คคาํ าํ ไไททยยแแทท้ ้
แแลละะ
คคาํ ําททีมีมาาจจาากก
ภปารษะาเทตศา่ ง
มัธยมวรศชิ ะึกาดภษับาาชษปนั าทไีท๒ย
คคําําไไแททแลยยลแะะแทท ้
ตคาคํางําภททปา่ีมีมรษาะาจาเจาทกากศ
มธั ยมวศริชะาึกดภษบัาาชษปนั้าท ไี่ ท๒ย
คํานํา
หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ เรอื ง คําไทยแทแ้ ละคําทมี าจากภาษาต่างประเทศ จัดทาํ ขนึ เพอื
ใชป้ ระกอบการจัดการเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทย ชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒ โดยนักเรยี น
สามารถสรา้ งองค์ความรูแ้ ละฝกทกั ษะเพมิ เติมจากเนือหา พรอ้ มทงั ประเมนิ ตนเองได้จาก
แบบฝกหลังบทเรยี น ซงึ เน้นให้นักเรยี นได้เรยี นรูด้ ้วยตนเอง สามารถใชเ้ ปนเอกสาร
ประกอบการเรยี นทงั ในเวลาเรยี นและนอกเวลาเรยี น ทงั ในเรอื งลักษณะคําไทยแท้ คําไทย
แทท้ มี ลี ักษณะคล้ายคําทมี าจากภาษาต่างประเทศ และคําทมี าจากภาษาต่างประเทศ
หนังสอื เล่มนีเปนหนังสอื ทอี ยูใ่ นรูปอิเล็กทรอนิกส์ ดังนันจึงชว่ ยลดการใชก้ ระดาษและ
ประหยดั ต้นทนุ ในการจัดพมิ พ์ ทงั ยงั เปนสอื การสอนออนไลน์ สาํ หรบั การจัดการสอนใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื ไวรสั COVID-๑๙ ทางคณะผจู้ ัดทาํ จึงหวงั เปนอยา่ ง
ยงิ วา่ หนังสอื เล่มนี จะชว่ ยพฒั นาทกั ษะของนักเรยี นให้มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจและสง่ ผล
ให้การเรยี นมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ อีกทงั ยงั เปนประโยชน์ต่อผทู้ สี นใจศกึ ษาเกียวกับหลัก
ภาษาไทย เรอื งคําไทยแทแ้ ละคําทมี าจากภาษาต่างประเทศได้เปนอยา่ งดี
คณะผจู้ ัดทาํ
สารบัญ
ลักษณะ
๐๔ - ๑๑ของคําไทยแท้
๑๒ - ๑๘ คําไทยแทท้ คี ล้าย
กับคําจากต่างประเทศ
คําทมี าจาก ๑๙ - ๔๕
ภาษาต่างประเทศ
๔๖ - ๔๙ เกมทา้ ยบท
บทที ๑
ลักษณะของคําไทยแท้
๑๑ลักษณะของคําไทยแท้
เปนภาษาคําพยางค์เดียว
ตา มเี สยี งวรรณยุกต์แน่นอน
ไมน่ ิยมควบกลา
ปาก แขน หู
ข้อสังเกต : คําไทยแท้
เมอื อ่านแล้วจะเขา้ ใจความหมายได้ทนั ที
