมราชกุมารี

21

๑.๑๘ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรวม ปีการศึกษา ๒๕๖๒ สานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาสตลู

๑.๑๙ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒
สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสตลู

๑.๒๐ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพ่ี
เลีย้ ง : จงั หวดั สตลู

๑.๒๑ การจดั กิจกรรมโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ
๑.๒๒ โรงเรียนมาตรฐานสากล
ระยะที่ ๒ การนิเทศเพื่อพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการเรียนการสอน การดาเนินการ
โครงการและนโยบายสาคัญ ระหว่างเดือนตลุ าคม ๒๕๖๒ ถึงเดอื นเมษายน ๒๕๖๓ ประกอบดว้ ย
๒.๑ การพฒั นาระบบนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการแบบรว่ มพฒั นา
๒.๒ การบรหิ ารจดั การกระบวนการใช้ผลการประเมิน เพอ่ื ยกระดับผลการประเมินระดบั ชาติ
๒.๓ การพฒั นาการจดั กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
๒.๔ การพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
๒.๕ การส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมโรงเรยี นคุณธรรม
๒.๖ การพัฒนาการเรยี นรู้ในโรงเรยี นขนาดเลก็
๒.๗ โครงการอา่ นออกเขยี นได้
๒.๘ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
๒.๙ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLTV)
๒.๑๐ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม
บรมราชกุมารี
๒.๑๑ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรวม ปีการศึกษา ๒๕๖๒ สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตลู
๒.๑๒ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล
๒.๑๓ การเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

22

ปฏิทนิ การนเิ ทศ กิจกรรมการนเิ ทศ กลุ่มเปา้ หมาย ผูร้ ับผิดชอบ/
ตรวจเย่ียมโรงเรียน ผเู้ ก่ยี วข้อง
ระยะเวลา ประเด็นการนเิ ทศ ทุกโรงเรียนใน ผอ.สพป.สตูล
ดาํ เนนิ การ สงั กดั 159 รอง ผอ.สพป.สตลู
พฤษภาคม ความพร้อมเปดิ ภาค โรงเรยี น ผอ.กลุ่มทกุ คน
2562 เรียน 1/2562 ศึกษานิเทศก์ทุกคน
ทุกโรงเรียนใน บุคลากรในสนง.
มถิ ุนายน- - ติดตามการใช้ ประเมนิ สังกดั 159 นายสนาน สุวรรณ
สงิ หาคม โรงเรยี น ละออง/คณะ
หลักสูตรสถานศกึ ษา ทุกโรงเรยี นใน ศึกษานเิ ทศก์
มถิ ุนายน- สังกดั 159 นางจิรัชฎา ลมิ าน/ิ
สิงหาคม และการจดั การเรยี นรู้ โรงเรยี น คณะศึกษานิเทศก์
ทุกโรงเรียนใน
มิถุนายน- การใช้หลักสูตรปฐมวยั ตรวจสอบ ให้ สังกดั 159 นายสนาน สุวรรณ
สงิ หาคม พุทธศกั ราช 2560 คําปรกึ ษา โรงเรยี น ละออง/คณะ
ทกุ โรงเรยี นใน ศกึ ษานิเทศก์
มิถนุ ายน- การดําเนนิ กจิ กรรม สอบถาม สงั กัด 159 นายอัมพล เอียดนุช
สิงหาคม โครงการโรงเรยี นสุจรติ โรงเรยี น /คณะศึกษานิเทศก์

มิถนุ ายน- - การบรหิ ารจดั การ ตรวจสอบแผน เครอื ข่าย นายนภดล ยิ่งยง
สงิ หาคม กระบวนการใชผ้ ลการ ยกระดับคุณภาพ โรงเรียน 16 สกลุ /คณะ
ประเมนิ เพื่อยกระดับ เครอื ข่าย ศกึ ษานเิ ทศก์
มถิ ุนายน- ผลการประเมิน รว่ มวางแผน ประชุม
สงิ หาคม ระดบั ชาติ หารอื ใหค้ าํ แนะนาํ 23 โรงเรียน นางราํ เพย สุทธิ
การพัฒนาระบบนิเทศ นนท์ /คณะ
มิถุนายน- ตรวจเยี่ยมการจัด ทุกโรงเรยี นใน ศกึ ษานเิ ทศก์
สิงหาคม ภายในโดยใช้ กิจกรรม สงั กดั 159 น.ส.จริ าพร อคั ร
โรงเรยี น สมพงศ์ /คณะ
กระบวนการแบบรว่ ม ศึกษานเิ ทศก์

พัฒนา

โครงการประชารัฐ

การพฒั นาการจดั ตรวจเยี่ยมการจดั

กจิ กรรมลดเวลาเรยี น กจิ กรรม
เพ่มิ เวลารู้

23

ระยะเวลา ประเดน็ การนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ กลุ่มเปา้ หมาย ผูร้ ับผดิ ชอบ/
ดาํ เนินการ ผ้เู กยี่ วขอ้ ง
มิถุนายน- โครงการบ้าน ตรวจเย่ยี มชนั้ เรียน ทกุ โรงเรยี นใน นางหน่งึ ฤทยั วจิ ติ ร
สิงหาคม นักวิทยาศาสตร์น้อย ตรวจเยี่ยมชั้นเรยี น สงั กดั 159 จรรยา/คณะ
ประเทศไทย ระดบั โรงเรยี น ศกึ ษานิเทศก์
มิถนุ ายน- ประถมศกึ ษา
สิงหาคม ทกุ โรงเรยี นใน นางหนง่ึ ฤทยั วิจติ ร
โครงการบูรณาการสะ สงั กัด 159 จรรยา/คณะ
มถิ นุ ายน- เต็มศึกษา (STEM โรงเรียน ศกึ ษานิเทศก์
สิงหาคม Education) นางหนึ่งฤทัย วิจติ ร
จรรยา/คณะ
มถิ ุนายน- การพัฒนาระบบ ตรวจสอบแบบ ทกุ โรงเรยี นใน ศึกษานเิ ทศก์
สิงหาคม นางสวุ ณี ไชยศกั ด/์ิ
ประกนั คุณภาพ ประเมนิ ตนเอง สังกัด 159 คณะศึกษานเิ ทศก์
มถิ นุ ายน-
สงิ หาคม การศกึ ษา แนะนาํ ให้คาํ ปรึกษา โรงเรยี น น.ส.ศุภวัลย์ ชูมี/
มถิ นุ ายน- คณะศกึ ษานิเทศก์
สิงหาคม การส่งเสรมิ การจดั สาํ รวจรายการและ ทกุ โรงเรยี นใน นายอัลดลรอหมาน
ปะดูกา /คณะ
มิถุนายน- กจิ กรรมโรงเรียน ประเมินผลกจิ กรรม สงั กัด 159 ศกึ ษานเิ ทศก์
สิงหาคม คณุ ธรรม โรงเรยี น นายเชษฐา
เถาวัลย/์ คณะ
โรงเรยี นคุณภาพ ใหค้ ําแนะนํา ปรึกษา 36 โรงเรยี น ศกึ ษานเิ ทศก์

ประจําตาํ บล

โครงการอ่านออกเขยี น ตรวจเยี่ยมการจดั ทกุ โรงเรยี นใน

ได้ กจิ กรรม และชั้นเรยี น สงั กัด 159

โรงเรียน

การพฒั นาคณุ ภาพ สังเกตการสอนในชนั้ 65 โรงเรยี น

การศกึ ษาด้วย เรียน

เทคโนโลยีการศกึ ษา

ทางไกลผ่านดาวเทียม

(DLTV)

ซ่งึ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
สตลู กาหนดจะออกตดิ ตามร่วมกับคณะศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล

24

ดา้ นงบประมาณ มรี ปู แบบและวธิ กี ารดาเนินงาน ดงั น้ี

การดาเนนิ งาน

แผนผงั การดาเนินงานระบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจดั การศกึ ษา ดา้ นงบประมาณ
การบรหิ ารจัดการงบประมาณ มขี อบขา่ ยการดาเนินงานท้ังระดับเขตพ้ืนท่ีและระดบั สถานศกึ ษา โดยใช้
หลกั การการบรหิ ารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (SRBM) และการบริหารงบประมาณแบบ
มงุ่ เนน้ ผลงาน (PBBS) คานงึ ถึงความสอดคลอ้ งสนองตอบกลยุทธ์จดุ เน้นการดาเนนิ งานของสานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานและสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสตลู รวมทัง้ สถานศึกษาใน
สังกัด
ในด้านการเบิกจ่ายงบประมาณ ยึดหลกั การบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาลประกอบด้วยหลกั นิติ
ธรรมหลกั คุณธรรมหลกั ความโปร่งใส หลักความมสี ่วนรว่ มหลกั ความรับผิดชอบและหลักความคุ้มค่าเพอื่ การใช้
จา่ ยงบประมาณตรงตามวัตถุประสงคแ์ ละเป็นไปตามระเบียบกฎหมายและแนวปฏบิ ตั ขิ องราชการ
ขอบเขตการดาํ เนินงานระดบั เขตพื้นที่การศกึ ษา
1) กลุ่มนโยบายและแผน : จัดตั้งงบประมาณหรือขอรับการจัดสรรงบประมาณไปยัง สพฐ. หรือ
วิเคราะห์และกลั่นกรองเพื่อเสนอขออนุมัติงบประมาณโครงการตามหลักประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความ
คุม้ ค่าเสนอผอู้ าํ นวยการสํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาอนุมัตโิ ครงการ และนําเสนอ กศจ.สตลู ให้ความเห็นชอบ

