ถอดบทเรียนองคความรูเ กษตรกรผูเลี้ยงกงุ ทะเล
โครงการเพิ่มขีดความสามารถดา นการผลิตและการตลาดกงุ ทะเล
เพือ่ การบริโภคในประเทศ ป 2561
หมายเลขทะเบียนฟารม
2101003402
นายศภุ โชค ชว ยพเิ คราะห
ผเู ลี้ยงกุง จังหวัดระยอง
กองวิจยั และพฒั นาการเพาะเลี้ยงสัตวน้าํ ชายฝง กรมประมง
2
นายศภุ โชค ชว ยพเิ คราะห
เรมิ่ ประกอบอาชพี การเลยี้ งกงุ ตง้ั แตป พ.ศ. 2549 ซง่ึ เปน ระยะเวลาประมาณ
15 ปท่ีผานมา โดยในชวงแรกฟารมจัดการเลี้ยงกุงโดยใชระบบนํ้าหมุนเวียน
ชีวภาพ ตอมาไดเลกิ ใชไ ป จนในชว งป พ.ศ. 2561–2562 พบปญหาโรคตายดวน
(EMS) ทร่ี ะบาดรนุ แรง และโรคขข้ี าว เลยสนั นษิ ฐานวา ปญ หาการเกดิ โรคในระบบ
การเลี้ยงอาจเน่ืองมาจากการไมมีจุลินทรียท่ีจะมาจัดการกับของเสียและ
เช้ือแบคทีเรียกอโรคตายดวน จึงอาจเปนปจจัยสําคัญท่ีสงผลใหกุงออนแอ
ปวยงาย ติดเชื้องายและตายในที่สุด จึงมีแนวคิดการแกปญหาโดยการนําระบบ
นํ้าหมุนเวียนชีวภาพกลับมาใชในการเล้ียงกุงอีกคร้ัง และใชระบบน้ีตอเนื่อง
มาจนถงึ ปจ จบุ นั โดยเปน ระบบทเ่ี นน การใชจ ลุ นิ ทรยี ห ลายชนดิ พรอ มกนั รว มกบั
การเล้ียงระบบปด ทําใหมีขอดี คือ สามารถควบคุมคุณภาพน้ําและการจัดการ
การเลยี้ งในแตล ะวนั ไดดี กุง จงึ มีสขุ ภาพแข็งแรง ไมป วยงา ย ไมมีการตายผดิ ปกติ
ในบอ และเจริญเตบิ โตไดด จี นจับจําหนายได
นอกจากน้ี การใชร ะบบนา้ํ หมนุ เวยี นชวี ภาพ รวมทง้ั การลดขนาดบอ เลย้ี งกงุ
ใหเลก็ ลง และลดความหนาแนน ในการปลอยกงุ ทาํ ใหฟ ารม สามารถแกไขปญ หา
การใชนํ้าจากแหลงน้ําท่ีมีการเปล่ียนแปลงและเสื่อมโทรมลงจากในชวงเริ่ม
3
ชือ่ ฟารม ชว ยพิเคราะหฟารม
ชื่อ–สกลุ นายศภุ โชค ชวยพเิ คราะห
ทตี่ ้งั ฟารม หมู 8 ตาํ บลเนนิ ฆอ อาํ เภอแกลง จังหวัดระยอง
โทรศพั ท 081-8368625
หมายเลขทะเบยี นฟารม 2101003402
กําลงั การผลิตกงุ 2–3 ตนั ตอไร
จุดเดนของฟารม 1. ลดพ้ืนท่กี ารเลยี้ งใหเลก็ ลง และลดความหนาแนน
ในการปลอยกงุ
2. ระบบการเลีย้ งกงุ เปน ระบบนา้ํ หมนุ เวยี นชีวภาพ
ปท เ่ี ร่ิมดาํ เนินการ พ.ศ. 2549
ประกอบกิจการได การปรบั ตวั ในแนวทางนี้ ทําใหฟ ารม
สามารถบรหิ ารจดั การระบบการเลยี้ งไดด กี วา และรวดเรว็
ยิ่งขึ้น ลดปญหาของเสียสะสมในบอ ลดความเครียด
ที่เกิดข้ึนกับกุงระหวางการเลี้ยง สงผลใหกุงมีสุขภาพดี
แข็งแรง ปองกันการเกิดโรคตาง ๆ รวมท้ังการปลอย
กุง บาง ทําใหต น ทุนในการบรหิ ารจัดการตาง ๆ จะลดลง
ตามไปดว ย
กรมประมงซ่งึ เปนเจาของโครงการฯ จงึ ขออนุญาตสมั ภาษณ เพ่อื ทาํ การ
ถอดบทเรียนองคความรูเทคนิคการเลี้ยงกุงใหประสบผลสําเร็จของคุณศุภโชค
เพอ่ื เปน แนวทางและเปน ตวั อยา งใหแ กเ กษตรกรรายอนื่ ไดน าํ ไปปรบั ใชใ หเ หมาะสม
และเกิดประโยชนกับฟารมของตนเอง จนสามารถประสบความสําเร็จในการ
ประกอบอาชพี เลยี้ งกุงไดอยางย่ังยืนตอ ไป
4
ทตี่ ง้ั ฟารม ในปจ จบุ นั ตง้ั อยหู มู 8 ตาํ บลเนนิ ฆอ อาํ เภอแกลง จงั หวดั ระยอง
เลขทะเบยี นฟารม 2101003402 พ้นื ท่ีฟารม ขนาด 30 ไร
ฟารมมีสัดสวนของ พ้ืนที่เลี้ยง:บอเก็บนํ้า:บอเก็บเลน เทียบเปนสัดสวน
เทา กบั 10:10:1
ฟารม มกี ารตกั เลนออกทกุ ป ปล ะ 1 ครงั้ โดยเลนทตี่ กั ออกจะนาํ ไปถมพนื้ ที่
