The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บท7 การปกครองส่วนท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by R R, 2020-05-26 21:48:22

บท7 การปกครองส่วนท้องถิ่น

บท7 การปกครองส่วนท้องถิ่น

การปกครอง
ส่วนท้องถิ่น

ครดู ุษิดา แก้วทอง แผนกสามัญพน้ื ฐานสัมพนั ธ์

การปกครองทอ้ งถิ่น

คอื การปกครองทรี่ ัฐบาลมอบอานาจใหป้ ระชาชน
ในทอ้ งถิ่นไดเ้ ขา้ มามีส่วนรว่ มในการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา
ทอ้ งถิน่ และพฒั นาทอ้ งถิ่นอยา่ งอิสระ โดยปราศจากการ
ควบคุมของหนว่ ยงานการบริหารราชการส่วนกลาง

แตท่ ้งั นีห้ น่วยงานทางปกครองท้องถน่ิ อย่างตอ้ งอยู่
ภายใต้บทบญั ญัตวิ ่าด้วยอานาจสงู สดุ ของประเทศ

หลักการสาคัญ
ของการปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

จัดขึ้นตามกฎหมายมขี อบเขตการปกครองทแี่ นน่ อน
มีอานาจอิสระในการบรหิ ารงาน งบประมาณและรายได้
เปน็ ของตนเอง
ประชาชนเลือกคณะผบู้ ริหารองค์กรในทอ้ งถิ่นนน้ั ได้
ท้ังหมดหรอื ตามทกี่ ฎหมายกาหนด

คณุ ค่าของการปกครองสว่ นท้องถ่นิ

1. ช่วยตอบปัญหาและความต้องการของชุมชน
2. เป็นโรงเรียนประชาธปิ ไตยในระดบั รากหญา้
3. สรา้ งการมีสว่ นรว่ ม
4. สร้างความชอบธรรม
5. ดารงหลักเสรีภาพ

ความสาคญั ของการปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

1. เปน็ รากฐานของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
2. ทาใหป้ ระชาชนรู้จักท้องถิ่นการปกครองตนเอง
3. เปน็ แหล่งสร้างผ้นู าทางการเมืองและการบริหารของ
ประเทศในอนาคต
4. เป็นการปกครองท้องทย่ี ดึ หลกั การกระจายอานาจ

ความสาคญั ของการปกครองสว่ นท้องถ่นิ
แบ่งออกเป็น 2 ดา้ น

คือ ด้านการเมืองการปกครองและด้านการบริหาร
ดา้ นการเมืองการปกครอง เปน็ การปูพน้ื ฐานการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยและเรยี นรู้การปกครองตนเอง
ด้านการบริหารเปน็ การแบ่งเบาภาระรฐั บาลและประชาชนใน
ท้องถน่ิ ไดห้ าทางสนองแก้ปัญหาด้วยตนเอง

วตั ถปุ ระสงค์ของการปกครองส่วนท้องถ่นิ

1. เพอื่ แบ่งเบาภาระของรัฐบาล
2. เพื่อสนองตอบตอ่ ความต้องการของประชาชนใน

ทอ้ งถิน่ อยา่ งแทจ้ ริง
3. เพ่อื ความประหยัด
4. หน่วยการปกครองทอ้ งถิ่นเปน็ สถาบันท่ใี ห้การศึกษา

การปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่ประชาชน

องค์ประกอบท่สี าคัญของการปกครองสว่ นท้องถิน่

มฐี านะเป็นนิติบคุ คล
มีความเป็นอิสระจากการควบคมุ ของรฐั บาลในส่วนกลาง
ประชาชนในแตล่ ะท้องถิน่ มีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง

ปจั จัยที่เออ้ื ตอ่ การปกครองทอ้ งถิ่น

การปกครองท้องถิ่นจะสาเร็จเพยี งใดข้นึ อยกู่ ับปัจจัยดงั น้ี
 การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมทางการเมอื งของประชาชนตามกระบวนการ
 ความอสิ ระในการบรหิ ารงานของหน่วยงานปกครองสว่ นทอ้ งถิน่
 พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครองและนโยบายในการสนบั สนนุ ของ
รัฐบาลในส่วนกลาง

รูปแบบการปกครองท้องถนิ่

1 . รู ป แ บ บ ทั่ ว ไ ป 2 . รู ป แ บ บ พิ เ ศ ษ
 อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น จั ง ห วั ด ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
 อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ตา บ ล เ มื อ ง พั ท ย า
 เทศบาล

1. รูปแบบทั่วไป
 องค์การบริหารส่วนจังหวัด
 องค์การบริหารส่วนตาบล
 เทศบาล

องค์การบริหารส่วนจงั หวัด

ฝ่ า ย นิ ติ บั ญ ญั ติ ฝ่ า ย บ ริ ห า ร

•สภา อบจ. •ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
•นายก อบจ.

•รองนายก อบจ.
•ปลดั อบจ.