25

2) กลุ่มนโยบายและแผน(หรือผู้รับผิดชอบงานโครงการ กรณีรายการงบประมาณที่กลุ่มผู้รับผิดชอบ
ต้องตรวจสอบทบทวนการจัดสรรให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน) : แจ้งจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษาและ
สําเนาหนังสือแจ้งและผลการจดั สรรหรอื แจ้งผลการอนุมตั ิโครงการ ใหก้ ลมุ่ บริหารงานการเงินและสินทรัพย์และ
ควบคุมการเบกิ จ่าย

3) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์: แจ้งการอนุมัติเงินประจํางวดจาก สพฐ.ให้สถานศึกษาท่ี
ได้รับจดั สรรงบประมาณ ให้กล่มุ /หน่วยทีเ่ ปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ และสําเนาให้กลุ่มนโยบายและแผนทราบ เพ่ือการ
ควบคุมและติดตามการใช้จ่ายงบประมาณรวมทั้งติดตามผลการดําเนินงานโครงการ โดยได้นําใช้โปรแกรม
ระบบติดตามตรวจสอบงบประมาณด้วยตนเอง (BRSS) เพื่อให้กลุ่ม/หน่วยท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณได้
ตรวจสอบงบประมาณดว้ ยตนเอง

4) กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ : ติดตามเร่งรัดให้คําปรึกษาด้านการจัดซื้อจัดจ้างและ
รายงานผลการเบิกจ่ายเพ่ือให้ผู้บริหารและกลุ่มนโยบายและแผน รวมทั้งผู้รับผิดชอบงาน โครงการร่วมเร่งรัด
ตดิ ตามใหค้ วามช่วยเหลอื โรงเรยี นหรอื ผู้รับผิดชอบโครงการไดด้ าํ เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการเบิกจ่าย

5) กลุ่มนโยบายและแผน : ติดตามผลการดําเนินงานในภาพรวมและเสนอแนวทางการบริหาร
งบประมาณใหม้ ีความถูกตอ้ งตามระเบยี บกฎหมายของราชการ หรือขอรับการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อ
การใชจ้ า่ ย ท้งั นี้ ตามหลกั ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ลและความคมุ้ คา่

6) กลุ่มบริหารงานการเงนิ และสินทรัพย์ : รายงานเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร
โครงการเสร็จสน้ิ แล้วผ่านกลุ่มนโยบายและแผน

7) กลุ่มนโยบายและแผน : วางแผนการใช้เงินเหลือจ่าย การโอนเปล่ียนแปลงเงินเหลือจ่ายในรูป
คณะกรรมการ ผ่านความเห็นชอบของ กศจ.สตูล โดยคํานึงถึงความขาดแคลนต้องการจําเป็นวัสดุอุปกรณ์
ครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง ของสถานศึกษาและสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระเบียบกฎหมายและแนวปฏิบัติของ
ราชการ ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกกลุ่ม/หน่วย และเครือข่ายสถานศึกษา เพื่อเป้าหมายส่งผลถึงคุณภาพ
การศึกษาอยา่ งสูงสุด

8) หน่วยตรวจสอบภายใน : ตรวจสอบการดําเนินงานสถานศึกษาภาพรวมจํานวน ร้อยละ 20 /ปี,

ตรวจสอบ กรณีมีข้อทักท้วงร้องเรียน,ตรวจสอบระบบ GFMIS ของ สพป. ปีละ 1 เดือน,สุ่มตรวจเอกสารงบ
เดือนของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พร้อมทั้งลงพื้นที่ออกตรวจสอบ ชี้แจง ให้คําปรึกษาด้านการบริหาร

งบประมาณและการกรอกขอ้ มลู ในระบบการกรอกรายงานข้อมูลการบัญชีการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ของสถานศึกษา
ในสังกัด https://e-budget.jobobec.in.th/ ซ่ึงสถานศึกษาสามารถดําเนินการกรอกข้อมูลในระบบได้

ครบถ้วนทกุ โรงเรียน

แนวทางการกาํ กับ ติดตามการบริหารการเงนิ และสนิ ทรัพย์ ระดับสถานศึกษา
1. คณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ด้านงบประมาณ โดย

ตรวจสอบวตั ถุประสงค์การดําเนินโครงการ การใช้งบประมาณและผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนในแผนปฏิบัติการ
ของสถานศึกษา

2. ประสานความร่วมมือกับหน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์ กลุ่มนโยบาย
และแผนและกลุ่มอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับการจัดสรรงบประมาณเชิงนโยบาย ทําหน้าท่ีติดตามตรวจสอบ ให้
คําแนะนําช่วยเหลือให้แก่ครูผู้รับผิดชอบฝ่ายการเงินและพัสดุในสถานศึกษา ให้สามารถดําเนินการการเบิกจ่าย
ตามระเบยี บการคลัง และจดั ซ้ือจัดจ้างตามระเบยี บงานพัสดุไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

26

3. การดําเนินการตรวจสอบข้อมูลอ้างอิงการจัดการระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม
ยุทธศาสตร์ SPBB ท่ีหน่วยตรวจสอบภายใน ทําหน้าท่ีกํากับติดตามการใช้งบประมาณของสถานศึกษาอย่าง
ตอ่ เนอื่ งและเปน็ ระบบ

4. การรายงานผลการติดตามตรวจสอบ เพ่ือดําเนินการปรับปรุงแก้ไขเพื่อนําไปใช้วางแผนการ
ดาํ เนนิ งานในปงี บประมาณถดั ไป

ดา้ นบรหิ ารงานบุคคล

การดาํ เนินงาน
1. ดําเนินการบริหารงานบุคคล ภายใต้กระบวนการพัฒนาคนแบบมุ่งเน้นผลงานใช้หลัก Good

Governance และการใชท้ รัพยากรร่วมกัน
2. ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศฯ ระบบวินัยคณุ ธรรม
1) การปฏบิ ัตริ าชการ
2) การลา
3) ความประพฤตติ นตามระเบยี บวินยั ราชการ
3. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศฯ ตามสัญญาผลการปฏิบัติงานพัฒนาระบบการจัดทําสัญญา

ผลการปฏิบตั ิงานระหว่างบคุ ลากรทุกคนภายในสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาและผู้อํานวยการโรงเรียนทุกคนกับ
ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ซ่ึงถือเป็นข้อตกลงผลการปฏิบัติงาน (PA: Performance
Agreement) และได้ใช้ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานตามสัญญาผลการปฏิบัติงานเป็นตัวชี้วัดผลงานตามแบบ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา38.ค (2) โดยท่ีมาและประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดทําสัญญาผลการ
ปฏิบตั ิงาน มดี งั น้ี

1) การจัดทําสัญญาผลการปฏิบัติงานเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการของการบริหารงานแบบมุ่ง
ผลสัมฤทธ์ิ

2) การจัดทําสัญญาผลการปฏิบัติงานเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการ
เรยี นรู้

3) การจัดทําสัญญาผลการปฏิบัติงานเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างวัฒนธรรมการติดตามและ
ประเมินผลภายในองคก์ ร

4) ดําเนินการกํากับ ติดตามรูปแบบ วิธีการและแนวทางเชิงนโยบายในการพัฒนาครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้มีความรู้ในหลักวิชา มีความรอบรู้ในยุคเทคโนโลยีและการส่ือสาร
4.0 มที ักษะการคดิ การวเิ คราะห์งาน ท่จี ะนํามาสู่การพัฒนาคุณภาพการทํางานเพื่อประโยชน์ของราชการ เช่น
TEPE Online , คูปองครู เป็นต้น

27

ดา้ นบริหารทั่วไป

การดําเนนิ งาน

ระบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการจดั การศกึ ษา งานบริหารท่ัวไป มีดงั นี้
1. การจัดทํารายงานการตดิ ตามและประเมินมาตรฐานสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามมาตรฐาน
สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา เปน็ ประจําทุกปี
2. การประเมนิ ผลการบริหารจัดการสํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา
3. การประเมนิ ผลตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ประจาํ ปงี บประมาณ
4. การประเมินสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
5. ส่งเสริมบุคลลากรให้รู้จักวิธีการถอดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาที่

ประสบผลสาํ เรจ็ (Best Practice) เพือ่ นาํ มาสู่การจัดการความรู้ (Knowledge management) และเผยแพร่

วธิ ีปฏบิ ัตทิ ปี่ ระสบผลสําเร็จ เพ่ือการเรยี นรู้ของบุคลากรในสาํ นักงาน สถานศึกษา และบุคคลภายนอก

6. การประเมินด้านการบริหารจัดการอื่น ๆ เช่น การจัดวางระบบควบคุมภายใน และระบบบริหารความ
เสย่ี ง ทัง้ ในระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา และระดับสถานศกึ ษา

7. ดําเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นประจําทุกปี เพื่อนําผล
การปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการทาํ งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ

28

บทท่ี 4
ผลการดาํ เนนิ งาน

การศึกษาและรายงานผลการดาํ เนินงานตามแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นิเทศ
การศึกษา ประจําปีการศึกษา 2562 ไดเ้ สนอผลดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการพฒั นาแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ประจําปี
การศึกษา 2562

ตอนที่ 2 ผลการสร้างเครอื ข่ายการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
ตอนที่ 3 ผลการรายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม การดําเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ตอนที่ 4 ผลการดาํ เนนิ งานโครงการนโยบายสําคัญโดยยดึ ยุทธศาสตร์ของยทุ ธศาสตรข์ องสาํ นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและสาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล

ตอนท่ี 1 ผลการพัฒนาแนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาประจาํ ปี
การศึกษา 2562

จากการพฒั นาทําให้ได้แนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาประจําปี
การศกึ ษา 2562 ไดจ้ ดั ทาํ โครงการประชุมปฏบิ ตั ิการจดั ระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศ
การศกึ ษา ดงั รายละเอยี ดตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 แสดงผลการดาํ เนินงานตามโครงการประชุมปฏิบตั กิ ารจดั ระบบการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
และนิเทศการศึกษา