ภายในฟารม
ฟารมมกี ารแบง พื้นท่ใี ชส อย ประกอบดว ย
บอ เล้ียงกงุ
ขนาด 3 ไร จํานวน 1 บอ และขนาด 5 ไร จาํ นวน 2 บอ
(บอขนาด 5 ไร จํานวน 1 บอใชเ ปนบอชง)
บอ เก็บน้าํ
ขนาด 6 ไร จํานวน 2 บอ (บอ บาํ บดั และบอ ตกตะกอน)
บอ เกบ็ เลน
ขนาด 3 ไร จาํ นวน 1 บอ และขนาด 0.5 ไร จํานวน 2 บอ
บออื่น ๆ
บอพกั น้าํ จากคลองธรรมชาติ ขนาด 6 ไร จาํ นวน 1 บอ
5
ลกั ษณะบอ เลี้ยงกุง
1 และความปลอดภยั ทางชวี ภาพ
ลักษณะบอเล้ียงเปนบอ ดิน มกี ารปูพลาสตกิ พีอี ความหนา 0.3
มลิ ลเิ มตร ทคี่ นั บอ และยกสงู จากพน้ื บอ ขึน้ มา 1 เมตร เพอ่ื ปอ งกนั ดนิ เลน
และของเสยี เขา ไปตดิ สะสมใตพ ลาสตกิ พอี ี วตั ถปุ ระสงคใ นการปพู ลาสตกิ
พอี ขี องฟารม เพอ่ื ใชใ นการปอ งกันการพังทลายของคันบอ เทานัน้
ฟารมมีระบบความปลอดภัยทางชีวภาพเบ้ืองตน โดยมีการติดต้ังตาขาย
กันนก ร้ัวกันปู บุคคลภายนอกหากจะเขามาภายในบริเวณฟารมตองผาน
การฆา เชื้อดวยดา งทับทิม
แผนผังชวยพเิ คราะหฟ ารม
โรงสบู นํ้า บอ เก็บน้ํา 6 ไร บอเกบ็ เลน N
โกดงั อาหาร 3 ไร
(บอ ตกตะกอน) 1ภาพที่
บอ เลย้ี ง
บอเลย้ี ง 3 ไร
5 ไร
บอ เกบ็ นา้ํ
(บอเลยี้ ง) 6 ไร
คลองธรรมชาติ
บอเ ็กบเลน 0.5 ไ รบอ เลย้ี ง (บอ บาํ บดั )
5 ไร
บอเ ็กบเลน 0.5 ไ ร
บา นพัก (บอชงน้าํ )
6 การจดั การระบบ
2 การเลย้ี งกงุ
บอ ทใ่ี ชเ ลยี้ งกงุ มที งั้ หมด 3 บอ ขนาด 3 ไร จาํ นวน 1 บอ และขนาด
5 ไร จาํ นวน 2 บอ บอมีความลึก 2 เมตร และมกี ารทาํ หลุมดักเลน
บริเวณกลางบอ เสน ผานศนู ยกลาง 8 เมตร การเติมนํา้ เพ่ือใชเล้ยี งกงุ
จะเติมที่ระดับความสูง 1.0–1.2 เมตร
2.1 การเตรียมบอ
การเตรียมบอเลีย้ งกุง
1) ทําความสะอาดพ้นื บอเลย้ี งโดยฉดี ลา งเลนหลงั การเล้ียงทุกครัง้
2) ทําการฉีดไลตะกอนเลนที่ตกคางบริเวณพื้นบอลงสูหลุมดูดเลน แลวดูดออก
ไปรวบรวมไวทบ่ี อเกบ็ เลน
3) ตากบอทง้ิ ไว 15 วัน
4) ใชป นู รอ น (MgO) ปรมิ าณ 200–300 กโิ ลกรมั ตอ ไร หวา นทวั่ ทงั้ พนื้ บอ เพอ่ื ชว ย
เพ่มิ คา pH และฆา เชอ้ื ในบอ
5) เม่ือหวานปูนเสร็จแลวจะสูบน้ําเขาบอเล็กนอยพอทวมพื้นบอ และแชนํ้าไว
ประมาณ 3–5 วัน แลว จงึ สบู น้ําเขาใหไ ดร ะดับความสงู 1.0–1.2 เมตร
การเตรยี มบอ พกั น้ํา
ฟารมทาํ การตรวจสอบพน้ื บอ หากพบวา มีความสกปรก จะทาํ การสูบนา้ํ
ใหแ หง และฉดี ลางเลน โดยจะดําเนินการประมาณปละ 1 ครง้ั หรือมากกวา 1 ป
ขนึ้ อยกู ับความสกปรกของพื้นบอ
7
2.2 การเตรยี มนาํ้ การเปลย่ี นถา ยนํ้า และการทําสนี าํ้
ระบบการเล้ียงของฟารมเปนแบบระบบปด นํ้าท่ีสูบเขามาจากคลอง
ธรรมชาติจะถกู เกบ็ ไวทบ่ี อ เกบ็ น้ํา ขนาด 6 ไร เพอ่ื เตรียมไวสาํ หรบั การเลี้ยงกงุ
โดยจะเลือกชวงเวลาการสูบนํ้าเขาบอเก็บน้ําในชวงนํ้าข้ึนสูงสุด และประเมิน
ดูสีนํ้าใหมีความใส ไมมีสี ไมมีตะกอนท่ีมาจากบอเล้ียงกุงนอกฟารม เพ่ือเปน
การลดความเสี่ยงในการนําเชื้อกอโรคเขามาในบอเก็บน้ํา หากน้ํามีตะกอนมาก
มีสเี ขยี วหรอื สแี ดงปน อาจประเมินไดวา เปน นํา้ ท่ีมาจากบอเลี้ยงกงุ ของฟารม อืน่
ฟารม จะไมส บู เขา มาภายในบอ เกบ็ นาํ้ นา้ํ ทนี่ าํ มาใชภ ายในฟารม แลว จะถกู บาํ บดั