เป็นการบรหิ ารราชการส่วนทอ้ งถ่ินมขี นาดใหญท่ ่ีสุด
ของประเทศ มีจงั หวัดละ 1 แหง่

อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ตา บ ล

ฝ่ า ย นิ ติ บั ญ ญั ติ ฝ่ า ย บ ริ ห า ร

สภา อบต. •นายอาเภอ
•นายก อบต.
•รองนายก อบต.
•ปลดั อบต.

เป็นการบริหารราชการสว่ นท้องถ่ินทีเ่ ลก็ ที่สดุ มรี ายได้เปน็ เพียง
งบประมาณตามท่กี ฎหมายกาหนดและขอจดั ตง้ั ข้นึ

เทศบาล

คือ รูปแบบของการปกครองส่วนท้องถนิ่ ท่พี ัฒนาจัดตง้ั ข้นึ
ตาม พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2476 ยกระดบั ฐานะตาบลตา่ งๆ ทว่ั ประเทศขึ้น

เปน็ เทศบาลไม่ได้มีการแกไ้ ขปรับปรงุ พ.ร.บ.เทศบาลเรื่อยมา

เ ท ศ บ า ล มี 3 ป ร ะ เ ภ ท คื อ

1 เทศบาลตาบล ท้องถิ่นหรือองคก์ รสุขากบิ าลท่ีขอยกขน้ึ เป็นเทศบาล
2. เทศบาลเมอื ง โดยพิจารณาความเจริญของท้องถิ่นและรายไดข้ องประชากร
3. เทศบาลนคร
ท้องถ่นิ ซึง่ เป็นทต่ี ง้ั ของศาลากลางจงั หวดั ประชากร 10,000 คน
ขึ้นไป มีความหนาแนน่ ของพลเมืองไมต่ า่ กวา่ 3,000 คน

ทอ้ งถ่ินที่มปี ระชากรตั้งแต่ 50,000 คนขึ้นไป
มีความหนาแนน่ ของพลเมืองไมต่ ่ากวา่ 3,000 คน

โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร เ ท ศ บ า ล

ฝ่ายนิตบิ ัญญัติ ฝ่ายบริหาร

สานักงาน นายกเทศมนตรี
ปลัดเทศบาล

โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร เ ท ศ บ า ล

1. ฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วย

สภาเทศบาล มหี น้าทหี่ ลกั ในการร่างเทศบัญญัติงบประมาณประจาปี
ของเทศบาล และควบคุมการบรหิ ารกจิ การของเทศบาล

คณะเทศม นตรี ประกอบด้วย
สมาชกิ ท่มี าจากการเลอื กตง้ั โดยตรงของประชาชน
มวี าระอยู่ในตาแหนง่ คราวละ 4 ปี

จา น ว น ส ม า ชิ ก ส ภ า เ ท ศ บ า ล

1. เทศบาลตาบล สมาชกิ จานวน 12 คน
2. เทศบาลเมอื ง สมาชิกจานวน 18 คน
3. เทศบาลนคร สมาชิกจานวน 24 คน

2. ฝา่ ยบริหาร ประกอบด้วย

นายกเทศมนตรี ทาหน้าที่ เปน็ ฝา่ ยบรหิ ารของเทศบาล
นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีมาจากการเลือกตงั้ โดยตรงจากประชาชน
มวี าระการดารงตาแหนง่ 4 ปี นับแต่วนั เลือกตั้ง
เทศบาลตาบล มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน
เทศบาลเมอื ง มนี ายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน

กรณที เ่ี ทศบาลเมอื งแหง่ ใดมรี ายได้จดั เกบ็ ตัง้ แต่ 20 ลา้ นบาทขึ้นไป
ให้มีเทศมนตรเี พ่มิ ได้อกี 1 คน
เทศบาลนคร มนี ายกเทศมนตรี 1 คนและเทศมนตรีอกี 4 คน

นายกเทศมนตรี มาจากการเลอื กต้งั โดยตรงของประชาชน
มวี าระ 4 ปี และดารงตาแหน่งติดตอ่ กนั ไมเ่ กนิ 2 วาระ

//

ผ้วู ่าราชการจงั หวดั
เป็นผู้แตง่ ตั้งนายกเทศมนตรีและเทศมนตรี

•เทศบาลตาบล มรี องนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 2 คน
•เทศบาลเมอื ง มีรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกนิ 3 คน
•เทศบาลนคร มรี องนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกนิ 4 คน

3 . สา นั ก ง า น ป ลั ด เ ท ศ บ า ล
4 . น า ย ก เ ท ศ ม น ต รี

2. รูปแบบพิเศษ
ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
เ มื อ ง พั ท ย า

การปกครองท้องถน่ิ รูปแบบพิเศษ

มีฐานะเป็นทบวงการเมือง และ เปน็ นิติบคุ คล มี 2 แหง่ คือ

1. กรงุ เทพมหานคร

เปน็ เมอื งหลวงของประเทศไทย และเปน็ องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่นิ รปู แบบพิเศษ ที่มีฐานะเปน็ นิตบิ ุคคลดาเนินงานตาม

พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528
มหี นา้ ท่ีจัดบรกิ ารสาธารณะให้แกป่ ระชาชนในเขตพ้นื ท่ี
กรุงเทพมหานคร แบ่งพ้นื ทกี่ ารปกครองออกเปน็ 50 เขต
มสี านกั งานศูนยก์ ลางการบรหิ ารอยู่ทศี่ าลาวา่ การกรุงเทพฯ