โครงการ ตัวชี้วัด ผลการดาํ เนนิ งาน

ประชุมปฏบิ ตั กิ ารจดั แนว 1. จํานวนผูเ้ ข้าประชุม ได้แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
ทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ปฏิบัติการ รองฯ 1 คน ศน. และนเิ ทศการศึกษา 1 ระบบ คือ รปู แบบ
ประเมินผลและนเิ ทศ 10 คน รวม 11 คน PICED ประกอบด้วย
การศึกษา 1. วางแผนดาํ เนนิ การนเิ ทศ (P – Planning)
2.ปฏบิ ตั กิ ารนิเทศ (I – Implementation)
3. การควบคุม นิเทศ กํากับ ติดตาม (C -
Control)
4. ประเมินผลการดาํ เนนิ การ (E –
Evaluation)
5. เผยแพรส่ สู่ าธารณะ (D – Diffusing)

29

ตารางที่ 1 แสดงผลการดําเนินงานตามโครงการประชุมปฏิบตั ิการแนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนเิ ทศการศึกษา (ตอ่ )

โครงการ ตวั ชว้ี ัด ผลการดาํ เนนิ งาน
2. มีระบบ 1 ระบบ 2. การนิเทศดว้ ยวิธกี าร N-TIME๒C สรา้ ง
เครือข่ายการติดตาม
N : Network เครือข่าย

T : Technology การใชเ้ ทคโนโลยี

I : Information การใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็น

ฐานในการนิเทศ

M : Mentoring การให้คําปรึกษา แนะนําและ

ชว่ ยเหลือ

E : Empowerment การเสริมพลังพลังใจ พลัง

สมอง และพลังการปฏิบัติ

C : Coaching การชแ้ี นะแนวทางปฏบิ ตั ิ

C : Clinical การชว่ ยเหลอื ครูปรับปรงุ การเรียน
การสอน

กระบวนการ PICED
๑. วางแผนดาํ เนินการนิเทศ (P – Planning)

เปน็ ขั้นที่ผู้นิเทศต้องทําความเข้าใจขอบข่ายอํานาจหน้าท่ีและบทบาทของผู้นิเทศ มีการนํา
นโยบาย โครงการ/กิจกรรม/จดุ เน้น ตลอดจนขอ้ มลู จากการศกึ ษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ ผล
การทดสอบระดับต่าง ๆ มาพิจารณาว่าจะสนับสนุน ส่งเสริม หรือมีปัญหาใดที่ต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไข
ก่อน-หลงั เพ่ือจัดทําแผนการนเิ ทศ กาํ หนดปฏทิ ินนเิ ทศ และเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการนิเทศ

2.ปฏิบัติการนเิ ทศ (I – Implementation)
เป็นขั้นดําเนินการนเิ ทศตามแผนการนิเทศดว้ ยวิธีการ N-TIME๒C รายละเอยี ดดังนี้
๑) การนิเทศโดยเครือข่าย (Network Supervision) หมายถึง การนิเทศโดยใช้

กระบวนการการมีส่วนร่วมจากศูนยเ์ ครอื ขา่ ย เพื่อสง่ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการปฏบิ ัติการนิเทศของผู้รับการ

นเิ ทศ

๒) การนิเทศโดยใช้เทคโนโลยี (Technology Supervision) หมายถึง การนิเทศ

ทางไกลโดยผา่ นระบบ ICT เชน่ Facebook, Line, My Office, Google Education, Website ฯลฯ

๓) การนิเทศโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นฐาน (Information Supervision) หมายถึง

การนิเทศโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศจากการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลในการจัดการศึกษาของโรงเรียน

และผลการทดสอบในระดบั ต่าง ๆ

๔) การนิเทศโดยใช้เทคนิคการเป็นพี่เล้ียง (Mentoring) หมายถึงการให้คําปรึกษา

แนะนํา และช่วยเหลอื ให้ผู้รบั การนิเทศพฒั นาศกั ยภาพในการปฏิบตั งิ าน

30

๕) การนิเทศแบบเสรมิ พลงั (Empowerment Supervision) หมายถึง การนิเทศ ให้ครู
ได้พฒั นาศกั ยภาพของตนเองท่ีมีอยู่แล้วให้เกิดเป็นพลัง ๓ ชนิดคือ พลังใจ (heart) พลังสมอง (head) และพลัง
การปฏบิ ตั ิ (hand)

๖) การนิเทศโดยใช้เทคนิคการสอนงาน (Coaching) หมายถึงการนิเทศ ที่เน้นการชี้แนะ
เพ่อื พฒั นาผลการปฏิบตั งิ าน และพฒั นาศกั ยภาพในการปฏบิ ัตงิ านของผรู้ ับการนิเทศให้สูงขึน้

๗) การนิเทศแบบคลินิก (Clinical Supervision) หมายถึง การนิเทศโดยใช้
กระบวนการพัฒนาชว่ ยเหลอื ครู ปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีข้นึ และตรงตามความต้องการของครู โดยการ
สงั เกตพฤติกรรมการสอนแบบตัวต่อตวั อย่างเป็นระบบ

บูรณาการแนวคดิ รว่ มในการนิเทศให้เกิดคุณภาพ ใน ๓ ด้าน คอื
๑. คณุ ภาพนักเรียน
๒. คุณภาพโรงเรยี น
๓. สมรรถนะของครูผสู้ อนและผบู้ รหิ ารโรงเรยี น

จากกรอบแนวคิดในการนิเทศท้ัง ๗ แนวคิด และคุณภาพท่ีเกิดจากการนิเทศ นํามาสรุป
เปน็ เทคนคิ สําหรับใชใ้ นการปฏิบตั กิ ารนิเทศ คอื เทคนคิ การนิเทศ N-TIME๒C Supervisory Model ดังน้ี

N : Network เครอื ขา่ ย
T : Technology การใช้เทคโนโลยี
I : Information การใชข้ ้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการนเิ ทศ
M : Mentoring การให้คาํ ปรึกษา แนะนําและช่วยเหลือ
E : Empowerment การเสรมิ พลงั พลงั ใจ พลงั สมอง และพลังการปฏบิ ตั ิ
C : Coaching การช้แี นะแนวทางปฏบิ ตั ิ
C : Clinical การชว่ ยเหลือครูปรับปรุงการเรยี นการสอน
3. การควบคุม นเิ ทศ กาํ กบั ตดิ ตาม (C - Control)
เป็นขั้นของการเสริมกําลงั ใจของผู้รบั การนเิ ทศ โดยผู้บริหารการศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่ หรือผู้
นเิ ทศ เพื่อใหม้ ีความมน่ั ใจและบงั เกิดความพึงพอใจในการปฏิบัตงิ าน ขั้นนีอ้ าจจะดําเนินการไปพร้อม ๆ กันกับผู้
ที่รับการนิเทศกําลังปฏิบัติงาน หรือการปฏิบัติงานได้เสร็จส้ินลงไป เป็นการติดตามการปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ
อย่างตอ่ เนือ่ ง ตามระยะเวลาปฏิบัติการนิเทศเพ่ือพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการเรียนการสอนทั้ง ๒
ระยะท่กี ําหนด

4. ประเมินผลการดาํ เนินการ (E – Evaluation)
เปน็ ขน้ั ท่ผี ูน้ ิเทศทําการประเมินผลการดําเนินการซ่ึงผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่าง ไร หลังจากการ

ประเมนิ ผลการนเิ ทศ หากพบว่ามปี ัญหาหรืออุปสรรคอย่างหน่ึงอย่างใด ท่ีทําให้การดําเนินงานไม่ได้ผลก็สมควร
จะต้องทําการปรับปรุงแก้ไข ซ่ึงการปรับปรุงแก้ไขอาจจะทําได้โดยการให้ความรู้ในส่ิงท่ีทําใหม่อีกคร้ังหนึ่ง
สําหรับกรณีที่ผลงานออกมายังไม่ถึงข้ันท่ีพอใจ หรือดําเนินการปรับปรุงการดําเนินงานท้ังหมดสําหรับกรณีการ
ดําเนินงานเป็นไปไม่ได้ผล และถ้าหากการประเมินผลได้พบว่าประสบผลสําเร็จตามท่ีได้ต้ังไว้หากจะได้
ดาํ เนินการนิเทศต่อไปกส็ ามารถทาํ ไปไดเ้ ลยโดยไมต่ ้องใหค้ วามรใู้ นเรื่องนั้นอกี

31

5. เผยแพร่สสู่ าธารณะ (D – Diffusing)
เปน็ ขั้นตอนท่ผี ู้นเิ ทศนาํ เสนอผลการนิเทศ ขอ้ คน้ พบ วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ด่ี ขี องโรงเรียน หลังจากได้รับ

การนิเทศแล้วอัพโหลด เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชนผ่านทางเว็บไซต์กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา http://www.nitessatun.net หรือ Facebook : Nitessatun หรือห้อง LINE แจ้งราชการ สพป.
สตูล หรอื ชอ่ ง Youtube: KruSatun Chanel

ตอนที่ 2 ผลการสร้างเครือขา่ ยการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา

ผลการสร้างเครือข่ายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา รายละเอยี ด ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงผลการสรา้ งเครือข่ายการใช้แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา

โครงการ ตวั ช้ีวัด ผลการดําเนินงาน

สร้างเครอื ข่ายการตดิ ตาม 1. จาํ นวนเครอื ข่าย 2. 1. จํานวนเครือข่าย 3 เครอื ข่าย คอื

ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและ เครือข่ายระบบติดตาม ๆ 1.1 คณะอนุกรรมการ ๆ ประกอบด้วย รอง

นเิ ทศการศกึ ษา ปฏิบัติตามภารกิจและเกณฑ์ที่ ผอ. สพป. / ผอ.กลุม่ / หน่วยและ บุคลากรใน