ไมต่ ้องแปลอีกรอบนึง
๒๒ มกี ารเขยี นโดยเฉพาะ
ใช้พยัญชนะต้นรว่ มกับภาษาอืน
แต่
ไมน่ ิยมใช้ ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ
ศ ษ ฬ และสระ ฤ ฤๅ
ยกเวน้ บางคําต่อไปนีทเี ปนคําไทย
ฆา่ เฆยี น ระฆงั ฆอ้ ง
ตะเฆ่ ใหญ่ หญา้ สาํ เภา ภาย
เฒา่ ณ ธ เศรา้ ศึก
ธง เธอ ศอก ศอ ศก
คําไทยจะใช้สระ “ใ” (ไม้ม้วน) มี 20 คํา
ผใู้ หญห่ าผา้ ใหม่ ใหส้ ะใภ้ใชค้ ล้องคอ
ใฝใจเอาใสห่ ่อ มหิ ลงใหลใครขอดู
จะใครล่ งเรอื ใบ ดนู าใสและปลาปู
สงิ ใดอยูใ่ นตู้ มใิ ชอ่ ยูใ่ ต้ตังเตียง
บา้ ใบถ้ ือใยบวั หูตามวั มาใกล้เคียง
เล่าทอ่ งอยา่ ละเลียง ยสี บิ มว้ นจําจงดี
นอกนัน ใชส้ ระ “ไ” (ไมม้ ลาย)
มกี ารกรอ่ นเสยี ง
การทคี ํา 2 คํา เมอื พดู เรว็ ๆ หมากมว่ ง เปน มะมว่ ง
ทาํ ให้ออกเสยี งคําแรกสนั ลง ตาปู เปน ตะปู
กลายเปนคํา 2 พยางค์
สะกดตรงตามมาตรา
แมก่ ก สะกดด้วยตัว ก เชน่ กัก เด็ก ลกู จอก
แมก่ ง สะกดด้วยตัว ง เชน่ เก่ง นัง พงิ ถัง
แมก่ ด สะกดด้วยตัว ด เชน่ กด ปด อวด ปูด
แมก่ น สะกดด้วยตัว น เชน่ กิน นอน ฉนุ เห็น
แมก่ บ สะกดด้วยตัว บ เชน่ กับ แคบ จบ ซูบ
แมก่ ม สะกดด้วยตัว ม เชน่ ชาม หอม ดืม ต่มุ
แมเ่ กอว สะกดด้วยตัว ว เชน่ แมว หิว ขา้ ว หนาว
แมเ่ กย สะกดด้วยตัว ย เชน่ คอย ขาย ปุย ตาย
มคี ําไทยแทบ้ างคํา สะกดไมต่ รงมาตรา และมใี ชใ้ นคําประพนั ธ์
ดกู ร มาจาก ดกู ่อน และ อรชร มาจาก อ่อนชอ้ ย
คําบางคําทมี ตี ัวสะกดตามมาตราแต่ไมใ่ ชค่ ําแท้
ได้แก่ โลก กาย ซน วยั ชยั เดิน โปรด เปนต้น
มกี ารเติมพยางค์หน้า
การเติมพยางค์ทหี น้าคํามลู โดยให้มี
ความหมายใกล้เคียงกัน
ทาํ เปน กระทาํ โจน เปน กระโจน
มกี ารแทรกเสยี ง
การเติมพยางค์ลงไปตรงกลางระหวา่ งคํา 2 คํา
นกจอก เปน นกกระจอก ลกู เดือก เปน ลกู กระเดือก
ไมน่ ิยมใชต้ ัวการนั ต์ เชน่ ยนั สดั สนั
ลักษณะคําไทยแท้
มอี ะไรบา้ ง
นิยมควบกลา มกี ารนั ต์
มกี ารเติมพยางค์หน้า
ไมม่ กี ารเติมพยางค์กลางระหวา่ งคํา
ไมม่ กี ารแทรกเสยี ง
มกี ารกรอ่ นเสยี ง