และหมนุ เวยี นนาํ กลบั มาใชภ ายในฟารม ซง่ึ จะสบู นา้ํ จากภายนอกเขา มาใชภ ายใน
ฟารม เฉพาะในชวงท่ีไมมกี ารเลี้ยงกุง และเพือ่ ทดแทนน้ําในสวนท่ลี ดลงเทานั้น
2.2.1 การเตรียมนํ้า ฟารม มขี ั้นตอนการเตรยี มนํา้ ดงั น้ี
1) จากคลองธรรมชาติเขาสภู ายในฟารม
- สบู นา้ํ จากคลองธรรมชาตเิ ขา สบู อ เกบ็ นา้ํ ขนาด 6 ไร พกั นา้ํ ไวอ ยา งนอ ย
1 เดอื น เพอื่ ใหป รมิ าณเชอื้ กอ โรคลดจาํ นวนลง หรอื ใหเ ชอ้ื หมดไปเองตามธรรมชาติ
- กอนนํานํ้าเขาสูระบบการเลี้ยงจะสงตรวจหาเช้ือท่ีหองปฏิบัติการของ
ศนู ยวจิ ัยและพฒั นาการเพาะเล้ยี งสัตวนาํ้ ชายฝง ระยอง (ศพช.ระยอง)
- หากตรวจพบเชอ้ื จะทาํ การฆา เชอ้ื ดว ยคลอรนี ความเขม ขน 30 ppm กอ น
และสง ตรวจเชอ้ื อกี ครงั้ เมอื่ ไมพ บเชอ้ื กอ โรคแลว จงึ นาํ นาํ้ เขา สรู ะบบการเลย้ี งได
โดยจะสูบเขาไปทบี่ อ ตกตะกอนกอ น
2) จากบอ เกบ็ น้าํ ภายในฟารม เขาสูระบบการเล้ียง
กอนการนําน้ําจากบอพักนํ้าไปใชเล้ียงกุง นํ้าตองผานกระบวนการบําบัด
กอ นนาํ ไปใช โดยจะตอ งผา นบอ ตกตะกอน บอ ฆา เชอ้ื และบอ ชงนาํ้ (บอ เตรยี มนาํ้ )
8
โดยซากพาหะทตี่ ายจากขนั้ ตอนการเตรยี มนาํ้ จะถกู กาํ จดั โดยปลาทป่ี ลอ ย
ไวในแตล ะบอดังนี้
- ปลากะพงขาว เลีย้ งไวในบอชงเพ่ือใหก นิ ลกู ปลาทห่ี ลุดลอดปนเขา มา
- ปลาหมอเทศ เล้ียงไวในบอฆาเช้ือและบอตกตะกอนเพื่อชวยในการ
ทาํ ความสะอาดบอ
ระบบการเลีย้ งมกี ารหมุนเวยี นน้ําตามลาํ ดับดงั น้ี
2.1) บอตกตะกอน
เปน บอ ท่ีรับนํา้ มาจากบอเลยี้ ง เพ่ือใหสารอนิ ทรียในน้าํ เกดิ การตกตะกอน
เมอื่ นํ้ามคี วามใสมากพอจะถกู สงตอ ไปยังบอฆาเชื้อ
2.2) บอฆา เชอื้
นา้ํ จากบอ นี้ จะมกี ารสง ตรวจหาเชอ้ื อยา งสมาํ่ เสมอ หากตรวจพบเชอื้ กอ โรค
จะทาํ การฆาเชื้อดวยคลอรีนความเขม ขน 30 ppm แตห ากตรวจพบเชอื้ ปรมิ าณ
ไมม าก จะมกี ารใชจ ลุ นิ ทรยี ปม.1 ชว ยในการกาํ จดั เชอ้ื กอ นจะสง ตอ ไปยงั บอ ชงนา้ํ
2.3) บอ ชงน้าํ
นํ้าในบอน้ี รับตอมาจากบอฆาเช้ือ เปนบอท่ีพรอมใชสําหรับการเลี้ยงกุง
โดยจะสบู นํา้ เขา มาในบอนที้ ีร่ ะดบั ความสูงประมาณ 1.0–1.2 เมตร และจะสง น้าํ
ตรวจหาเชอื้ กอ โรคกอนการปลอ ยกุง
- กรณีตรวจพบเช้ือ EMS/AHPND จะทําการฆาเช้ือดวยคลอรีนและ
สูบน้ําท้ิงออกจากระบบทันที เพ่ือลดความเส่ียงสูงท่ีจะทําใหเกิดโรค
ในระบบการเลี้ยง แตหากตรวจพบเชื้อชนิดอ่ืน จะทําการฆาเชื้อดวย
คลอรนี และสามารถใชในระบบการเลย้ี งตอ ไป
- กรณีตรวจไมพบเชื้อใด ๆ ฟารมจะใชจลุ นิ ทรยี ปม.1 ในการเตรยี มน้ํา
กอนการลงเลี้ยงกงุ
9
2.2.2 การเปลยี่ นถา ยน้าํ
ฟารม เรมิ่ มกี ารเปลยี่ นถา ยนาํ้ หลงั จากการเลยี้ งได 1 เดอื น ชว งกงุ ขนาดเลก็
จะเปลยี่ นถา ยนาํ้ สปั ดาหล ะ 2–3 ครง้ั ครง้ั ละประมาณรอ ยละ 20 ของนา้ํ ทใี่ ชเ ลย้ี ง
และปรบั ความถขี่ องการเวยี นนาํ้ เพม่ิ ขนึ้ ตามการเจรญิ เตบิ โตของกงุ สาํ หรบั สดั สว น
การเวียนนํ้าในชวงกุงโตจะประเมินจากคาคุณภาพนํ้า โดยเฉพาะสารประกอบ
ไนโตรเจนของระบบน้ําหมุนเวียนชีวภาพ โดยน้ําที่ถูกเปลี่ยนถายออกมาจาก
บอเล้ียงจะถูกสงตอไปยังบอตกตะกอน บอฆาเช้ือ และบอชงน้ํา ตามลําดับ