กําหนด สพป.สตูล

1.2 ศกึ ษานเิ ทศกป์ ระจําศนู ย์เครอื ข่าย

1.3 ศนู ย์เครือข่ายสถานศกึ ษา (เชอ่ื มโยงกบั

กจิ กรรมการตดิ ตามของ กลุ่มนเิ ทศฯ เช่น การ

อา่ นไม่ออก, การ ส่งเสริมการอ่าน, หนงึ่

โรงเรยี นหน่ึง นวัตกรรม ฯลฯ)

2. ผลการปฏิบัตงิ านของเครือขา่ ย

2.1 คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ

ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ปฏิบัติการ

นเิ ทศการศกึ ษาท้งั ทางตรงและทางอ้อม

จาํ นวน 159 ในโรงเรียน

2.4 ศูนยเ์ ครือข่าย เน้นการพัฒนาโดย วิธี

ศกึ ษาดงู านและแลกเปลี่ยนเรียนร้จู าก แหลง่

เรียนรศู้ นู ย์เครือขา่ ยสถานศกึ ษา

จากตารางที่ 2 พบว่าผลการสร้างเครอื ข่ายการใชร้ ะบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ

การศกึ ษา มี 3 เครือข่าย คือ คณะอนุกรรมการ ฯ ศึกษานเิ ทศกป์ ระจําศนู ยเ์ ครอื ขา่ ย และ ศูนยเ์ ครือข่าย

สถานศึกษา

32

ตอนท่ี 3 ผลการรายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม การดาํ เนินการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

สามารถเขยี นเป็นแผนภมู ิการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศ การศึกษาของเครือข่าย
รายละเอยี ดในแผนภูมทิ ่ี 3 ดังนี้
แผนภมู ทิ ่ี 3 แสดง การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาของเครือข่าย

คณะกรรมการ กตปน.

คณะอนุกรรมการ กตปน.

ศกึ ษานเิ ทศก์

ศนู ยเ์ ครอื ข่ายสถานศึกษา

ร.ร.นําร่อง/แกนนาํ / ร.ร.ทัว่ ไป จํานวน ร.ร.ตัง้ บนพนื้ ทเ่ี กาะ /
ต้นแบบตามนโยบาย 159 โรงเรยี น หา่ งไกลกันดาร

จากแผนภูมิท่ี 3 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของเครือขา่ ย พบว่า
คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ศกึ ษานิเทศก์ และ ศูนย์เครือข่าย สถานศึกษามภี ารกิจ
โดยตรงในการนเิ ทศ โรงเรยี นนําร่อง/แกนนํา/ต้นแบบ ทุกประเภทตามนโยบาย และโรงเรยี นท่วั ไป รวมถงึ
โรงเรยี นที่ตง้ั บนพื้นที่เกาะ หา่ งไกลกนั ดาร ท่ตี ้องให้ความสาํ คัญเป็นพิเศษ รวมท้ังสนิ้ จาํ นวน 159 โรง

สาํ หรับผลการปฏบิ ัตงิ านของเครือข่าย ปรากฏวา่ คณะอนุกรรมการปฏิบตั ิการนิเทศ การศกึ ษาท้งั
ทางตรงและทางอ้อมจาํ นวน 159 โรงเรยี น สว่ น ศึกษานิเทศกป์ ระจําศนู ยเ์ ครอื ข่าย ปฏบิ ตั ิการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ และนิเทศการศึกษา จาํ นวน 16 ศนู ย์เครอื ขา่ ย โดยเนน้ โรงเรียนทีต่ ้ังของศนู ยเ์ ครือข่ายเปน็
หลกั ผู้บริหาร/ครู มีการจดั กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้กับผ้บู ริหาร ครู - แกนนํา และ ศนู ย์เครอื ข่ายสถานศึกษา
เน้นการพฒั นาโดยวิธีศกึ ษาดูงานและแลกเปลีย่ นเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ตามศนู ยว์ ชิ าการโรงเรียน

33

นอกจากผลการดาํ เนนิ งานท่เี สนอมาแลว้ นั้นคณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษายังได้ปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศแบบบูรณาการสรปุ ผลไดด้ ังน้ี

กจิ กรรมการนเิ ทศ
1. ให้ความรโู้ ดยวธิ ีประชุมปฏบิ ัติการ อบรม พาทาํ บรรยาย ให้คําปรึกษา
2. แลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยการศึกษาดูงาน เผยแพร่ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ทางเว็ปไซต์ แจ้งในที่ประชุม
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา การแจกเอกสารฯลฯ
3. ระดมความรู้โดยวิธีการ สัมมนา ระดมความคิด ประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC AAR
ฯลฯ
4. ตรวจสอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสังเกตการสอน การนิเทศภายในโรงเรียน การ
สอบถามผบู้ รหิ าร โรงเรียน เพื่อนครูนักเรยี นและชมุ ชน
5. สํารวจความคิดเหน็ และความพึงพอใจ โดยสอบถามตัวแทนแต่ละกลุ่ม

ตอนท่ี 4 ผลการดําเนินงานโครงการนโยบายสําคัญโดยยึดยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ของ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สตูล

สําหรับการนิเทศในลักษณะโครงการ ได้ดําเนินกิจกรรมตามโครงการเพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนา โดยมี
โครงการท่กี ําหนดไวใ้ นแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ 2562 และโครงการท่สี าํ นักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานกําหนดเป็นนโยบายหรือจดุ เนน้ เปน็ พิเศษ ดังน้ี

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คง

1. โครงการ การขับเคล่อื นศาสตรพ์ ระราชา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสสู่ ถานศึกษา
การดาํ เนนิ งาน มกี ิจกรรมทดี่ าํ เนินงาน คอื
1. นิเทศ ติดตาม การดําเนินงานในการขับเคล่ือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกดิจพอเพียงด้าน

การศึกษาของโรงเรยี นในสังกัด
2. ประกวดสถานศึกษาพอเพียงท่ีมีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ในการน้อมนําหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา
3. ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตแิ ก่สถานศึกษาที่ผ่านการประกวด
ผลการดําเนินงาน
สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการน้อมนําหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาที่ผ่านการประกวดเป็นสถานศึกษาพอเพียง ในปีงบประมาณ
2562 จํานวน 16 โรงเรียน

2. โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”
กจิ กรรมขบั เคลอื่ นหลักสตู รตา้ นทุจรติ

การดําเนนิ งาน มีกิจกรรมทดี่ ําเนินงาน คือ
1. ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารคณะทํางาน เพอื่ จดั ทาํ หลกั สตู รต้านทุจรติ (โรงเรยี นสุจริต)
2. ประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครูวิฃชาการ ครูแกนนํา ในการนํา
หลกั สูตรไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน

34

ผลการดําเนินงาน
ผบู้ รหิ าร ครูวิชาการ และครูแกนนํา มีความรู้ความเข้าใจในการนําหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ไปใช้ใน
สถานศึกษา และสามารถใช้หลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนได้รับการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลกั สตู ร บรรลตุ ามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขัน

1. โครงการโรงเรียนคุณภาพประจําตาํ บล
การดําเนินงาน มีกจิ กรรมท่ีดําเนินงาน คือ
1. ประชมุ วางแผนการคดั เลอื กโรงเรยี นคณุ ภาพประจําตําบล
2. แตง่ ต้ังคณะกรรมการคัดเลือก ระดับอําเภอ ระดับจังหวัด ซึ่งการแต่งตั้งคัดเลือกทุกระดับเน้นการ

มสี ่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วน

ผลการดาํ เนนิ งาน
สํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสตลู มีโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล จํานวน 36 โรงเรียน
จากการพัฒนาส่งผลให้ครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถออกแบบการเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ รวมท้ังจุดเน้นตามท่ีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมาย ครูออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถเป็นแบบอย่าง
เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และนําเสนอผ่านวิดิโอการสอนรผ่านช่องทาง Youtube :
Krusatun Channel
2. โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาการคาํ นวณสําหรับครูผูส้ อน โรงเรยี นคณุ ภาพประจําตําบล
(กิจกรรมวทิ ยาการคํานวณ)
การดําเนนิ งาน มกี ิจกรรมทด่ี ําเนนิ งาน คอื
ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการครผู ูส้ อนวิชาวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และคอมพิวเตอร์/เทคโนโลยี ในโรงเรียน
คณุ ภาพประจาํ ตําบล จํานวน 35 โรงเรยี น รวมทง้ั สน้ิ 70 คน
ผลการดําเนนิ งาน
ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถออกแบบการเรียนรู้วิทยาการคํานวณ ท่ีสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ รวมทั้งจุดเน้นตามท่ีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. โครงการขบั เคลื่อนและพฒั นาการจดั การเรียนรู้วิทยาการคาํ นวณ
การดาํ เนนิ งาน มกี จิ กรรมทีด่ าํ เนินงาน คือ
1. จดั ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารการออกแบบกหารจัดการเรยี นรูว้ ทิ ยาการคํานวณ ระยะเวล่า 2 วนั
ระหว่างวันท่ี 11 – 12 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชุมโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคจุฬาภรณราชวิทยาลัย
สตูล
2. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการการออกแบบการจดั การเรยี นร้วู ิทยาการคํานวณ ระหว่างวันท่ี 11 – 12
มถิ ุนายน 2562 ณ หอ้ งประชุมโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคจุฬาภรณราชวิทยาลัยสตูล แก่ครูผู้สอนวิทยาการ
คาํ นวณ ชนั้ ป.4 – 5 จํานวน 224 คน
3. ดาํ เนินการประชมุ วางแผนและสรา้ งเครอื่ งมอื นเิ ทศ ตดิ ตาม ระหวา่ งวันที่ 21 – 22 สิงหาคม
2562

