The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มคติชนวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bussama152545, 2023-10-16 03:44:06

รูปเล่มคติชนวิทยา

รูปเล่มคติชนวิทยา

ชุมชนแกะสลักไม้บ้า บ้ นหลุก นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ ปาง นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ ปาง อำ เภอเเม่ท ม่ ะ จังหวัดลำ ปาง คติชนวิท วิ ยา


หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คติชนวิทยา รหัสวิชา 1103104 ซึ่งได้นำ เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการ แกะสลักไม้ของชุมชนบ้านหลุกใต้ ตำ บลนาครัว อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการแกะสลัก ไม้ที่ทำ จากผิวไม้ ได้แก่ ไม้จามจุรี (ฉำ ฉา) ไม้สัก และไม้ตะเคียน ทั้งประวัติผู้ให้ข้อมูล สถานที่ตั้ง ประวัติความ เป็นมา วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนของการแกะสลักไม้ เอกลักษณ์และลวดลายที่นิยม การยกระดับผลิตภัณฑ์ของ ชุมชนและการต่อยอดผลิตภัณฑ์ในอนาคต อีกทั้งกล่าวถึงสิทธิที่มีผลต่อต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต และ ประเพณีความเชื่อพิธีกรรมของคนในชุมชน กลุ่มผู้จัดทำ ได้ลงพื้นที่เพื่อรวบรวบข้อมูลจากชาวบ้านชุมชนบ้านหลุกใต้ ตำ บลนาครัว อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง และแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ทั้งในหนังสือ หรือ แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ต่าง ๆ ซึ่งทำ ให้กลุ่มผู้จัด ทำ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการแกะสลักไม้จากบ้านหลุกใต้ ตำ บลนาครัว อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง กลุ่มผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำ หรับผู้อ่านที่กำ ลังศึกษา และสนใจข้อมูลเรื่องการแกะสลักไม้ ชุมชนบ้านหลุกใต้ ตำ บลนาครัว อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง สุดท้ายนี้กลุ่มผู้จัดทำ ตั้งใจทำ หนังสือเล่มนี้เป็นอย่างมาก หากเกิดข้อผิดพลาดประการใด ต้อง ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ขอขอบพระคุณอาจารย์ ธิดารัตน์ ผมงาม อาจารย์ผู้สอน วิชาคติชนวิทยา ที่ได้ให้ความรู้และคำ แนะนำ จนหนังสือเล่มนนี้บรรลุเป้าหมายและสำ เร็จตามจุดประสงค์ คำ นำ คณะผู้จัดทำ ก


สารบัญ บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านหลุกใต้ บทที่ 2 วัฒนธรรม ความเชื่อ และประเพณี ข บทที่ 3 ขั้นตอน และกระบวนการแกะสลักไม้ 1.1 ข้อมูลประวัติบ้านหลุก 1.2 ข้อมูลสถานที่ตั้ง 1.3 ข้อมูลประชากร 1.4 ข้อมูลอาชีพ 1.5 ข้อมูลเชื้อชาติ/ภาษา 1.6 ข้อมูลอาหารท้องถิ่น/การแต่งกาย 1.7 ข้อมูลการละเล่น/เพลงพื้นบ้าน 1.8 ข้อมูลวิถีชีวิตของชาวบ้านหลุก 1.9 ข้อมูลผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักบ้านหลุก 1 2 2 2 3 4 5 6 7 ่ 2.1 ประเพณีวัฒนธรรม 2.2 ประเพณีความเชื่อ 2.3 การนับถือศาสนาและพิธีกรรม 2.4 สถานที่สำ คัญภายในชุมชน 8 9 14 16 1 2 2 2 3 4 5 6 7 3.1 ประเภทและชนิดของไม้ 3.2 การต่อลายการย้อมสีไม้ 3.3 วิธีการแกะสลักไม้ 3.4 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แกะสลัก 3.5 ลายที่นิยม 3.6 รูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะที่ของผลิตภัณฑ์ 3.7 ความเชื่อในการแกะสลัก 3.8 วิธีการจัดส่ง 19 19 20 21 23 34 27 28


สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ฃ บทที่ 5 สรุปข้อมูลการศึกษาคติชนวิทยา 4.1 การถ่ายทอดภูมิปัญญาบ้านหลุก 4.2 วิธีการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นบ้านหลุก 4.3 การรักษาการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.4 การสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 31 31 31 33 5.1 สรุปข้อมูลการศึกษา 5.2 ข้อมูลผู้ให้สัมภาษณ์ บรรณานุกรม คณะผู้จัดทำ ภาคผนวก 38 39 40 41 42


สารบัญภาพ ค ภาพที่ หน้าที่ ภาพที่ 31 เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมืองในร่างของพ่อข้อน ภาพที่ 32 วัดบ้านหลุก ภาพที่ 33 หมากพลู ภาพที่ 34 ขันดอก ภาพที่ 35 กุฎิวัดบ้านหลุก ภาพที่ 36 เสาของกุฎิมีจำ นวน 101 ต้น ภาพที่ 37 ด้านหน้าอุโบสถวัดบ้านหลุก ภาพที่ 38 ทางเข้าวัดบ้านหลุก ภาพที่ 39 สะพานบ้านหลุกใต้ ภาพที่ 40 สมาชิกชาวบ้านซ่อมแซมสะพานไม้เก่า ภาพที่ 41 สะพานไม้เก่าก่อนได้รับการซ่อมแซม ภาพที่ 42 สะพานไม้เก่าในปัจจุบัน ภาพที่ 43 หลุกจำ ลองหรับวิดน้ำ ภาพที่ 44 บริเวณลานหลุก ภาพที่ 45 ขอนไม้สัก ภาพที่ 46 ไม้จามจุรี (ไม้ฉำ ฉา) ภาพที่ 47 ช้างลายไทย ภาพที่ 48 ฐานของช้า ภาพที่ 49 ขอนไม้ (ไม้ฉำ ฉา) ภาพที่ 50 การเตรียมขึ้นส่วนช้าง ภาพที่ 51 ขอนไม้สัก ภาพที่ 52 สิ่วแกะสลัก ภาพที่ 53 บุ้งหรือตะไบ ภาพที่ 54 มีด ภาพที่ 55 กบไสไม้ ภาพที่ 56 กระดาษทราย ภาพที่ 57 สว่านใช้เจาะรูไม้ ภาพที่ 58 ลายแกะสลักบริเวรส่วนหน้างวง ภาพที่ 59 ลายแกะสลักบริเวรส่วนรอบดวงตา ภาพที่ 60 ลายแกะสลักแอฟริกา ภาพที่ หน้าที่ ภาพที่ 1 บ้านหมู่บ้านหลุก ภาพที่ 2 กำ นันบ้านหลุก ภาพที่ 3 สะพานไม้เก่า ภาพที่ 4 ผลิตภัณฑ์สินค้าแกะสลัก ภาพที่ 5 สภาพแวดล้อมชุมชนบ้านหลุก ภาพที่ 6 ขั้นตอนการเลือกชนิดไม้ ภาพที่ 7 รูปสิงห์แกะสลัก ภาพที่ 8 อาหารประจำ ถิ่น ภาพที่ 9 การแต่งกายในอดีตของชาวบ้านหลุก ภาพที่ 10 ลาบหมูดิบอาหารประจำ ถิ่น ภาพที่ 11 การแต่งการของชาวบ้านหลุดในปัจจุบัน ภาพที่ 12 การกลองดินมาใช้ในการแห่ขบวน ภาพที่ 13 การทำ โครงกลองดิน ภาพที่ 14 อาชีพในการแกะสลักไม้ ภาพที่ 15 ผลิตภัณฑ์การแกะสลักไม้ในชุมชน ภาพที่ 16 การปลูกข้าวโพดอาชีพรองจากการแกะสลักไม้ ภาพที่ 17 การทำ นาอาชีพรองจากการการแกะสลักไม้ ภาพที่ 18 ขั้นตอนการเลือกชนิดไม้ในการแกะสลัก ภาพที่ 19 แกะสลักสิงห์ ภาพที่ 20 กุฎิวัดบ้านหลุกที่สร้าขึ้นจากไม้สัก ภาพที่ 21 ผีตาโขน (ชุมชนบ้านหลุกใต้) ภาพที่ 22 ประเพณีเลี้ยงผีปู่-ย่า ภาพที่ 23 เครื่องเซ่นไหว้สำ หรับเลี้ยงผีปู่-ย่า ภาพที่ 24 แห่ไม้ค้ำ ศรีจันทร์ (ชุมชนบ้านหลุกใต้) ภาพที่ 25 ยายใสขึ้นขันธ์ ภาพที่ 26 เจ้าพ่อท้าวพรมแสนเมืองทำ พิธีให้ยายใส ภาพที่ 27 ต้นตะเคียน ภาพที่ 28 ต้นตะเคียนในอดีต ภาพที่ 29 ร่างทรงของแม่ศรีจันทร์ (ขวาสุด) และร่างทรงอื่นๆ ภาพที่ 30 เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมืองผูกข้อมือให้ชาวบ้าน 1 1 2 2 2 3 3 4 4 4 4 5 5 6 6 6 6 7 7 8 9 9 9 9 10 10 11 11 12 13 13 14 15 15 16 16 16 16 17 17 17 17 18 18 19 19 19 19 20 20 21 21 21 21 22 22 22 23 23 23