กอนสงกลับเขามายังบอเลี้ยง เพื่อเปนการลดการท้ิงนํ้าและผลกระทบตอ
แหลงนํ้าภายนอกฟารม นอกจากนี้ การหมุนเวียนนํ้ากลับมาใชใหมน้ียังเปน
การลดความเส่ียงในการนําเชื้อโรคและพาหะตาง ๆ ของโรคจากการสูบนํ้า
จากแหลงน้ําที่เส่ือมโทรมเขา มาในบอเลยี้ งกุงอีกดวย
2.2.3 การทําสนี ํา้
ฟารมมีการใชสีนํ้าเทียมในชว งกงุ อายไุ มเกนิ 1 เดอื น โดยการลงสีน้าํ เทยี ม
เพียง 2 คร้ัง ซ่ึงครั้งที่ 1 จะลงสีนํ้าเทียมกอนมีการลงกุง ทําการตรวจสอบ
ความโปรงใสของน้ํา หากมีคาความโปรง ใสมากขนึ้ จะลงสีนํา้ เทียมซ้าํ อีก 1 ครั้ง
ในชว งวนั ที่ 15–20 ของการเลีย้ ง วตั ถุประสงคของการใสส ีนํ้าเทียมเพือ่ ควบคุม
ปริมาณแพลงกตอนไมใหเพิ่มจํานวนในปริมาณที่มากเกินไปในบอเลี้ยง ในชวง
เดือนแรก ยังไมมกี ารเปล่ียนถายนา้ํ เนอ่ื งจากการเปลีย่ นถา ยนาํ้ ในชวงเดอื นแรก
นั้นเปนอันตรายตอตัวกุง จึงตองควบคุมสีน้ําเพ่ือควบคุมปริมาณแพลงกตอน
ใหอ ยูในระดับทีเ่ หมาะสม
การทาํ สนี า้ํ หลงั จากกงุ อายุ 1 เดอื น ทาํ ไดโ ดยใชน า้ํ หมกั สบั ปะรด 200 ลติ ร
ตอ บอ สนี าํ้ ทไี่ ดจ ะออกสนี า้ํ ตาล ไมม กี ารใชส นี า้ํ วทิ ยาศาสตร ปรมิ าณแพลงกต อน
ในบอใชก ารสังเกตความโปรงใสของน้าํ และจากการวัดความโปรงใส
10
2.3 การคัดเลอื กลกู พันธกุ งุ
การคดั เลือกลกู พันธุกุง มีวธิ กี าร ดงั นี้
1) ซ้ือลูกพันธุจากแหลงที่ซื้อขายเปนประจํา โดยขนาดกุงตองมีขนาด
สม่ําเสมอและสัมพันธกับชวงระยะของกุง โดยจะเนนย้ํากับผูขายใหมีการนําสง
ลูกพันธุท่ีดี แตหากตรวจสอบแลวพบวาคุณภาพลูกพันธุไมตรงตามที่ตกลงกันไว
จะคนื ลกู พนั ธกุ ลบั ทนั ที กรณซี อ้ื ลกู พนั ธจุ ากแหลง ใหม จะตดิ ตอ รบั ตวั อยา งลกู กงุ
ไปสงตรวจหาเชอ้ื ท่ี ศพช.ระยอง ดว ยตนเอง
2) มีการทดสอบลูกพันธุกุง โดยการนําลูกพันธุประมาณ 100 ตัว
ใสลงนํ้าจืดที่ไดเตรียมไว แชท้ิงไวประมาณ 20–30 นาที หากพบวามีกุงตาย
มากกวา 5 ตัว แสดงถงึ ความไมแขง็ แรงของลูกกงุ และจะคืนลกู กุงชดุ นน้ั ทนั ที
2.4 การปลอ ยลกู กุงลงเลย้ี ง
ฟารมนําลูกกุงจากโรงอนุบาลท่ีทําการซื้อขาย ระยะ PL12 ขึ้นไป
ปลอยลงสูบอโดยไมมีการชําลูกกุง และมีการปรับสภาพนํ้าบอเลี้ยงใหมีคา
ใกลเคียงกับนํ้าจากโรงอนุบาลกอนปลอยลงบอเลี้ยง รวมท้ังมีการควบคุมโรค
โดยการสง ตวั อยา งลกู กงุ ตรวจหาเชอื้ ทห่ี อ งปฏบิ ตั กิ ารของ ศพช.ระยอง สปั ดาหล ะ
1 ครัง้ ตั้งแตเรมิ่ เลี้ยง
3 การใหอ าหาร 11
การเลย้ี งกงุ ใชอ าหารสดในชว งแรก และตอ มาผสมกบั อาหารสาํ เร็จรปู
แลว คอ ย ๆ ลดอัตราสว นลงจนเหลอื ใชอาหารสาํ เร็จรูปเพียงอยางเดยี ว
โดยมีการปรับเปล่ียนตามอายกุ งุ ดังน้ี
3.1 การใหอ าหารกุง
อายุกงุ ประเภทอาหาร ปรมิ าณอาหารท่ีใช จํานวนครั้งตอวัน
(ตอ กุง 100,000 ตัว)
1–10 วนั ปลาตมแบบไมบด 1 กิโลกรมั หวานมอื 2 มื้อ
11–15 วัน (เวลา 07.00 และ 17.00 น.)
15 วนั ปลาตม + อาหาร 1 กโิ ลกรัม หวา นมือ 2 มื้อ
ขึ้นไป สําเร็จรปู (เวลา 07.00 และ 17.00 น.)
1 เดือน อาหารสาํ เรจ็ รปู 1 กโิ ลกรัม หวานมอื 3 มื้อ
ขึ้นไป เบอร 2 (เวลา 07.00, 12.00 และ 17.00 น.)
อาหารสาํ เรจ็ รปู 1 กโิ ลกรัม หวา นมอื 3 มื้อ
เบอร 3 (เวลา 07.00, 12.00 และ 17.00 น.)