35

4. การนิเทศ ติดตาม แนะนาํ ช่วยเหลอื
5. การประชมุ คดั เลือกผลงานการจัดการเรยี นรู้ โดยศูนยเ์ ครอื ขา่ ย 16 เครอื ขา่ ย
6. กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ารจัดการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนรู้วิทยาการคาํ นวณ 12 กันยายน
2562 ณ สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
ผลการดําเนินงาน
ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถออกแบบการเรียนรู้วิทยาการคํานวณ ที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัด ผลการเรยี นรู้ รวมท้งั จุดเน้นตามท่ีมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ
เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
4. โครงการนิเทศพฒั นาโรงเรียนเพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
การดําเนนิ งาน มกี จิ กรรมท่ีดําเนนิ งาน คือ
ประชุมวางแผนใหค้ ณะผู้นิเทศทกุ คนมคี วามรู้ ความสามารถในการนเิ ทศโรงเรยี น ติดตามการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาทุกโรงเรยี น ตดิ ตามการดําเนินงานโครงการและนโยบายสําคัญ
ผลการดาํ เนินงาน
1. โรงเรยี นทุกโรงเรียนในสังกดั สํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล ไดร้ ับการนเิ ทศ
2. โรงเรียนทุกโรงเรียนมีแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีการขับเคล่ือนโครงการและนโยบาย
สําคญั
3. ส่งผลให้ผลการทดสอบวัดความสามารถพ้ืนฐานของนักเรียนระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2561
ช้ัน ป.3 เทียบกับผลการประเมินปีการศึกษา 2560 มีค่าคะแนนเฉล่ียเพิ่มขึ้นทุกด้าน ด้านภา เพ่ิมข้ึนร้อยละ
1.27 ด้านคํานวณเพ่ิมข้ึนร้อยละ 11.34 ด้านเหตุผล เพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.72 รวมเฉลี่ย 3 ด้านเพ่ิมขึ้นร้อยละ
5.12 มนี กั เรียนไดค้ ะแนนเต็มความสามารถดา้ นการคาํ นวณ 4 คน
4. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้ัน ป.6 ปีการศึกษา 2561 เทียบกับปี
การศึกษา 2560 มคี ่าคะแนนเฉลย่ี เพ่ิมข้ึนทกุ สาระ
5. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้ัน ป.6 ปีการศึกษา 2561 เทียบกับปี
การศึกษา 2560 มคี ่าคะแนนเฉลย่ี เพม่ิ ขึน้ ทกุ สาระ
6. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2561 เทียบกับปี
การศึกษา 2560 มีคา่ คะแนนเฉลีย่ เพ่มิ ข้นึ ทกุ สาระ
5. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษาสํานกงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสตูล
การดําเนนิ งาน มกี ิจกรรมทด่ี ําเนนิ งาน คอื
1. จดั ประชุมคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) สํานักงาน
เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตลู ภาคเรยี นท่ี 1 จาํ นวน 1 คร้งั
2. แต่งต้ังคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.)
สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสตลู และประชมุ จํานวน 1 คร้งั
ผลการดําเนินงาน
1. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสตูล สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษาให้ได้
คุณภาพและมมี าตรฐาน
2. โรงเรยี นทกุ โรงเรียนมคี วามพรอ้ มในการรับการประเมนิ จากภายนอกรอบสี่

36

6. โครงการงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรมวิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียน
พฒั นาการศักยภาพครูผูส้ อนปฐมวยั

การดําเนนิ งาน มกี จิ กรรมท่ดี าํ เนินงาน คอื
สง่ เสริม สนบั สนุนนักเรยี น ไดร้ ับการพัฒนาความสามารถทางวิชาการ การแสดง ทักษะดา้ นอาชีพ
โดยการประกวด แข่งขนั เพือ่ คัดเลอื กเป็นตัวแทนระดบั จงั หวัดสตลู และระดับชาติ
ผลการดําเนินงาน
อบรมครูพ่ีเลี้ยงของโรงเรียนที่เป็นศูนย์ในการอบรมครูสะเต็มศึกษาโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสตูล โรงเรียนสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล โรงเรียนสังกัดองค์การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียนสังกัดสํานักงานการศึกษาพิเศษ เข้าร่วมกิจกรรมจํานวน 205 รายการ และมี
ตัวแทนแข่งขันระดับชาติ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ภาคใต้ ครั้งที่ 69 ปีการศึกษา 2561
จังหวัดตรัง จํานวน 202 รายการ มีผลการแข่งขันได้ลําดับท่ี 21 ของภาคใต้ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จํานวน 6
รายการ รองชนะเลิศอับดับ 1 จํานวน 2 รายการ และ รองชนะเลิศอันดับ 2 จํานวน 4 รายการ รวม 15
รางวัล และสรุปเหรียญรางวลั ดังนี้ รางวัลระดับเหรียญทอง จํานวน 88 รางวัล ระดับเหรียญเงิน จํานวน 64
รางวัล และ ระดบั เหรียญทองแดง จํานวน 21รางวลั เกียรติบตั รเขา้ ร่วม จาํ นวน 25 รางวัล
สาํ หรับผลการดาํ เนินงานในปีการศึกษา 2562 ได้จัดกิจกรรมแข่งขันคัดเลือกตัวแทนระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสตลู มโี รงเรยี นในจังหวดั สตูลส่งนักเรียนเข้าร่วมประกวด แข่งขัน จํานวน 206 รายการ
และได้ตัวแทนไปร่วมแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ภาคใต้ คร้ังที่ 69 จังหวัดนครศรีธรรมราช
จาํ นวน 203 รายการ
7. โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยประเทศไทย
การดําเนนิ งาน มกี ิจกรรมท่ดี ําเนนิ งาน คอื
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัย ท่ียังไม่ได้รับตราพระราชทานโครงการบ้าน
นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพ่ือรับตราพระราชทานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย จากมูลนิธิสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนละ 1 คน รวมจํานวน 109 โรงเรียน แบ่งเป็น 2 รุ่น ระยะเวลา 2
วัน
ผลการดําเนินงาน
ครูผ้สู อนระดบั ปฐมวยั ในโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทย ทุกโรงเรยี น ได้รับการพัฒนา
และสามารถจดั ประสบการณก์ ารศกึ ษาปฐมวยั ได้อย่างเข้มแขง็ มีประสทิ ธภิ าพประสทิ ธผิ ล
8. โครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาเรยี นรวม
การดาํ เนินงาน มีกิจกรรมทด่ี ําเนินงาน คือ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการคัดกรองคนพิการทางการศึกษา จํานวน 180 คน โดยใช้
งบประมาณ 340,000 บาท
ผลการดําเนินงาน
โรงเรียน 159 โรงเรียน มีผู้ท่ีสามารถดําเนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษาและมีความรู้
ความสามารถเกยี่ วกับการจัดการศกึ ษาให้ผทู้ ม่ี ีความต้องการจําเป็นพิเศษ

37

9. โครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การดําเนนิ งาน มกี จิ กรรมท่ดี าํ เนินงาน คอื
อบรมเชิงปฏิบัติการขยายผล Boot Camp สู่การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แบบ CLT โดยแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ ดงั นี้
Session 1 : Teaching Vocabulary
Session 2 : Story – Based Reading
Session 1 : Teaching Grammar for Primary

ผลการดําเนนิ งาน
ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษที่ยังมาผ่านการอบรม Boot Camp จํานวน 84 คน มีความรู้ความเข้าใจ และ
สามารถประยุกต์ใช้เทคนคิ การจัดการเรียนรูแ้ บบ CLT ได้
10. โครงการวจิ ัยเพือ่ สง่ เสริมสนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในมูลนิธิชัยพัฒนาที่ตั้ง
บนเกาะสกู่ ารยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ปงี บประมาณ 2562 ด้วยกระบวนการ PICED
การดําเนินงาน มกี ิจกรรมท่ีดําเนนิ งาน คือ
พัฒนานักเรยี นโดยนําผลการทดสอบทางการศึกษาดา้ น ภาษไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษ ของนกั เรยี นในโครงการทมูลนิธิชัยพฒั นาจาํ นวน 8 โรงเรยี น มกี ารนิเทศติดตามผลการดําเนินงาน
ดว้ ยกระบวนการ PICED
ผลการดําเนนิ งาน
นักเรยี นในโครงการมูลนิธิชัยพัฒนาได้รับการนิเทศ ติดตาม พัฒนาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์สอดคล้อง
กบั บรบิ ทของตนเองในแต่ละโรงเรยี น
11. โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเฉพาะทาง บ้านนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย หัวข้อเร่ือง
“วิทยาการคํานวณ” (Unplugged Computer Science)
การดาํ เนินงาน มกี ิจกรรมทด่ี าํ เนนิ งาน คอื
อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารครปู ฐมวัย จาํ นวน 159 โรงเรยี น ๆ ละ 2 คน รวม 318 คน เพอ่ื ให้มคี วามรู้
ความเขา้ ใจและสามารถออกแบบการจดั ประสบการณว์ ทิ ยาการคาํ นวณ ท่ีสอดคลอ้ งกับมาตรฐาน คุณลักษณะที่
พึงประสงค์ ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560
ผลการดาํ เนนิ งาน
1. ครูผู้สอนท่ีเข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถออกแบบการเรียนรู้วิทยาการ
คาํ นวณท่ี
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560
2. ครูผู้สอนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถออกแบบการเรียนรู้วิทยาการ
คํานวณ สามารถนําข้อเสนอแนะจากการนิเทศไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียนได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
12. โครงการโรงเรยี นประชารัฐ
การดาํ เนนิ งาน มกี ิจกรรมท่ดี าํ เนินงาน คือ
1. ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารสร้างความเข้าใจการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาแกโ่ รงเรียน
ประชารฐั 19 โรงเรียน