สารบัญภาพ (ต่อ) ง ภาพที่ หน้าที่ ภาพที่ 61 ลายแกะสลักไทย ภาพที่ 62 การแกะสลักไม้ภาพนูน ภาพที่ 63 พญานาค ภาพที่ 64 แกะสลักไม้ช้างไทย ภาพที่ 65 แกะสลักไม้แอฟริกา ภาพที่ 66 การทำ ครก ภาพที่ 67 การลงสี ลงรายละเอียดของครก ภาพที่ 68 ส่วนประกอบของงาช้าง ภาพที่ 69 หัวช้างไทย ภาพที่ 70 งานฉลุช้าง ภาพที่ 71 งานฉลุช้างไทย ภาพที่ 72 พระฤาษี ภาพที่ 73 พระพุทธรูป ภาพที่ 74 ช้าง ภาพที่ 75 ม้า ภาพที่ 76 สิงโต ภาพที่ 77พระพุทธรูป ภาพที่ 78 องค์กายแก้ว ภาพที่ 79 รูปเเกะสลักไม้หญิงไทย ภาพที่ 80 พญานาค ภาพที่ 81 ปฏิทนชาวล้านนา ภาพที่ 82 กวนอู ภาพที่ 83 พระพุทธรูปเเกะสลักจากไม้ ภาพที่ 84 ช้างไทย ภาพที่ 85 ภาพเหมือนมนุษย์ ภาพที่ 86 พระพุทธรูปบรรทม ภาพที่ 87 บานประตู ภาพที่ 88 บายศรีสู่ขวัญ 32 33 33 33 33 34 34 34 34 35 35 36 36 37 37 37 37 37 37 38 38 39 39 39 39 40 40 45 ภาพที่ หน้าที่ ภาพที่ 89 ตุงไชย ภาพที่ 90 สะล้อ ภาพที่ 91 ตระกร้าไม้ไผ่ ภาพที่ 92 ช้างไม้เเกะสลัก ภาพที่ 93 กิเลนเเกะสลัก ภาพที่ 94 หัวช้างไม้เเกะสลัก ภาพที่ 95 หมีเเบร์บลิคเเกะสลัก ภาพที่ 96 พญานาคเเกะสลัก ภาพที่ 97 ภาพวิถีชีวิตการประกอบอาชีพเเกะสลัก 46 47 48 49 49 49 49 49 51


ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านหลุกใต้ บทที่ 1


บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านหลุกใต้ ประวัติ วั ติ ความเป็นมา บ้านหลุกใต้ ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำ ปาง นายณรงค์ วงศ์กันทะ กำ นันบ้านหลุกใต้ ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำ ปาง การปกครองเดียวกันแต่เนื่องจากเป็นหมู่บ้านที่มีขนาดใหญ่มากทำ ให้การปกครองไม่ทั่วถึง งบประมาณที่ได้มาจาก รัฐบาลก็ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาหมู่บ้าน จึงมีการแยกการปกครองออกเป็น 2 หมู่บ้าน คือ บ้านหลุกแพะ หมู่ที่ 11 เนื่องจากบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านเป็นป่าจึงชื่อว่าแพะ (ภาษาเหนือ แพะ หมายถึง ป่า ) ในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งต่อมาได้มีการ แยกการปกครองเพิ่มอีก 1 หมู่บ้าน คือบ้านหลุกใต้ หมู่ 12 เมื่อปี พ. ศ. 2542 ที่เรียกว่าบ้านหลุกใต้ นั่นมีที่มาจาก สถานที่ตั้งของหมู่บ้าน อยู่หลังวัด หรือทางใต้ของวัดนั่นเอง จึงทำ ให้ชาวบ้านเรียกกันจนติดปากว่าบ้านหลุกใต้ หมู่ 12 ข้อมูลทั่วไป ประวัติบ้านหลุก ที่เรียกว่าบ้าน “ หลุก ” นั้น มีความหมายที่ผิดเพี้ยนมาจาก คำ ว่า “หลุบ” ซึ่งมีลักษณะคล้ายกังหันน้ำ ใน ปัจจุบัน เนื่องจากแต่เดิมลักษณะภูมิประเทศของหมู่บ้าน เป็นลักษณะเป็นที่ราบสูง มีแม่น้ำ อยู่ต่ำ กว่า หมู่บ้าน การจะนำ น้ำ มาใช้จึงเป็นการยากลำ บาก จึงมีการคิดนำ หลุบมาใช้สำ หรับวิดน้ำ ขึ้นมาใช้ ในชีวิตประจำ วันของชาวบ้าน จึงทำ ให้ชื่อหมู่บ้านเปลี่ยนไปจากคำ ว่า “หลุบ” กลายเป็น “ หลุก ” มาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน บ้านหลุกใต้ หมู่ 12 เป็นหมู่บ้านที่มีการแยกส่วนการปกครองมาจากบ้านหลุก หมู่ 6 ซึ่งแต่เดิมเป็น ภาพที่1 ป้ายหมู่บ้านหลุก (โดยผู้เขียน) ภาพที่2 กำ นันบ้านหลุก ที่มา:https://shorturl.asia/Ufyma 1


ข้อมูลอาชีพ อาชีพหลักของคนในหมู่บ้าน คือ แกะสลัก อาชีพรอง (รายได้รอง) ของคนในหมู่บ้าน คือ ทำ นา ทำ ไร่ข้าวโพด อาชีพเสริม (ทำ กิน ทำ ใช้ในครัวเรือน/รายได้ เสริม) ของคนในหมู่บ้าน คือ 1. การปลูกพืชฤดูแล้ง เช่น ถั่วเหลือง ถั่วลิสง 2. การสานตะกร้า การทำ พวงหรีด ฯลฯ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำ เภอแม่ทะ ไปทางทิศเหนือ ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ระยะทางห่างจากจังหวัด ลำ ปาง 25 กิโลเมตร บ้านหลุกใต้ พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มและเนินเขา มีพื้นที่ประมาณ 1,868.75 ไร่ (2.35 ตารางกิโลเมตร) มีลำ น้ำ จาง ไหลผ่าน เหมาะแก่การทำ การเกษตรกรรม มีพื้นที่ที่อยู่อาศัย 1,000 ไร่ / พื้นที่ ทำ การเกษตรกรรม 850 ไร่ / ที่สาธารณะ 150 ตารางวา ข้อมูลสถานที่ตั้ง ข้อมูลประชากร จำ นวนครัวเรือนทั้งหมู่บ้าน 182 ครัวเรือน ประชากรที่ทำ การสำ รวจข้อมูล รวม 646 คน แยกเป็นชาย 320 คน หญิง 326 คน ภาพที่ 3 สะพานไม้เก่า โดย https://shorturl.asia/c38VB ภาพที่ 4 ผลิตภัณฑ์สินค้าแกะสลัก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 5 สภาพแวดล้อมในชุมชนบ้านหลุก โดย ผู้เขียน 2