มพี ยางค์เดียว
เฉฉลลยย
ลักษณะคําไทยแท้
นิยมควบกลา มกี ารนั ต์
มกี ารเติมพยางค์หน้า
ไมม่ กี ารเติมพยางค์กลางระหวา่ งคํา
ไมม่ กี ารแทรกเสยี ง
มกี ารกรอ่ นเสยี ง
มพี ยางค์เดียว
บทที 2
คํา ไทยแท้
ทคี ล้ายกับคําจากต่างประเทศ
คําไทยแทท้ คี ล้ายกับ
คําจากต่างประเทศ
คําไทยแท้บางคําคล้ายกับคําจากภาษา
ต่างประเทศ ทาํ ให้มักเข้าใจผิด สามารถ
แบ่งออกเปน 5 กลุ่ม ดังนี
คําไทยแท้ทีมีหลายพยางค์ มักเกิดความเข้าใจผิดว่า
๑๑..เปนคํามาจากภาษาต่างประเทศ จาก การกรอ่ น
เสียง การกลมกลืนเสียง หรอื การเติมพยางค์
การกรอ่ นเสยี ง การกลมกลืนเสยี ง
หมากมว่ ง เปน มะมว่ ง นําจอก เปน นกกระจอก
การเติมพยางค์
โดด เปน กระโดด
คําไทยแทท้ คี ล้ายกับ
คําจากต่างประเทศ
๒๒.. ใช้พยัญชนะเดิมคล้ายคําบาลีสันสกฤต
ได้แก่ ฆ ญ ฒ ณ ธ ภ ศ
ฆา่ เฆยี น ระฆงั ฆอ้ ง ตะเฆ่ ใหญ่ หญา้ เฒา่ ธ ณ เธอ ธง
สาํ เภา ภาย เศรา้ ศกึ ศอก ศอ และศก
ระฆัง ฆ้อง เฒ่า
ธง เศรา้ สาํ เภา
คําไทยแทท้ คี ล้ายกับ
คําจากต่างประเทศ
๓๓..
ใช้ รร ส่วนมากมาจากคําทีใช้
ระ เปนอักษรควบ
ประจุ เปน บรรจุ
กระโชก เปน กรรโชก
คําไทยแทท้ คี ล้ายกับ
คําจากต่างประเทศ
ใช้ รร ส่วนมากมาจากคําทีใช้
ระ เปนอักษรควบ
ประจุ เปน บรรจุ กระโชก เปน กรรโชก
ใช้ ฤ ฤๅ
ฤ ฤๅ แปลว่า หรอื , อะไร, ไม่
ฤๅสาย แปลวา่ ผเู้ ปนใหญ่ ไวใ้ ชก้ ับกษัตรยิ ์
คําไทยแทท้ คี ล้ายกับ
คําจากต่างประเทศ
คําทีใช้สระ ไอ ส่วนมากเปนคําไทยโดยดูทีคํานันจะมี
พยางค์เดียวและไม่มีเครอื งหมายทัณฑฆาต
ตัวอยา่ ง ไป ไหน ไกล ไว ไว้
คําไหนกันนะ
คําไทยแท้
สะใภ้ กญุ แจ ใหญ่
ตะวนั สรวล
ประทดั ฆา่
กรรโชก
คําไหนกันนะ
คําไทยแท้
เฉลย
สะใภ้ กญุ แจ ใหญ่
ตะวนั สรวล
ประทดั ฆา่
กรรโชก
บททีสาม
คําทมี าจาก
ภาษาต่างประเทศ
คําทมี าจากภาษาบาลี
๑๑.. ภาษาบาลีไม่นิยมคําควบกลา
มีการใช้สระ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
ตัวอยา่ งเชน่
โอวาท ปญญา กิตติ วตั ถุ
สญู สจั จะ
๒๒.. นิยมใช้พยัญชนะสะกดและตัว
ตามตัวเดียวกัน
ตัวอยา่ งเชน่