38

2. นิเทศ ตดิ ตาม ใหค้ วามช่วยเหลอื การดําเนนิ งานการเขยี นโครงการเพอื่ ขอรบั งบประมาณ

สนับสนุนจากสปอนเซอร์หลัก (บริษัททรู คอร์ปอเรชั่นจํากัด (มหาชน) จํานวน 6 โรงเรียน เพ่ือให้โรงเรียน

ดาํ เนนิ งานตามมาตรฐานของโรงเรียนประชารัฐ

ผลการดาํ เนินงาน

1. ผูบ้ ริหารโรงเรียนท้ัง 19 โรงเรยี น มคี วามพร้อมในการดาํ เนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายใน

สถานศึกษาของโรงเรียน และพรอ้ มรับการประเมนิ จากภายนอกรอบสี่

2. โรงเรียนทไ่ี ดร้ บั การสนับสนนุ งบประมาณจากบรษิ ทั ทรู คอรป์ อเรช่นั จํากดั (มหาชน) มีความ

พร้อมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของโรงเรียนประชารัฐ และได้รับงบประมาณสนับสนุนใน

การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น 6 โรงเรยี น ดังนี้

โรงเรียนบ้านตาํ มะลังเหนือ จํานวน 299,480 บาท

โรงเรยี นบ้านนางแกว้ จาํ นวน 112,400 บาท

โรงเรยี นบ้านเกาะสาหรา่ ยชัยพฒั นา จํานวน 99,880 บาท

โรงเรยี นบา้ นตันหยงกาโบยชัยพัฒนา จํานวน 121,480 บาท

โรงเรียนบา้ นตันหยงโป จาํ นวน 167,869 บาท

โรงเรยี นบา้ นเกตรี จํานวน 102,400 บาท

12. โครงการจดั สอบวดั ความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (National Test : NT)

ปีการศึกษา 2561 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3

การดําเนินงาน มีกิจกรรมทด่ี ําเนินงาน คอื

จัดประเมินความสามารถพ้ืนฐานท่ีสําคัญจําเป็นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ในด้านภาษา

(Literacy) ด้านคาํ นวณ (Numeracy) และดา้ นเหตุผล (Reasoning abilities)

ผลการดาํ เนนิ งาน

นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2561 ทุกโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ประถมศึกษาสตูล โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จงั หวัดสตูล โรงเรียนในสังกัดตํารวจตระเวนชายแดน และ

โรงเรียนสังกัดเอกชนจังหวัดสตูล จํานวน 4,454 คน ได้รับการประเมินความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียน

ระดบั ชาติ (NT) และนาํ ผลการทดสอบไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น

14. โครงการประเมินคณุ ภาพการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2561

การดาํ เนินงาน มีกจิ กรรมทีด่ ําเนินงาน คอื

ดําเนินการทดสอบนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทุกคน ทุกโรงเรียนใน

สังกัด จํานวน 158 โรงเรียน จํานวน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ

ภาษาอังกฤษ โดยใช้งบประมาณจาก สทศ.(องค์การมหาชน) ระยะเวลาดําเนินการ เดือนกรกฎาคม 2561 –

มีนาคม 2562

ผลการดาํ เนนิ งาน

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 ทุกโรงเรียนในสังกัด

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-

NET) มีผลในภาพรวม ดงั น้ี

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

วชิ าภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 54.91

วชิ าคณิตศาสตร์ มคี ะแนนเฉล่ียร้อยละ 35.29

39

วิชาวิทยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 39.21

วชิ าภาษาองั กฤษ มคี ะแนนเฉลี่ยร้อยละ 34.80

มีนักเรียนได้คะแนนเต็ม 100 จํานวน 2 วิชา คือ วิชาคณิตศาสตร์ จํานวน 14 คน ได้แก่ นักเรียน

โรงเรียนอนุบาลโรงเรียนบ้านควนขัน โรงเรียนบ้านนางแก้ว โรงเรียนบ้านนาทอน และโรงเรียนอนุบาลควน

กาหลง

วิชาภาษองั กฤษ เตม็ 100 จาํ นวน 3 คน จากโรงเรียนอนุบาลสตูล

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

วชิ าภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 48.59

วิชาคณติ ศาสตร์ มคี ะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 23.86

วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 32.84

วชิ าภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 25.86

15. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาไทย

การดําเนนิ งาน มีกิจกรรมที่ดําเนินงาน 6 กจิ กรรม คอื

1. อบรมพฒั นาครูผสู้ อนภาไทย ระดับชั้นอนุบาล – ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เพื่อผลิตส่ือการอ่านแบบ

แจกลูกสะกดคํา จาํ นวน 55 คน

2. อบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนวรรณคดีสําหรับครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี

6 จาํ นวน 170 คน

3. จัดทาํ ค่มู อื ประกอบการจดั การเรยี นรบู้ ทอาขยาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6

4. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน โดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม

บรมราชกุมารี

5. จดั กจิ กรรมแขง่ ขนั ทักษะภาษาไทย เนอ่ื งในวันภาไทยแห่งชาติ ปี 2562

6. จดั กิจกรรมทดสอบเพอ่ื ประเมินการอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ช้ันประถมศึกษาปี

ที่ 6 ตามนโยบาย “เดนิ หน้าและพัฒนาการอ่านออกเขียนได้” และรายงานผลการดําเนินงานผ่านระบบติดตาม

ทางอเิ ลคทรอนกิ ส์ (e-Read & e-Write)

ผลการดาํ เนนิ งาน

1. ครผู สู้ อนภาษาไทย ระดบั ชนั้ อนุบาล-ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่3 มีความรู้ความสามารถในการผลติ สอ่ื

การสอนแบบแจกลูกสะกดคํา

2. ครผู ู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการสอนวรรณคดีมากขน้ึ

3. นักเรียนมีความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ และมีนิสัยรักการอ่านมากข้ึน โดยใช้หนังสือพระ

ราชนิพนธ์และคู่มือการเรยี นร้บู ทอาขยานเปน็ สือ่ ในการเรียนรู้

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

1. โครงการ อบรมครพู เ่ี ล้ียงด้วยระบบทางไกลโครงการบูรณาการสะเตม็ ศึกษา (สสวท.)
การดําเนินงาน มกี ิจกรรมทดี่ าํ เนนิ งาน คอื
อบรมครพู เี่ ลี้ยงของโรงเรยี นทีเ่ ป็นศูนย์ ในการอบรมครสู ะเต็มศึกษาดว้ ยระบบทางไกล ระดบั

ประถมศกึ ษาตอนต้น จํานวน 3 ศูนย์ จํานวน 9 คน ระดับประถมศึกษาตอนปลาย จํานวน 4 ศูนย์ รวม 12
คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 2 ศูนย์ รวม 6 คน เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั สตู รสะเตม็ ศึกษา

40

ผลการดําเนนิ งาน
ครูพเี่ ลีย้ งของโรงเรียนทเี่ ป็นศูนยใ์ นการอบรมสะเตม็ ศกึ ษาด้วยระบบทางไกลมีความรู้ ความ
เข้าใจหลักสูตรสะเต็มศึกษา สามารถวางแผน ขยายผล ดําเนินการจัดอบรมครูผู้สอนให้บรรลุเป้าหมายของ
หลกั สูตร
2. โครงการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาบุคลากรดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรโู้ รงเรียน
ในสงั กัดเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสตลู ปีงบประมาณ 2561
การดาํ เนนิ งาน มกี จิ กรรมท่ดี าํ เนินงาน คอื
ประชุมเชิงปฏิบตั ิการสร้างความรูค้ วามเข้าใจและฝึกปฏิบัติการจัดทําระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.
1, ปพ.5) โดยใช้โปรแกรม SchoolMiss จาํ นวน 159 คน จํานวน 2 รนุ่ ๆ ละ 1 วนั
ผลการดาํ เนนิ งาน
ครฝู า่ ยทะเบยี นวดั ผลทุกโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการออกเอกสารหลักฐานแสดงผลการ
เรียน ตัดสินผลการเรียนและสามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้ (ปพ.1, ปพ.3) และแนวปฏิบัติการใช้ผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐานเปน็ องคป์ ระกอบหนึ่งในการตัดสนิ ผลการเรียนของผู้เรียนท่ีจบการศึกษาตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 การใช้โปรแกรมระบบบริหารจัดการสถานศึกษา
(SchoolMiss) และประกาศกระทรวงฉบบั ต่าง ๆ จนสามารถนาํ ไปใชป้ ฏบิ ัตจิ รงิ ได้

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ขยายโอกาสการเข้าถงึ การบรกิ ารทางการศึกษา

ไม่มีโครงการดาํ เนนิ งานตามนโยบาย

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การศึกษาเพือ่ เสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม

1. โครงการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม

การดําเนนิ งาน มีกจิ กรรมที่ดาํ เนินงาน คอื
ประชุมปฏิบัติการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อการจัดการขยะให้กับครูผู้สอนวิทยาศาสตร์หรือ
ครผู สู้ อนกิจกรรมการจดั การขยะ โรงเรียนละ 1 คน จาํ นวน 159 คน
ผลการดาํ เนนิ งาน
ครูผู้สอนสามารถจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ
บรบิ ท/ชีวติ จริงเพือ่ การจัดการขยะ

2. โครงการสง่ เสรมิ การสอนพระพุทธศาสนาในโรงเรยี นของรัฐจังหวดั ชายแดนภาคใต้

การดําเนินงาน มกี ิจกรรมทดี่ าํ เนินงาน คือ
จัดประชมุ ชี้แจงผ้บู รหิ ารโรงเรยี นหรอื ครผู ้รู บั ผดิ ชอบโครงการตามแนวทางอัตลกั ษณ์ 29 ประการ
ของโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ
ผลการดําเนนิ งาน
โรงเรียนวถิ ีพทุ ธในโครงการ จํานวน 44 โรงเรียน จดั การเรยี นการสอนและกิจกรรมเข้าค่ายพทุ ธบุตร
พุทธธรรมแกน่ ักเรียน สอดคล้องกบั หลักสตู รและอตั ลักษณ์ 29 ประการของโรงเรียนวถิ ีพุทธ