เชื้อชาติ/ภาษา สมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่มีเชื่อชาติไทย สัญชาติไทย และเป็นชนพื้นเมืองหรือคนเมือง ซึ่งภาษาที่ใช้ในชีวิต ประจำ วันส่วนใหญ่เป็นภาษาเหนือ ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นหรือภาษาเมืองแต่ถ้าหากมีการติดต่อราชการก็จะใช้ภาษาไทย กลางแต่จะมีสมาชิกในชุมชนบางส่วนมักจะพูด แต่ภาษาท้องถิ่นของตนเองและไม่ค่อยได้ใช้ภาษาไทยกลาง จึงทำ ให้ ไม่สามารถพูดภาษาไทยกลางได้อย่างคล่องแคล่ว ข้อมูลผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักบ้านหลุก บ้านหลุกเป็นหมู่บ้านที่ชื่อเสียงด้านแกะสลักของจังหวัด ลำ ปาง แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายเท่ากับบ้านปัจจุบันเป็นหมู่บ้าน แกะสลักที่มีชื่อเสียงทางด้านงานแกะสลักและผลิตภัณฑ์จากไม้และ เถาวัลย์ของอำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง ในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการรวมกลุ่มแกะสลักขึ้นจำ นวน 40 กลุ่ม โดยมีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 518 คน จากหมู่บ้าน 3 หมู่บ้านได้แก่ บ้านหลุก หมู่ที่ 6 บ้านหลุกแพะ หมู่ที่ 11 และบ้านหลุกใต้ หมู่ที่ 12 ส่วนไม้ที่นำ มาใช้แกะสลักนั้นได้แก่ ไม้ฉำ ฉา (จามจุรี) เถาวัลย์ และ ไม้เนื้ออ่อน ซึ่งจะแกะสลักด้วยความประณีตจนออกมาเป็นชิ้นงานที่ สวยงามและคงทน มีทั้งเป็นของใช้เช่น ตู้ เก้าอี้ โต๊ะ หรือจะเป็นของ ตกแต่งบ้าน เช่น ตุ๊กตาไม้รูปสัตว์ ไม้แกะสลักเป็นลวดลายต่าง ๆ ติดผนัง และลวดลายต่าง ๆ อีกมากมาย โดยทางกลุ่มอาชีพแกะสลักบ้านหลุกจะมีหัวหน้ากลุ่มแต่ละ กลุ่มคอยรับออร์เดอร์ สินค้าจากลูกค้า และมาแจกจ่ายให้แก่สมาชิก และควบคุมคุณภาพการผลิต ซึ่งสินค้าส่วนหนึ่งจะมีพ่อค้ามารับไป จำ หน่ายทั้งใน และต่างประเทศ ภาพที่ 7 รูปสิงห์แกะสลัก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 6 ขั้นตอนการเลือกชนิดไม้ โดย ผู้เขียน 3