• ใชเครือ่ งหวา นอาหารอัตโนมตั ิในการหวานอาหาร ปริมาณอาหารทีใ่ ห
ตรวจสอบจากปริมาณอาหารในยอ
• ใชอาหารเบอร 3
• ถามีอาหารเหลือ ในวนั ถัดไปจะลดปริมาณอาหารลง
• ถา ไมม อี าหารเหลือ จะเพิ่มปริมาณอาหารในวันถดั ไป
• ในแตล ะวันจะมีการปรับปริมาณอาหารตามอายุของกงุ
* เคร่อื งหวานอาหารอัตโนมตั ิ (Automatic Feeder) ตดิ ต้ังบอละ 1 เครอื่ ง บริเวณก่งึ กลางรศั มีของบอ ฝง ทน่ี ํ้าลึก
12
3.2 การใหอ าหารตามปริมาณอาหารทก่ี ุง กิน
โดยจะทําการตรวจสอบปริมาณความตองการกินอาหารของกุงจากยอ
อยางสมํา่ เสมอ ดงั น้ี
3.2.1 การใหอ าหารแบบหวานมอื
มีการปรับปริมาณอาหารแบบม้ือตอม้ือ โดยใสอาหารในยอ 1 กรัมตอ
ปริมาณอาหารท่ใี ห 1 กโิ ลกรัม แลว ตรวจสอบจากยอ 3 ชวง ดงั น้ี
- หากมีอาหารเหลือในยอ จะปรับปริมาณอาหารลดลง และกลับมา
ตรวจสอบทุก 2 ชั่วโมง
- หากอาหารในยอหมด จะเพิ่มปริมาณอาหาร 1 กิโลกรัมตอกุง
100,000 ตวั และกลบั มาตรวจสอบยอทกุ 1 ชวั่ โมง หากอาหารหมดอกี
จะปรบั ปรมิ าณอาหารเพม่ิ ขน้ึ 2 กโิ ลกรัมตอ กงุ 100,000 ตัว
3.2.2 การใหอาหารโดยใชเคร่ืองหวานอาหารอัตโนมตั ิ
ฟารม ทาํ การติดต้ังยอ 2 จุด บรเิ วณวงในและวงนอกของการเหวี่ยงอาหาร
และทําการตรวจสอบเมื่อเคร่ืองหวานอาหารออกไปแลว นับเวลา 1–10 วินาที
แลว ยกยอตรวจสอบ ภายในยอจะตอ งไมม อี าหารเหลอื อยู และปรบั เพมิ่ ลดวนิ าที
ในการเหวี่ยงอาหารตามความเหมาะสม จากการตรวจสอบอาหารท่ีเหลอื ในยอ
การปรับเบอรอาหาร ฟารมจะปรับสัดสวนเบอรอาหารครั้งละประมาณ
รอยละ 25 ตอม้อื ในชวงทมี่ ีการปรบั เปลย่ี นเบอรอาหาร
13
3.3 การเตรียมอาหาร
ฟารมมีการใชนํ้าหมักสับปะรด (หมักวิธีเดียวกับสูตรหมักที่ใชสาดบอ
แตใชเ วลาหมกั เพยี ง 45 วนั ) คลกุ เคลาผสมอาหารใหกงุ กิน ในอตั ราสวนนา้ํ หมกั
สับปะรด 1.0–1.5 ลิตรตออาหารกุง 25 กิโลกรัม และสามารถนําไปใหกุงกิน
ไดเ ลย
เนอ่ื งจากขนั้ ตอนการเลยี้ งกงุ ของฟารม ไมม กี ารใชส ารเคมี สงิ่ ทเ่ี สรมิ เขา ไป
ในอาหารจึงมีเพียงนาํ หมักสบั ปะรดเทาน้นั
14
การควบคมุ
4 คุณภาพนํ้าในบอ เล้ียง
4.1 มีการตดิ ตั้งทอ ดดู เลนในบอเล้ยี ง
โดยใชท อ ขนาดเสน ผา นศนู ยก ลาง 3 นว้ิ ปม นา้ํ ขนาด 3 แรงมา และทาํ การ
ดูดเลนออกในวันท่ี 20 ของการเลีย้ งเปนตน ไป โดยดูดเลนออกทกุ วัน ในชวงเชา
และเยน็ เปน ระยะเวลา 15–20 นาทตี อ ครงั้ เพอื่ ลดปรมิ าณสารอนิ ทรยี ท อ่ี ยใู นนาํ้
4.2 ฟารมมกี ารควบคมุ คณุ ภาพนํ้าใหอยูในเกณฑ
ท่ีเหมาะสม และมีการตรวจวัดคณุ ภาพน้ํา ดังน้ี
1) ฟารม ตรวจวดั ดว ยตนเองทุกวนั วันละ 2 เวลา ในชว งเชาและบา ย
โดยการตรวจวดั คา pH แอมโมเนยี ไนไตรท ไนเตรท และอลั คาลนิ ติ ี้ (สภาพความ
เปน ดา ง หรอื ความสามารถของนา้ํ ทที่ าํ ใหก รดเปน กลาง) การเลย้ี งกงุ โดยใชร ะบบ
นํ้าหมุนเวียนชีวภาพสามารถควบคุมปริมาณไนเตรทในบอ ใหอยูในชวงไมเกิน
70 มลิ ลิกรัมตอ ลติ ร
15
2) ฟารมสงตัวอยางน้ําในบอเลี้ยงและบออื่น ๆ ในระบบการเลี้ยง
ไปตรวจสอบทห่ี อ งปฏบิ ตั กิ ารสปั ดาหล ะ 1 ครงั้ โดยเกณฑค ณุ ภาพนา้ํ ทใ่ี ชเ ลย้ี งกงุ
ของฟารม มีดงั น้ี
คา วธิ ีการจดั การ
พารามิเตอร เกณฑท ค่ี วบคุม
ความโปรง ใส ไมต าํ่ กวา การทาํ สีนํา้ เพื่อควบคุมไมใหเ กดิ การเพม่ิ
30 เซนติเมตร จํานวนของแพลงกต อนมากเกนิ ไป
pH • ชวงกงุ เล็กควบคุมโดยการทาํ สีน้ํา
แอมโมเนีย 7.7 ± 0.2 • ชว งกุงโตควบคมุ โดยการเปล่ียนถายน้ํา
มกี ารปรับสภาพนาํ้ โดยการใชจุลินทรีย