ธมั ม วณั ณ มคั ค สพั พ
คําทมี าจากภาษาบาลี
ตารางหลักตัวสะกดตัวตามภาษาบาลี
วรรค แถวที ๑ แถวที ๒ แถวที ๓ แถวที ๔ แถวที ๕ เศษวรรค
วรรคกะ ก ข ค ฆ ง
(ฐานคอ)
ยร
วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ ลว
(ฐานเพดาน)
วรรคฎะ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ สห
(ฐานปุมเหงอื ก) ฬ
วรรคตะ ต ถ ท ธ น ํ (อัง)
(ฐานฟน)
วรรคปะ ป ผ พ ภ ม
(ฐานรมิ ฝปาก)
คําทมี าจากภาษาบาลี
๓๓.. ใช้หลักตัวสะกดตัวตามทีแน่นอน
*เน้น* พยัญชนะทีเปนตัวสะกดได้ คือ พยัญชนะแถวที 1, 3, 5
พยญั ชนะแถวที 1 สะกด พยญั ชนะแถวที 1, 2 ในวรรคเดียวกันตาม
ตัวอยา่ งเชน่ สกั กะ ทกุ ข์ สจั จะ มจั ฉา อิตถี
พยญั ชนะแถวที 3 สะกด พยญั ชนะแถวที 3, 4 ในวรรคเดียวกันเปนตัวตาม
ตัวอยา่ งเชน่ พยคั ฆ์ พทุ ธ อัคคี อัชฌาสยั
พยญั ชนะแถวที 5 สะกด พยญั ชนะทกุ ตัวในวรรคเดียวกันตามได้
ตัวอยา่ งเชน่ สงั ข์ องค์ สงฆ์ คัมภีร์ อัมพร
พยญั ชนะเศษวรรค เปนตัวสะกดได้บางตัว
ตัวอยา่ งเชน่ อัยกา มลั ลิกา วริ ุฬห์ ชวิ หา
ตัวอยา่ งคําในชวี ติ ประจําวนั
ทมี าจากภาษาบาลี
นา ิกา กีฬา
ปฏิทนิ
โลหิต
เจดีย์ วชิ า
คําทมี าจากภาษาสนั สกฤต
๑๑.. ภาษาสันสกฤตนิยมคําควบกลา
ตัวอยา่ งเชน่
กรยิ า สวามี สถาน สถาวร ปทมะ เปรม
๒๒.. นิยมใช้ รร แทน ร ( ร เรผะ)
ตัวอยา่ งเชน่
ธรรม กรรม มรรค สวรรค์ สรรพ วรรณ
๓๓.. มีพยัญชนะเพิมจากภาษาบาลี
ตัวอยา่ งเชน่ ศ/ษ
ศาสนา ศษิ ย์ ศานติ พศิ วาส ศาลา ศรี ษะ
คําทมี าจากภาษาสนั สกฤต
๔๔.. มีการใช้สระเพิมจากภาษาบาลี
ไอ / เอา / ฤ / ฤๅ / ฦ / ฦๅ
ตัวอยา่ งเชน่
ไวยากรณ์ ไอยรา พฤษภาคม ทฤษฎี ฦๅชา
ฤทยั ฤทธิ เกาศยั กฤษณา นฤมล มฤตยู
๕๕.. นิยมใช้พยัญชนะ ฑ
ตัวอยา่ งเชน่
จฑุ า กรฑี า ครุฑ ไพฑรู ย์ วฑิ าร
๖๖.. มีหลักเกณฑ์ตัวสะกดตัวตามไม่แน่นอน
ต่างจากภาษาบาลี
ตัวอย่างคําในชวี ิตประจําวนั
ทีมาจากภาษาสนั สกฤต
จันทรา วทิ ยุ
อาทติ ย์ อาจารย์
อุทยาน บรรณารกั ษ์
หลักสงั เกตคําทมี าจาก
ภาษาบาลีและสนั สกฤต
##๑๑ เปนคําหลายพยางค์ไม่นิยมรูปวรรณยุกต์