ตำ ขนุน,ตำ บะม่วง (ฤดูร้อน),แกงผักหวานป่า(ฤดูร้อนย่างเข้าฤดูฝน) เป็นต้น และเน้นทาน พืชที่ขึ้นเองตามธรรมชาติอาจเป็นผักป่าหรือผักข้างรั้ว เช่น ผักแคป,ผักกูด,ผักใผ่,บัวบก เป็นต้น กินกับข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก นิยมปรุงโดยไม่ใส่น้ำ ตาลแต่มีรสเค็มนำ และเผ็ด เล็กน้อยใช้กะทิปรุงเล็กน้อยนิยมแกงแบบน้ำ ขลุกขลิกและน้ำ พริกต่างๆจะค่อนข้างแห้ง และรสไม่เผ็ดจนเกินไปโดยอาหารส่วนใหญ่ของชุมชนบ้านหลุกจะนิยมใช้ผักที่ปลูกเองนำ มาประกอบอาหารเพราะไม่มีการใช้สารเคมีและสารปราบศัตรูพืชซึ่งมีความปลอดภัยเป็น อย่างมากและชุมชนบ้านหลุกยังใช้ผลิตภัณฑ์จากข้าวกล้องอินทรีย์จากกลุ่มนำ มาปรุงเป็น เมนูหลักในส่วนใหญ่ของชุมชน เช่น ข้าวผัด,ข้าวมันไก่ เป็นต้น ในอดีตบ้านหลุกมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบไม่อาศัยเทคโนโลยีมากนัก มีชีวิต รอดอยู่ได้ด้วยการเรียนรู้ธรรมชาติ เรียนรู้จากสัตว์ รู้ว่าเมื่อเวลาที่เจ็บป่วยนั้น สัตว์ชนิดนี้ ไปกินอะไร เราก็น่าจะกินได้ เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในครอบครัวของตนเอง สู่ลูกหลานสืบทอดมาหลายชั่วอายุคนก่อให้เกิดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมในการปรุงแต่ง อาหารซึ่งการปรุงอาหารมีหลายวิธี เช่น การแกง การจอ การส้า การยำ การเจียว การปี๊ป การปื้น การคั่วหรือการผัด การหลู้ การต๋ำ อาหารประจำ ถิ่นของบ้านหลุกส่วนใหญ่จะเน้น ทานอาหารตามฤดูกาล เช่น ไข่รังผึ้ง,น้ำ พริกต่อ(ฤดูแล้ง),แมงนูน,จิ้งหรีด(ฤดูฝน), โดยเมนูแนะนำ ของชุมชนบ้านหลุก คือ 1.แกงผักกาดไก่บ้าน 2.น้ำ พริกมะเขือเทศผักนึ่ง 3.แอ๊บปลาจากแม่น้ำ จาง 4.ผัดคะน้าปลอดสาร 5.แกงหน่อไม้ 6.น้ำ พริกหนุ่ม ภาพที่ 10 ลาบหมูดิบอาหารประจำ ถิ่น โดย https://shorturl.asia/Gej1o ภาพที่ 8 น้ำ พริกหนุ่ม (อาหารประจำ ถิ่น) โดย https://shorturl.asia/6k4ba ภาพที่ 9 การแต่งกายในอดีตของชาวบ้านหลุก โดย https://shorturl.asia/g7n9U การแต่งกายประจำ ถิ่นของชุมชนบ้านหลุก การแต่งกายของชุมชนบ้านหลุกในอดีตผู้หญิงชาวเหนือ ไม่นิยมใส่เสื้อแต่มีผ้าคล้องคอผืนใหญ่ นุ่งผ้าซิ่นลายขวางต่อหัว และ เชิง ส่วนผู้ชายนุ่งผ้าผืนเดียว ซึ่งสมัยก่อนการทอผ้าเกิดจากการเลี้ยงไหมแล้วนำ เอาเส้นไหมมาทอเป็นผ้าให้ได้ตามลวดลายที่ ต้องการ ต่อมาภายหลังจนกระทั่งปัจจุบัน การแต่งกายพื้นเมืองมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไป ผู้หญิงนุ่งเสื้อยืดธรรมดาใส่กางเกงยีนที่ ทำ มาจากผ้าฝ้ายหยาบ ส่วนผู้ชายนุ่งเสื้อยืดธรรมดาใส่กางเกงผ้ายืดหรือกางเกงยีนส์ อันเป็นลักษณะที่แสดงความเรียบง่ายปัจจุบัน การแต่งกายพื้นเมืองยังเป็นที่นิยมทั่วไป โดยเฉพาะเมื่อมีงานบุญ เช่น งานบุญขึ้นบ้านใหม่ งานประเพณี เช่น ประเพณีปี๋ใหม่เมือง และงานเลี้ยงขันโตก เป็นต้น ภาพที่ 11 กายเเต่งกายของชาวบ้านหลุกในปัจจุบัน โดย ผู้เขียน อาหารประจำ ท้องถิ่น 4