โครงสร้างการบรหิ ารกรงุ เทพมหานคร

1. ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่

สภากรงุ เทพมหานคร ประกอบด้วย สมาชกิ สภากรงุ เทพมหานคร
ซ่ึงมาจากการเลอื กต้ังของราษฎร
 เกณฑ์การเลือกตง้ั ส.ก. 1 คนตอ่ ราษฎร 1 แสนคน แต่บางทอี าจมไี ด้
จานวน 2 คน ตามอัตราสว่ นของประชาชนในเขตน้นั
 ส.ก. ซ่งึ ไดร้ บั การเลือกตง้ั มาท้งั หมด ทาการเลอื กตงั้ ประธานสภา กทม.
จานวน 1 คน และรองประธานสภาอกี 2 คน มวี าระการดารงตาแหนง่ 2 ปี
 ประธานสภา มีอานาจหนา้ ท่ี ดาเนินกจิ การของสภาให้เป็นไปตาม
ข้อบงั คับของสภา
 รองประธานสภา จะทาหนา้ ท่แี ทนประธานสภา ในกรณีทปี่ ระธานสภา
ไม่อยู่หรอื ไมอ่ าจปฏิบัติหนา้ ท่ีได้

อานาจหนา้ ทขี่ องสภากรุงเทพมหานคร

1. ตราข้อบญั ญตั ิกรงุ เทพมหานคร
2. พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบงบประมาณรายจา่ ย
ทผ่ี ูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร เสนอต่อสภากรงุ เทพมหานคร
3. มีอานาจหน้าทใี่ นการควบคุมฝา่ ยบรหิ ารดว้ ยวธิ ีการต่างๆ
4. ให้ความเหน็ ชอบหรืออนมุ ัติดาเนินการของกรงุ เทพมหานคร

โครงสร้างการบรหิ ารกรุงเทพมหานคร(ต่อ)

2. ฝ่ายบริหารได้แก่

ผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร เป็นผู้บริหารสูงสดุ ของกรงุ เทพมหานคร
มาจากการเลือกตงั้ โดยตรงของประชาชนท่ีมสี ิทธิเลือกตงั้ ในกรุงเทพฯ
มวี าระอยูใ่ นตาแหน่งคราวละ 4 ปี
 มีอานาจหน้าที่ ในการกาหนดนโยบาย และบริหารราชการของ
กรงุ เทพมหานครให้เป็นไปตามกฎหมาย

3. ปลดั กรงุ เทพมหานคร

4. สานกั งานเขตและสภาเขต

2. เมืองพัทยา

มสี ถานะเป็นนิตบิ ุคคลมีรูปแบบการปกครองท้องถน่ิ ในระบบที่
เรียกว่า นกั บรหิ ารมืออาชพี หรอื ระบบทอ้ งถิ่นรูปผจู้ ัดการเทศบาล

มีเป้าหมาย 3 ประการ
1. นาระบบผจู้ ดั การเทศบาลหรือนกั บรหิ ารมอื อาชพี มาใช้
เนอื่ งจากมีความเปน็ ประชาธิปไตย และมีประสิทธภิ าพ
ในการบริหารงาน
2. เพื่อใหท้ อ้ งถิ่นมอี านาจกว้างยง่ิ ขน้ึ
3. เพือ่ ให้ทอ้ งถ่ินมรี ายได้มากข้ึน

โครงสรา้ งของเมืองพัทยา
แบ่งออก 2 ฝา่ ย ประกอบด้วย

1. ฝ่ายนิตบิ ัญญตั ิ ได้แก่ สภาเมืองพทั ยา มสี มาชิกสภาเมืองพทั ยา จานวน 24 คน

มาจากการเลือกตงั้ ของประชาชน มวี าระการดารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี
สมาชิกสภาเมอื งพัทยาเลือก เพ่ือสรรหาประธานสภา 1 คน และรองประธานสภา
อกี 2 คน แลว้ เสนอชอ่ื ใหผ้ วู้ า่ ราชการจังหวดั แตง่ ตงั้ ตอ่ ไป

2. ฝา่ ยบรหิ าร ไดแ้ ก่ นายกเมืองพทั ยา มาจากการเลอื กตัง้ ของประชาชน

มีวาระดารงตาแหนง่ คราวละ 4 ปี ดารงตาแหนง่ ติดตอ่ กนั ไมเ่ กินสองวาระ
 นายกเมืองพัทยา สามารถแต่งตงั้ บุคคลภายนอก ซ่ึง ไมใ่ ช่ สมาชิกเมอื งพทั ยาเป็น
รองนายกเมืองพทั ยา จานวน 2 - 4 คน
แต่งต้งั เลขานกุ ารและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร เท่ากับ จานวนรองนายกเมอื งพัทยา
แต่งต้ังท่ีปรกึ ษารวมแล้วไมเ่ กิน 5 คน

จบ
การนาเสนอ


Click to View FlipBook Version