41

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วม

1. โครงการสง่ เสริพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
การดําเนินงาน มกี จิ กรรมที่ดําเนินงาน คือ
พัฒนาผู้บรหิ ารและครูที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาและพฒั นาเตรยี มความ

พร้อมรบั การประเมินภายนอกรอบส่ี จํานวน 2 รนุ่
ผลการดําเนนิ งาน
สถานศกึ ษามรี ะบบประกันคุณภาพภายในที่เขม้ แขง็ นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขึ้น ชมุ ชน

และสังคมมีความเช่ือมัน่ ในการจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสตูล

42

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การดําเนินงานตามระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ประจาํ ปีการศึกษา
2562 ของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษาสตูล ซ่งึ จะนาํ เสนอในบทนี้เกยี่ วกบั วัตถปุ ระสงค์ ประชากร สรปุ ผลการดาํ เนินงาน อภปิ รายผล
และข้อเสนอแนะตามลาํ ดับดังน้ี

วตั ถุประสงค์

เพอื่ ศกึ ษาและรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศ
การศึกษา ประจาํ ปีการศึกษา 2562

ประชากร

ประชากรที่ใช้ในการดําเนนิ งาน เปน็ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพนื้ ท่ี การศึกษาสตูล ปี
การศึกษา 2562 จํานวน 159 คน

เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการดาํ เนินงาน

1. แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา ประจาํ ปีการศึกษา 2562
2. กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
3. แบบรายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม
4. แบบรายงานผลการดําเนนิ งานโครงการนโยบายสําคัญโดยยดึ ยุทธศาสตร์ของสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

การวเิ คราะห์ผลการดําเนินงาน

การวเิ คราะห์ผลการดาํ เนินงาน แยกเป็น 2 ส่วน คอื การวิเคราะหข์ ้อมูลเชงิ ปรมิ าณและการ วิเคราะห์
ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ มีรายละเอียดดังนี้

1. การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณ
เป็นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการนิเทศในลักษณะของปริมาณ เช่น จาํ นวนคร้งั การหาคา่ เฉลยี่ หา
ค่าร้อยละ เป็นตน้
2. การวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพ
เปน็ การวเิ คราะห์ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการรายงานผลการดาํ เนนิ งานของคณะอนุกรรมการ โดยใช้เทคนิคการ
วเิ คราะหเ์ นอื้ หา (Content analysis) ตามวัตถปุ ระสงค์ของการรายงาน หลักการในการวเิ คราะห์ใชห้ ลกั การ
สังเคราะห์โดยการเปรยี บเทียบสาระทไี่ ดจ้ ากเอกสารรายงาน สรปุ ส่วนทเี่ หมือนและวเิ คราะหน์ ําเสนอสว่ นที่
ตา่ งกนั

43

สรุปผลการดาํ เนินงาน

ผลการดาํ เนนิ งานสรปุ ได้ดงั น้ี
1. ผลการพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ประจําปีการศึกษา
2562
จากการพัฒนาทําให้ได้ระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ประจําปีการศึกษา
2562 ได้จัดทําโครงการประชุมปฏิบัติการจัดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
เพ่ือระดมความคิดสรปู ระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศ การศึกษา ประจําปีการศึกษา 2562 ซึ่ง
ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน คอื

1.1 วางแผนดาํ เนินการนิเทศ (P – Planning) ไดแ้ ก่
1.1.1 วเิ คราะหค์ ะแนน NT , O-NET
1.1.2 วเิ คราะหผ์ ลการนิเทศ ปีการศึกษา 2561
1.1.3 ศึกษานโยบายของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ี

การศกึ ษาประถมศึกษาสตลู
1.1.4 ทาํ แผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
1.1.5 สรา้ งส่อื เครอ่ื งมอื นเิ ทศ

1.2. ปฏบิ ัตกิ ารนิเทศ (I – Implementation) ไดแ้ กก่ ารสรา้ งเครอื ข่ายการตดิ ตาม
1.3 การควบคมุ นิเทศ กาํ กับ ตดิ ตาม (C - Control)
1.4 ประเมนิ ผลการดําเนนิ การ (E – Evaluation
1.5 เผยแพรส่ ู่สาธารณะ (D – Diffusing)
2. ผลการสร้างเครอื ข่ายการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
ผลการสร้างเครือข่ายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา มี 3 เครือข่าย คือ
คณะอนกุ รรมการ ฯ ศกึ ษานิเทศกป์ ระจําศูนยเ์ ครือขา่ ย ผบู้ ริหารโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษา
ทงั้ 3 เครอื ขา่ ย มภี ารกจิ โดยตรงในการนเิ ทศ โรงเรียนนําร่อง โรงเรียนแกนนํา และ โรงเรียนต้นแบบ
โรงเรยี นท่ัวไป และโรงเรียนในโครงการมลู นธิ ชิ ับพัฒนา จาํ นวน 159 โรง
สําหรับผลการปฏิบัติงานของเครือข่าย ปรากฏว่า คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. มีการนิเทศการศึกษา
ทั้งทางตรงและทางอ้อมจํานวน 159 โรงเรียน ส่วน ศึกษานิเทศก์ประจําศูนย์เครือข่ายปฏิบัติการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษา จํานวน 16 ศูนย์เครือข่าย โดยเน้น โรงเรียนที่ต้ังของศูนย์เครือข่าย
เป็นหลัก และเน้นพิเศษที่โรงเรียนในโครงการมูลนิธิชัยพัฒนา 7 โรงเรียน เน้นการดําเนินงานผ่านระบบกลุ่ม
ไลน์ เช่น ครกู ลุ่มไลน์ภาษาอังกฤษ ครปู ฐมวัย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และกลุ่มไลน์ผู้บริหารโรงเรียน./ครู
ต้นแบบ/แกนนํา โดยจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูต้นแบบ / แกนนํา และ ศูนย์รเครือข่าย
สถานศึกษา เน้นการพฒั นาโดยวธิ ศี กึ ษาดงู านและแลกเปลยี่ นเรียนรจู้ ากแหลง่ เรยี นรูข้ องศูนยว์ ชิ าการเครือขา่ ย
นอกจากผลการดําเนินงานท่ีเสนอมาแล้วน้ันคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศึกษายงั ไดป้ ฏบิ ตั ิการนิเทศแบบบรู ณาการสรปุ ผลไดด้ ังนี้
กิจกรรมการนเิ ทศ
1. ใหค้ วามรู้โดยวิธีประชุมปฏบิ ตั กิ าร อบรม พาทํา บรรยาย ใหค้ าํ ปรึกษา
2. แลกเปล่ยี นเรยี นรู้โดยการศกึ ษาดูงาน เผยแพร่ขา่ วสาร ประชาสัมพันธ์ทางเว็ปไซต์ กลุ่มไลน์ แจ้ง
ในท่ีประชุมผู้บรหิ ารสถานศึกษา แจกเอกสารฯลฯ

44

3. ระดมความร้โู ดยวิธกี ารสมั มนา ระดมความคิด ประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารแบบ AIC ฯลฯ
4. ตรวจสอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสังเกตการณ์สอน สอบถามผู้บริหาร โรงเรียน
เพอ่ื นครนู ักเรียนและชุมชน
5. สํารวจความคิดเหน็ และความพึงพอใจ โดยสอบถามตวั แทนแต่ละกลมุ่
การนิเทศในลักษณะโครงการ ได้ดําเนินกิจกรรมตามโครงการหรือนโยบาย จุดเน้นที่สําคัญของ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล เพื่อ
แก้ปัญหาและพัฒนา
3. ผลการรายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม การดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การดําเนินงานการนิเทศเพื่อพัฒนาโรงเรียนและยกระดับคุณภาพการศึกษา มีกิจกรรมที่ดําเนินงาน
คือ
1. ประชุมผู้บรหิ ารโรงเรียน รองผ้บู รหิ ารโรงเรียน รวมทง้ั สนิ้ 159 โรงเรยี น
2. นิเทศ โรงเรียนในสังกัดครบ 159 โรงเรียนละ (ภาคเรียนละไม่น้อยกว่า 1 คร้ัง) โดยมีกิจกรรม
หลัก คือ การนิเทศความพร้อมการเปิดภาคเรียน การนิเทศโรงเรียนในโครงการมูลนิธิชัยพัฒนาด้วย
กระบวนการนิเทศ PICED การนิเทศโรงเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่าและเน้นการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน และ การนิเทศโรงเรียนในเครือขา่ ยทศี่ ึกษานิเทศก์รบั ผดิ ชอบจํานวน 16 เครือข่าย
ผลการดําเนินงานท่สี ่งผลตอ่ คุณภาพการจัดการศึกษา คือ ผู้บริหาร รองผู้บริหาร และครูหัวหน้ากลุ่ม
สาระมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความ เป็นมา วิธีดําเนินการ และแนวทางการพัฒนาโรงเรียน โรงเรียนจัดทํา
แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และปรับภูมิทัศน์ โดยเน้นให้เกิดความร่มร่ืน สวยงาม และปลอดภัย
พัฒนาการอ่านออก เขียนได้ มีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) มกี ารแบ่งงาน/ภาระงานความรับผิดชอบตามตัวช้ีวัด บางโรงเรียน
ได้มอบหมายให้กลมุ่ สาระ ไปวเิ คราะห์แล้วนาํ ไปสอดแทรกบรรจไุ ว้ในหลักสูตรกล่มุ สาระ
4. ผลการดําเนินงานโครงการนโยบายสําคัญโดยยึดยุทธศาสตร์ของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพน้ื ฐานและสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสตูล
การดําเนินงานตามนโยบายสําคัญของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและของ
สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล ได้ดําเนินงานโดยให้ความสําคัญตามกรอบภาระงานและภารกิจ
ที่รบั ผิดชอบสําเรจ็ เรียบรอ้ ยตามภารกจิ คอื ในกลุ่มที่ 1 ภารกิจกลมุ่ งานที่รับผิดชอบ และ กลุ่มท่ี 2 ภารกิจงาน
รับผดิ ชอบโครงการ/นโยบายสาํ คญั ซึ่งการดําเนินงานสําเร็จเรียบร้อยไปตามระยะเวลาท่ีกําหนดและตอบสนอง
ตามยุทธศาสตร์ที่รับผิดชอบทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ โดยมีโครงการดําเนินงานในแต่ละยุทธศาสตร์ จํานวน 22
โครงการดังนี้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 จํานวน 2 โครงการ
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 จํานวน 15 โครงการ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 จาํ นวน 2 โครงการ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 จํานวน ไมม่ โี ครงการ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 จํานวน 2 โครงการ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 จาํ นวน 1 โครงการ