(NH3) 0.5–1.0 เขา มาชว ยในการยอ ยสลายสารอินทรีย
ไนไตรท มลิ ลกิ รัม/ลิตร
(NO2) เพม่ิ คา อลั คาลนิ ติ โี้ ดยการใชป นู รอ น (MgO)
ไนเตรท ไมเกนิ 3 แตหากมคี าตา่ํ มากจะใช
(NO3) มลิ ลิกรัม/ลติ ร ปนู โซเดยี มไบคารโบเนต (NaHCO3)
แทน
อัลคาลนิ ิต้ี ไมเกิน 70
มิลลกิ รมั /ลติ ร
ไมตาํ่ กวา 150
มิลลิกรัม/ลิตร
16
4.3 การใชจลุ ินทรยี
ฟารมเนนการใชจุลินทรียเพ่ือควบคุมคุณภาพน้ําระหวางการเลี้ยงแทน
การใชสารเคมีดงั น้ี
1) จุลนิ ทรีย ปม.1 หรือ ปม.2
มีการใชใ นชวงการเตรยี มนาํ้ และในระหวา งการเล้ียง ปรมิ าณ 200 ลติ รตอ ไร
โดยใชว นั เวน วนั ตลอดระยะเวลาการเลย้ี ง เพอ่ื ชว ยควบคมุ คณุ ภาพนา้ํ และปรมิ าณ
เช้ือกอโรค โดยจะใชในชวงเชา ของวนั
วิธีการเตรยี ม
จุลนิ ทรีย ปม.1 หรือ ปม.2 สูตรน้ํา 200 มลิ ลิลติ ร (หรือแบบซอง 2 ซอง)
กากนาํ้ ตาล 1 ลติ ร (1.5 กิโลกรัม)
อาหารกุง 1 กํามอื
ระยะเวลาการเปาเตมิ อากาศ พบวา
• จุลนิ ทรยี ปม.1 หรือ ปม.2 แบบนํ้า ควรขยายที่ 24 ชัว่ โมง
พบวาไดประสิทธิภาพมากท่ีสดุ
• จุลินทรยี ปม.1 แบบผง ควรขยายที่ 36 ชว่ั โมง
พบวา ไดป ระสิทธภิ าพมากทส่ี ดุ
17
2) จุลนิ ทรยี นํา้ แดงหรือจุลินทรยี ส ังเคราะหแ สง
เริ่มใสบอเล้ียงในชวงกงุ อายุ 1.5–2.0 เดือน หรือชวง
ที่กุงเร่ิมกินอาหารเพ่ิมขึ้น เพ่ือชวยควบคุมปริมาณ
ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ท่ีพ้ืนบอ โดยใสสัปดาหละครั้ง
ครง้ั ละ 5 ลติ รตอ ไร
วิธกี ารเตรยี ม 1 ชอนโตะ
ไขไ ก 1 ชอนโตะ
น้ําปลา 1 ชอ นโตะ
ผงชูรส 50 มลิ ลลิ ิตร
หัวเชอ้ื จลุ ินทรยี
ผสมกับน้ําใหไดปรมิ าณรวม 1 ลิตร ใสขวดโปรง แสง
และตากแดดไวประมาณ 15–20 วัน หรือจนกวาจะมี
สแี ดงเขม โดยใชอ ัตราสว น 5 ลติ รตอไร
3) นาํ้ หมกั สบั ปะรด
ใชในกรณีที่ตรวจพบเช้ือในบอระหวางการเลี้ยงเปน
จํานวนมาก โดยจะทําการสาดท่ัวบอ เพ่ือชวยเสริม
ประสิทธภิ าพรวมกับจลุ นิ ทรยี ปม.1
สวนผสมนา้ํ หมักสับปะรด ประกอบดวย
สับปะรด 20 กโิ ลกรมั
กากน้ําตาล 20 กโิ ลกรมั
น้าํ 200 ลิตร
จลุ ินทรยี EM (ถา ไมม ี ไมตองใส)
ผสมสวนผสมรวมกันแลวหมักไวเปนเวลา 3 เดือน
ข้นึ ไป
18
การเฝา ระวงั สุขภาพลกู กุง
5 ระหวา งการเลยี้ ง
สขุ ภาพลกู กงุ มคี วามสาํ คญั เปน อยา งมากตอ ตน ทนุ และความสาํ เรจ็
ในการประกอบอาชีพเลยี้ งกงุ การเฝา ระวงั สขุ ภาพลกู กงุ ระหวา งการเลยี้ ง
จึงมคี วามสาํ คญั เปน อยา งมาก เพอ่ื เปน การปอ งกนั และควบคมุ การเกดิ โรค
หรอื หากตรวจพบโรคหรอื ปญหา เกษตรกรสามารถแกไขปญหาได
ทนั ทว งทีกอ นที่จะเสยี หายไปมาก โดยมกี ารดาํ เนนิ การดงั นี้
5.1 การตรวจสอบจากยอ
โดยการตรวจสอบจากปริมาณอาหารในยอ หากมีปริมาณอาหารเหลือ
อาจประเมินไดวากุงยังกินอาหารไมหมดหรือเกิดจากการท่ีกุงสุขภาพไมแข็งแรง
จึงกนิ อาหารนอย
19
5.2 การตรวจสอบจากลักษณะภายนอก
ลักษณะภายนอก การสังเกต
สตี บั มีสีดํา ไมซ ดี ขาว พตู บั มีขนาดใหญ ไมลีบฝอ
ลาํ ตวั ไมมแี ผลภายนอก ถามีอาจประเมินไดว านาํ้ ไมส ะอาด
เหงือก ตอ งสะอาด ไมมสี ีเขม
ขาวายนาํ้ ไมเ ปน สแี ดง ถา เปน สีแดงประเมินไดว า กงุ เกดิ ความเครียด
และหาง ควรตรวจวดั คณุ ภาพนาํ้ และเพม่ิ อากาศภายในบอ ทนั ที
ไมยาว ไมส ัน้ เกินไป หากพบขกี้ ุงยาวเกนิ ไปอาจประเมนิ ไดว า
ข้ีกงุ มีการใหอ าหารเกนิ ความจาํ เปน สีควรเปน สเี ดยี วกบั อาหารที่ให
หากเปนสีแดงอาจคาดการณไ ดวามกี ุงตายในบอ
5.3 การสงตรวจในหองปฏิบัตกิ าร
มกี ารตรวจสขุ ภาพกงุ และคณุ ภาพนา้ํ ทใี่ ชเ ลย้ี งกงุ เปน ประจาํ โดยการ