ตัวอยา่ งเชน่
บิดา มารดา กรุณา คฤหบดี ติณชาติ
##๒๒ มีตัวสะกดแตกต่างจากภาษาไทย
และมักมตี ัวการนั ต์
ตัวอยา่ งเชน่
กษัตรยิ ์ ศาสตร์ การนั ต์ พราหมณ์ สงเคราะห์
##๓๓ มักใช้เปนคําราชาศัพทแ์ ละคําที
ใช้กับพระสงฆ์
ตัวอยา่ งเชน่
พระบรมราโชวาท พระราชเสาวนีย์ อาพาธ
มรณภาพ นมัสการ
คําทมี าจากภาษาเขมร
๑๑.. มีการเปลียนแปลงคําทียืมมาโดยการแผลง
คําสะกดไม่ตรงมาตรา (แม่กด แม่กน)
ตัวอยา่ งเชน่
กังวล บาํ บดั แผนก ผจัญ
๒๒.. ภาษาเขมรมักสะกดด้วยพยัญชนะ
จญรลส
ตัวอยา่ งเชน่
เผด็จ บาํ เพญ็ กําธร ตรสั
จําเรญิ ทลู
คําทมี าจากภาษาเขมร
๓๓.. นิยมใช้พยัญชนะควบกลา
ตัวอยา่ งเชน่
ไกร ขลัง ปรุง โขลน
๔๔.. นิยมใช้อักษรนํา
ตัวอยา่ งเชน่
สนุก สนาน เสด็จ ถนน เฉลียว
๕๕.. ส่วนมากมักใช้เปนคําราชาศัพท์
ตัวอยา่ งเชน่
สรง เสวย เขนย ถวาย ขนง โปรด ดําเนิน
คําทมี าจากภาษาเขมร
๖๖.. มักใช้
บัง บัน บาํ บรร
นําหน้าคําทีมีสองพยางค์
ตัวอยา่ งเชน่
บงั - บงั คับ บงั คม บงั เหียน บงั เกิด บงั อาจ
บนั - บนั ได บนั โดย บนั เดิน บนั ดาล บนั ลือ
บาํ - บาํ เพญ็ บาํ บดั บาํ เหน็จ บาํ บวง
บรร - บรรเจิด บรรสาน บรรทม
คําทมี าจากภาษาเขมร
๗๗.. นิยมใช้คําว่า
กํา คํา จํา ทาํ ดํา ตํา และ ชาํ
นําหน้าคําอืน
ตัวอยา่ งเชน่
กําเนิด จําเรญิ ดํารง คํานับ
กํานัล ชาํ นาญ ทาํ นบ ตํารวจ
๘๘.. เปนศัพท์พยางค์เดียวทีต้อง
แปลความหมาย
ตัวอยา่ งเชน่
แข - ดวงจันทร์ / บาย- ขา้ ว / ศก- ผม
ตัวอย่างคําในชวี ติ ประจําวนั
ทีมาจากภาษาเขมร
กระบอื กําแพง
ถนน ประมลู
สะอาด ระบาํ
คําทมี าจากภาษาจีน
๑๑.. นิยมใช้พยัญชนะต้นเปนอักษรกลาง
กจฎฏดตบปอ
ตัวอยา่ งเชน่
เก้าอี จับฉ่าย ตะหลิว เต๋า บะหมี แปะเจียะ
๒๒.. นิยมประสมสระ เอียะ อัวะ
ตัวอยา่ งเชน่
บว๊ ย ก๋ง เกียะ เจียะ ยวั ะ
๓๓.. คําภาษาจีนมีคําทีบอกเพศในตัว
ตัวอยา่ งเชน่
เฮีย (พชี าย) / ซอ้ (พสี ะใภ้) / เจ๊ (พสี าว)
คําทมี าจากภาษาจีน
๔๔.. นิยมนํามาเปนชืออาหารการกิน
ตัวอยา่ งเชน่
ก๋วยเตียว เต้าทงึ แปะซะ เฉาก๊วย
๕๕.. คําทีเกียวกับสิงของเครอื งใช้