45

อภปิ รายผล

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาได้ปฏิบัติงาน หน้าท่ี โดยการสร้าง
ระบบการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 5 ข้ันตอน คือ ข้ันท่ี 1. วางแผน
ดําเนินการนิเทศ (P – Planning) ขั้นที่ 2. ปฏิบัติการนิเทศ (I – Implementation) ขั้นที่ 3. การควบคุม
นิเทศ กํากับ ติดตาม (C - Control) ขั้นท่ี 4. ประเมินผลการดําเนินการ (E – Evaluation) ข้ันท่ี 5. เผยแพร่สู่
สาธารณะ (D – Diffusing) ได้ปรับปรุงและพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง ตลอดปี ทําให้ระบบดังกล่าวสามารถ
นําไปใช้ในการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ ซ่ึงเป็นการปฏิบัติงานท่ี
เป็นไปตามบทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาตาม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 และตามบทบาทหน้าที่
ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธืการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการศึกษา
พ.ศ. 2560 คือ ศกึ ษาวิเคราะห์ วจิ ยั นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการดําเนินการ โดยมุ่งเน้น
ผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือการเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผลจากหนว่ ยงานภายนอก

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะในการดําเนินการครงั้ น้ี

1.1 การดําเนินงานส่วนใหญ่ จะเป็นบทบาทของ อนุกรรมการ ก.ต.ป.น. เป็นผู้ดําเนินการนิเทศ
ตดิ ตาม ควรให้ ก.ต.ป.น.มบี ทบาทด้วย

1.2 การนําแนวทางการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาไปใช้ ควรเน้นการ
ปฏบิ ัตงิ านภาคสนามเป็นหลกั เนอื่ งจากทาํ ใหไ้ ด้ข้อมูลที่ถกู ต้อง ตรงกบั ความเปน็ จรงิ

1.3 การนําแนวทางการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาไปใช้ ควร ประยุกต์ใช้
ตามสภาพปริบทของสถานศึกษา และควรตดิ ตามแบบกัลยาณมิตร

2. ขอ้ เสนอแนะในการดาํ เนินการครง้ั ตอ่ ไป

2.1 ควรมอบบทบาทให้ ก.ต.ป.น.มีสว่ นรว่ มในทุกกจิ กรรมใหม้ ากขึน้
2.2 การรายงานผลการดาํ เนินงานของคณะอนกุ รรมการติดตามตรวจสอบประเมินผล และนิเทศ
การศกึ ษา ควรครบถว้ นตามกลยทุ ธ์ในแผน
2.3 ควรส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยที่ใช้ในการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศ การศึกษา
อยา่ งต่อเน่อื ง สมํ่าเสมอ

46

บรรณานุกรม

เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาสตูล, สํานกั งาน. (2561). แผนกลยุทธ์ ระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ประจําปี 2560 สตลู : เมืองสตลู การพมิ พ์.
. (2560). รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปขี องสถานศกึ ษา ระดบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษา
ประจําปีการศึกษา 2560 (อดั สําเนา)
. (2561) รายงานผลการจดั การศกึ ษาประจําปีงบประมาณ 2561. (อดั สําเนา), สํานักงาน
(2561). รายงานผลการนิเทศประจําภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562. (อดั สาํ เนา) คณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน, สาํ นักงาน,
(2561) บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา (อดั
สําเนา)
(2562) แนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 (อดั
สาํ เนา)

47

ภาคผนวก

48

เครอ่ื งมือนเิ ทศตดิ ตาม
ความพร้อมเปดิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสตลู
*******************************************************

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พื้นฐาน
1. โรงเรยี น...............................................................เครือขา่ ย.................................................................................
2. ผู้บริหารช่ือ.........................................................................เบอรโ์ ทร..................................................................
3. จานวนบุคลากร (ครูประจาการ/พนักงานราชการ/ลูกจา้ ง) จานวน.........................คน
4. จานวนนักเรยี น (รวมตั้งแต่ระดับอนุบาลถงึ ชั้นสูงสดุ ) จานวน.....................................คน

ตอนท่ี 2 ผลการเตรียมความพร้อม

ที่ รายการ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ (สรุปประเด็น
ข้อสงั เกตที่พบเหน็ )
ดา้ นสภาพแวดล้อมท่ัวไป ดาเนนิ ไม่
การ ดาเนนิ การ
1 มีการจดั สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณทั้งภายในและ
ภายนอกมคี วามสะอาดร่มรน่ื สวยงามและปลอดภยั

2 มีการรักษาสภาพแวดลอ้ มบริเวณโรงเรียน เชน่ สนาม
หญ้า ตน้ ไม้ สวนหยอ่ มสาหรับพกั ผอ่ นหยอ่ นใจดู
งดงาม สะอาดเรียบรอ้ ย

3 หอ้ งสมดุ มสี ภาพความพรอ้ มในการใหบ้ ริการ และมี
แผนการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ นสิ ยั รกั การอ่าน

4 มกี ารจดั หอ้ งเรยี น ห้องปฏิบตั กิ ารเป็นระเบียบ
สะอาด ท่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นการสอน

5 มีการจัดห้องน้าที่ถกู สขุ ลกั ษณะและเพยี งพอกับ
นกั เรยี น

6 โรงเรยี นมอี ปุ กรณ์สื่อถา่ ยทอดสญั ญาณ DLTV /
DLIT และการเตรยี มความพร้อมใชง้ าน

7 มีการจัดโรงอาหารที่ถกู สุขลักษณะ สะอาด มคี วาม
พรอ้ มของอุปกรณป์ ระกอบอาหาร และภาชนะในการ
รบั ประทานอาหาร

8 มีการบรกิ ารน้าด่ืม / นา้ ใช้ ตู้น้าเยน็ แกว้ นา้
กอ๊ กนา้ อา่ งล่างมือ

9 มจี านวนโตะ๊ เกา้ อ้ี เพียงพอ
10 ระบบไฟฟ้า ประปา มีความปลอดภยั ใชง้ านได้

49

ที่ รายการ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ (สรปุ ประเด็น
ขอ้ สงั เกตทีพ่ บเห็น)
ความพร้อมของการบริหารจัดการ ดาเนิน ไม่
การ ดาเนนิ การ
1 มีการประชุมครู ผูป้ กครอง กรรมการสถานศึกษาเพอื่
เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น

2 มกี ารจัดทาคาส่งั การจัดช้ันเรยี น และมอบหมายงาน
ใหค้ รูรบั ผิดชอบท่ีชดั เจน

3 การจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาป/ี โครงการ

4 มกี ารจดั ระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

5 โรงเรียนมรี ะบบนเิ ทศภายในโรงเรยี นเป็นระบบ และ
มีคาสัง่ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ปฏิทินการนเิ ทศภายในชัดเจน

6 มกี ารจดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น/เยย่ี มบ้าน
นกั เรียน อยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 คร้ัง

7 โรงเรยี นจดั ทาแผนสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม
นกั เรยี น

8 โรงเรยี นไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณค่าอาหาร
กลางวันจากอปท., อบต. (บนั ทกึ วนั ทีไ่ ด้รับจดั สรร)

9 โรงเรียนไดร้ บั การจดั สรรอาหารเสรมิ (นม) จากอปท.
, อบต. (บนั ทึกวนั ทไี่ ดร้ ับจัดสรร)

10 โรงเรยี นดาเนินงานตามนโยบายเรยี นฟรีเรยี นดี 15 ปี
อยา่ งมคี ณุ ภาพ

ความพร้อมด้านวิชาการ

1 มีการทบทวนหลักสูตรสถานศกึ ษาฉบบั ปรบั ปรงุ
2560

2 มกี ารประชมุ พจิ ารณาผลการทดสอบการประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษา (NT, O-NET, ผลสมั ฤทธิร์ ะดบั
สถานศกึ ษา)

3 มีการกาหนดเปา้ หมายผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

4 มีการจัดทาแผน/แนวดาเนินการ/โครงการยกระดับ
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

5 มกี ารวางแผนการนิเทศภายใน
6 มีการวางแผนในการเตรยี มความพร้อมการอา่ นเขียน

ของเดก็ ปฐมวยั
7 ครูผสู้ อนมขี ้อมลู นักเรยี นทอ่ี ่านไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ดใ้ น

แต่ละช้ันเรียนอย่างชดั เจน และมแี ผนการดาเนินการ
แก้ไขปัญหานักเรยี นที่อ่านไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ดอ้ ย่าง
ชัดเจนเปน็ รูปธรรม
8 โรงเรียนมกี ารวางแผนจดั การศกึ ษาใหค้ รอบคลมุ


Click to View FlipBook Version