เก็บตัวอยางน้ําสงไปตรวจท่ี ศพช.ระยอง หากผลการวิเคราะหพบวา
มีเช้ือกอโรค หรือพบปริมาณเชื้อมีคาเกินกวาคามาตรฐานท่ีกําหนด จะรีบ
ดําเนนิ การควบคุมโรค การรกั ษา และแกไขปญ หาทันที
20
การจัดการดา นความเส่ยี ง
6 ของเชือ้ โรค
ชว งทมี่ คี วามเสยี่ งตอ การตดิ เช้ือไวรสั เชน ชว งรอยตอ ของอากาศ
และฤดกู าล จะมกี ารควบคมุ คณุ ภาพนา้ํ ในรอบวนั ไมใ หเ ปลย่ี นแปลงมาก
โดยมีการจดั การเบ้ืองตน ตอ การเกดิ โรคแตล ะโรคดังน้ี
6.1 โรคตายดว น (EMS/AHPND)
เนนการคัดเลือกลูกพันธุที่ไมมีเช้ือปนเปอนเปนสําคัญ ควบคูไปกับ
การจัดการระบบนํา้ ใหส ะอาดและมคี ณุ ภาพน้าํ คงทตี่ ลอดการเลีย้ ง
หากตรวจพบเชื้อ จะทําการถายน้ําออกรอยละ 60–70 และ
เตมิ นาํ้ ใหมท ดแทน งดอาหารจนกวา กงุ จะหยดุ ตาย จงึ จะเรม่ิ ใหอ าหาร
อีกครั้ง
6.2 กลมุ อาการข้ีขาว
เนนการควบคมุ ปริมาณอาหารและคณุ ภาพน้ําใหเหมาะสม แมอาหารจะ
ไมใ ชส าเหตหุ ลกั และมผี ลตอ อาการขข้ี าวในระดบั ตา่ํ แตห ากมปี จ จยั อน่ื ไป
กระทบตอ สัตวนํา้ อาหารจะมีผลตอ การเกดิ โรคทนั ที
6.3 ไวรัส หากตรวจพบวา กงุ ตดิ เชื้อไวรสั จะกําจัดท้งิ ทนั ที
6.4 EHP หากตรวจพบเชอื้ EHP จะแกไ ขปญ หาโดยการเพม่ิ ปรมิ าณนาํ้ หมกั
สบั ปะรดท่ีใชสําหรับผสมอาหาร
21
การจดั การระบบการเลย้ี ง
7 ในแตล ะชวงฤดกู าล
7.1 ฤดฝู น
ขอดีของการเล้ียงกุงในฤดูฝน คือ น้าํ มีคณุ ภาพดี
แตต อ งระมดั ระวงั ในเรอ่ื งความเขม ของสนี า้ํ การตายของ
แพลงกตอน การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ําอยาง
ฉับพลัน เน่ืองจากในฤดูฝนเปนชวงท่ีมักประสบปญหา
อากาศปด จึงตองคอยสังเกต หากอากาศปดมากกวา
2 วัน จะเริ่มทําการเปล่ียนถายน้ํา เพ่ือปองกันการเกิด
แพลงกตอนบลูมหรือดรอป การพิจารณาการเปล่ียน
ถายน้ําในชวงอากาศปดจะพิจารณาจากระดับความ
โปรง ใสของน้าํ ดังนี้
หากความโปรงใสมคี ามากกวา 50 เซนติเมตร
อยใู นเกณฑท ่ยี ังไมต อ งทาํ การเปลยี่ นถา ยนํา้
หากความโปรงใสมคี าตํา่ กวา 30 เซนติเมตร
จะทําการเปลี่ยนถายน้ําออกบางสวน ใหน้ํามีระดับความโปรงใส
อยูในชวง 35–40 เซนติเมตร แตกรณีการเล้ียงในชวงกุงขนาดใหญ
จะควบคมุ ความโปรง ใสใหไ มเ กนิ 20 เซนตเิ มตร เพราะหากนาํ้ ใสมาก
ตวั กงุ จะสีไมสวย
22
7.2 ฤดรู อ น
การเลย้ี งกงุ ในฤดรู อ น ตอ งเนน ใหม กี ารไหลเวยี นนา้ํ
ในระบบการเลี้ยงมากข้ึนกวาฤดูอื่น เน่ืองจากความเขม
ของสีน้ําจะมีผลตอปริมาณแพลงกตอนที่เพ่ิมขึ้นรวดเร็ว
กวา ฤดอู นื่ และนา้ํ มคี วามเคม็ สงู จงึ ตอ งมกี ารหมนุ เวยี นนา้ํ
มากขน้ึ เพื่อลดความเขม ของสีนา้ํ และความเค็มของนา้ํ
7.3 ฤดูหนาว
การเลย้ี งกงุ ในฤดหู นาว มกั พบปญ หาเกย่ี วกบั การ
กินอาหารของกุง ฟารมจะปรบั ระบบการเลีย้ งโดยในชวง
2 เดือนแรก จะลดปริมาณนํา้ ในบอใหอ ยูที่ระดับความสงู
80–100 เซนติเมตร และปรับเวลาการใหอ าหาร โดยเริม่
ใหอาหารชากวา ชวงเวลาปกติ สาํ หรบั มอื้ แรกเรม่ิ ใหเ วลา
09.00 น. มอื้ สดุ ทา ยจะใหเ วลา 20.00 น. เนอ่ื งจากในชว ง
เวลาดงั กลา วนาํ้ จะมอี ุณหภมู ิสูง
8 ระบบการใหอ ากาศ 23
ระบบการใหอ ากาศเนน การหมนุ เวียนของกระแสนา้ํ ใหม กี ารหมนุ เวียน
ท่วั บอ และการใหอ อกซิเจนอยางพอเพียงในบอ
แผนผงั เคร่อื งใหอ ากาศ
2ภาพที่
24
8.1 ระบบการใหอ ากาศ
ฟารมมีการติดต้ังมอเตอรไฟฟา ขนาด 3 แรงมา จํานวน 2 ตัวตอไร
รูปแบบมอเตอร 1 แขน แขนละ 11–13 ใบพัด ตดิ ตัง้ ทมี่ มุ บอ ทกุ จดุ และบริเวณ
กลางบอ