ทีรบั มาจากชาวจีน
ตัวอยา่ งเชน่
โต๊ะ ตึก เก๋ง ฮวงซุย้
เขง่ เอียม
คําทมี าจากภาษาจีน
๕๕.. คําทีเกียวกับการค้า
และการจัดระบบทางการค้า
ตัวอยา่ งเชน่
เจ๋ง หุ้น ห้าง โสหุ้ย
เซง้ กงสี
๖๖.. นิยมใช้วรรณยุกต์
ตรี / จัตวา เปนส่วนมาก
ตัวอยา่ งเชน่
ก๊ยุ เก๊ เก๊ก ก๋ง ต๋นุ
ตัวอย่างคําในชีวิตประจําวนั
ทีมาจากภาษาจีน
เต้าหู้ เกาเหลา
พะโล้ เยน็ ตาโฟ
ฮ่องเต้
ลินจี
คําทมี าจากภาษาชวา
๑๑.. นิยมใช้ในการแต่งคําประพันธ์
ตัวอยา่ งเชน่
บุหรง บุหลัน ระตู ปาหนัน ตนุ าหงนั
๒๒.. คําทีใช้สือสารในชีวิตประจําวัน
ตัวอยา่ งเชน่
กัลปงหา กญุ แจ กระดังงา ซา่ หรมิ ประทดั
๓๓.. นําคําจากชวามาใช้
แต่ความหมายคงเดิม
ตัวอยา่ งเชน่
ทเุ รยี น น้อยหน่า บุหลัน
คําทมี าจากภาษาชวา
เพลงคํายืมทีมาจากภาษาชวา
มาซมิ ารอ้ งราํ ทาํ เพลง ให้ครนื เครงรอ้ งเพลงชวา
กระยาหงนั คือวมิ านเทวา สะตาหมนั อุทยานแนวไพร
อสญั แดหวาเทวดา ซา่ หรมิ นันหนาหวานเยน็ ชนื ใจ
ปนเหน่งเขม็ ขดั รดั เอวทรามวยั ประไหมสหุ รี มเหสรี าชา
บุหลันนันคือพระจันทรอ์ ําไพ บุหงาราํ ไปคือดอกไมน้ านา
พทุ ธรกั ษา บุษบามนิ ตรา ระเด่นโอรสา ยหิ วาดวงใจ
ตัวอย่างคําในชวี ิตประจําวัน
ทีมาจากภาษาชวา
ตันหยง กํายาน
(ดอกพกิ ลุ ) กรชิ
มงั คดุ
อุรงั อุตัง กะลาสี
คําทมี าจากภาษาเปอรเ์ ซยี
องนุ่ กหุ ลาบ
คาราวาน ลกู เกด
สนม
ยหี รา่
คําทมี าจากภาษาเปอรเ์ ซยี
ตาด ตรา
(ผา้ ไหมปกเงนิ หรอื ทองแล่ง) (เครอื งหมาย)
ตราชู บดั กรี
(เครอื งชงั ) (เชอื มโลหะ)
คําทมี าจากภาษาอังกฤษ
คอนเสริ ต์ แทก็ ซี
กะรตั โค้ช
เรดาร์ สวติ ช์
คําทมี าจากภาษาอังกฤษ
ฟตุ บอล ชอ็ คโกแลต
กีตาร์
แก๊ส
เกม คลินิก
เกม
ทา้ ย
บท
จงเติมตัวเลขใหส้ อดคล้องกับภาพ
คําไทย คําสนั สกฤต
คําบาลี คําเขมร
เศรา้ ทเุ รยี น ศาลา
ชา้ ง ลกู เกด บนั ได
คําชวา คําอังกฤษ
คําจีน คําเปอรเ์ ซยี
จงเติมตัวเลขใหส้ อดคล้องกับภาพ
คําไทย คําสนั สกฤต
คําบาลี คําเขมร
วชิ า กะรตั กรรโชก
ลินจี ตึก แก๊ส
คําจีน คําอังกฤษ
คําชวา คําเปอรเ์ ซยี