8.2 แผนการเปด –ปด เครือ่ งใหอากาศของฟารม
ควบคมุ โดยคนงาน โดยมีการเปด–ปด ดังน้ี
ความหนาแนนท่ีปลอย ชว งเวลา จํานวนเครื่องใหอ ากาศ
(ตัว/ไร) (ตวั )
50,000–80,000 กลางวนั ไมเปด
100,000–150,000 กลางคนื 2
กลางวนั 2
กลางคืน 3
หมายเหตุ : ในชว งอากาศปด จะพิจารณาการเปด–ปดเครอ่ื งใหอากาศตามสถานการณ
การจับกงุ และ 25
9 การจาํ หนา ย
ฟารม มกี ารประเมนิ ขนาดกงุ โดยภายในระยะเวลาการเลยี้ ง 2 เดอื น
กุงตองมีขนาดประมาณ 100 ตัวตอกิโลกรัม และฟารมมีการสุมกุง
ทุกสัปดาห เพื่อตรวจสอบขนาดและการเจรญิ เติบโต
การจําหนายกุงจะตัดสินใจจากสุขภาพกุง
ราคาของตลาด จุดคุมทุน และจุดท่ีไดกําไรสูงสุด
ถา องคป ระกอบทง้ั หมดเหมาะสมจะทาํ การจาํ หนา ยกงุ
ในชวงนั้น โดยฟารม มกี ารจําหนาย 2 รูปแบบ
9.1 กงุ ที่ตายแลว
โดยการจาํ หนา ยใหก ับแพกุง ทีม่ หาชัย
9.2 กุงมีชีวิต
โดยรถขนสงท่ีมีออกซิเจน หรือที่เรียกกันวา
กงุ ออ ก ขนาดทจ่ี าํ หนา ยตอ งตรงกบั ความตอ งการของ
ชว งท่รี บั ซือ้ ซงึ่ การจาํ หนายกงุ ออ กจะไดราคาสงู กวา
กงุ ตาย ประมาณ 5 บาทตอ กโิ ลกรมั และจะไดป รมิ าณ
นํ้าหนักเพ่ิมขึ้นประมาณรอยละ 5 (จากน้ําหนัก
ของนา้ํ )
26
เคล็ดลบั ความสาํ เรจ็ /
10 ส่งิ ที่ตองการสอ่ื สารสูเ กษตรกรรายอ่นื
เคล็ดลับความสําเร็จ 2 ประการสําคัญ ที่คุณศุภโชคตองการให
คาํ แนะนาํ สาํ หรบั เกษตรกรผเู ลยี้ งกงุ รายอนื่ ไวเ ปน แนวทาง ประกอบดว ย
10.1 เทคนคิ การบรหิ ารจดั การดานตน ทนุ ใหต น ทนุ ตาํ่
• เลี้ยงกุงไมใหปวยหรือไมสะดุด โดยใชจุลินทรียและความปลอดภัยทางชีวภาพ
ในฟารม
• หาแหลงลูกพันธุทด่ี ี
• ควบคุมคุณภาพนํ้าใหนงิ่
• เลย้ี งในบอ ทเี่ ลก็ และความหนาแนน ตา่ํ จะลดตน ทนุ ในการบรหิ ารจดั การไดเ ปน
อยา งมาก
10.2 เทคนคิ ทที่ าํ ใหเ ลยี้ งกงุ ประสบความสาํ เรจ็ และมกี าํ ไร
• บริหารจัดการการเล้ียงอยางมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทุกประเด็นของการ
จดั การเลยี้ ง
• จัดการปญหาตา ง ๆ ที่เกดิ ขึน้ ใหล ลุ ว งไปอยา งรวดเรว็
• ลดขนาดบอเลี้ยง และปลอยที่ความหนาแนนต่ํา เปนการลดของเสียที่เกิดขึ้น
ในบอ ลดความเครยี ดท่ีเกดิ ขึ้นกบั กุงระหวางการเล้ยี ง รวมถงึ ลดการนาํ นาํ้ ใหม
เขา ฟารม สงผลใหลดความเส่ยี งในการนําเช้อื กอโรคกุงเขา ฟารม กงุ มีสขุ ภาพดี
แขง็ แรง ปอ งกันการเกดิ โรค และสามารถเลยี้ งจนไดข นาดตามทตี่ อ งการ
เคลด็ ลับความสําเรจ็ กุง ไดขนาดตามตอ งการ
ควบคมุ ปรมิ าณผลผลิตไดค งที่
บรหิ ารจดั การไดอ ยางท่วั ถึง ตนทนุ การเลย้ี งต่ํา กาํ ไรสูง
สามารถแกไ ขปญ หาไดท ันเวลา ใชระบบการเลย้ี งแบบระบบนา้ํ
ลดความเสย่ี งในการเกดิ โรค หมุนเวียนชีวภาพและเลี้ยงท่ี
ลดอัตราการตายระหวางการเลย้ี ง ความหนาแนน ตํ่า ลดตน ทุน
เพ่ิมศักยภาพในการเล้ยี งไดดขี ึน้
ปรบั เปลีย่ นวิธีการเลยี้ งภายใต เลือกลูกพนั ธุท ีแ่ ขง็ แรง
เงอื่ นไขและขอ จํากดั ของตนเอง ลดการใชส ารเคมี
3ภาพที่ 27
28
11 ผลผลติ และรายละเอยี ด
การเล้ียงของฟารมตอ ป
หวั ขอ จํานวน
ผลผลติ กุง 4.25 ตัน (1.416 ตนั ตอ ไร)
มูลคา ผลผลติ 150,000 บาทตอ ตนั
ผลผลติ เฉล่ยี 6–9 ตันตอ ไรตอป
พ้ืนที่ฟารม ท้งั หมด 30 ไร
จํานวนบอ เลย้ี ง 3 บอ
ขนาดบอเล้ียงเฉลี่ย 3.5 ไร
อตั ราการปลอ ย 80,000–100,000 ตวั ตอไร
ความหนาแนน 48 ตัวตอ ตารางเมตร
อัตราแลกเนื้อ (FCR) 1.15
จาํ นวนรอบการเลย้ี ง 3 รอบตอ ป
อัตรารอด รอ ยละ 77.60
ขนาดกุงทีจ่ ับจาํ หนาย
เฉลย่ี 42 ตวั ตอกิโลกรมั