การละเล่น/เพลงพื้นบ้าน กลองดิน วิธีการเล่น 1. ขุดดินให้ปากหลุมกว้างประมาณ 1 คืบ หรือเล็กกว่านี้ก็ได้ ความ ลึกไม่น้อยกว่า 1 คืบ และให้ก้นหลุมมีความกว้างเป็นสองเท่าของปากหลุม 2. นำ ฝาปี๊บหรือฝาหม้อปิดปากหลุม 3. ขึงหลักสายให้ห่างจากปากหลุมประมาณ 1 คืบ อีกหลักหนึ่งห่าง ออกไปประมาณ 2 คืบ หรืออาจมากน้อยกว่านี้ก็ได้ โดยมีหลักการอยู่ว่า ต้องห่างจากปากหลุมไม่เท่ากัน 4. นำ ฝาหม้อ ฝาปี๊บ หรือแผ่นสังกะสีปิดปากหลุม 5. เอาเถาวัลย์ขึงกับหลักสาย ไม่ต้องดึง ให้หย่อนพอที่จะเอาหลัก เสียงสอดได้ 6. เอาหลักเสียงสอดเข้ากับสาย โดยให้หลักเสียงตั้งอยู่บนฝาหรือ แผ่นโลหะค้ำ สายเสียงหรือเถาวัลย์ไว้ 7. ทดลองปรับตั้งสายเสียง จนได้เสียงที่พอใจ ภาพที่ 13 การทำ โครงกลองดิน โดย www.openbase.in.th%2Fnode%2F7930& ภาพที่ 12 การนำ กลองดินมาใช้ในการเเห่ขบวน โดย www.openbase.in.th%2Fnode%2F7930& โอกาสหรือเวลาที่เล่น กลองดินเป็นกลองที่เด็กตามชนบท โดย เฉพาะอย่างยิ่งเด็กเลี้ยงควายในสมัยก่อน เมื่อหยุดพัก ตามร่มไม้ก็จะทำ กลองดินเล่นประกอบกับการร้อง เพลง หรือทำ เพื่อแข่งขันกันว่าของใครจะดังกว่าหรือ เสียงดีกว่ากัน คุณค่า/แนวคิด/สาระ กลองดินนอกจากจะเป็นของเล่นที่ให้ความ เพลิดเพลินแก่เด็กตามชนบทแล้ว การทำ กลองดินของ เด็กๆ เป็นกิจกรรมทีส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เสริม สร้างความรู้พื้นบ้านทางด้านดนตรีหลายอย่าง เช่น เสียงสูงต่ำ การสะท้อนของเสียง จังหวะ การขับร้อง ตามหลักวิชาดนตรีวิทยาแล้ว เครื่องดนตรีโบราณชนิด นี้จัดเป็นพิณประเภทหนึ่ง การละเล่น/เพลงพื้นบ้าน 5


วิถีชีวิตของชาวชุมชนบ้านหลุก ภาพที่ 14 อาชีพการแกะสลักไม้ โดย ผู้เขียน ภาพที่ 15 ผลิตภัณฑ์การแกะสลักไม้ของภายในชุมชน โดย ผู้เขียน ภาพที่ 16 การปลูกข้าวโพด อาชีพรองจากการแกะสลัก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 17 การทำ นา อาชีพรองจากการแกะสลัก โดย ผู้เขียน ชาวบ้านมีวิถีการดำ เนินชีวิตที่เรียบง่าย ใช้ชีวิตในแบบที่ใช้สืบต่อกันมาตั้งแต่ในอดีต แม้ในสมัยปัจจุบันจะมีเทคโนโลยีหรือ วิทยาการความก้าวหน้าเข้ามา แต่ถึงอย่างนั้นก็ไม่ได้กระทบการดำ เนินชีวิตให้เปลี่ยนไปจากเดิมมากนัก ตามที่นางสมเพรช โสภาแปง( ผู้ให้สัมภาษณ์,วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2566 ) ได้กล่าวถึงการดำ เนินชีวิตของชาวบ้านหลุกไว้ ว่า “ผู้คนใช้ชีวิตกันแบบเรียบง่าย สืบทอดภูมิปัญญาของคนรุ่นเก่า อย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือการแกะสลัก ในหมู่บ้านเรานี้มีอยู่หลาย ป๋าง แต่ละ ป๋างมีความแตกต่างกันไป มีจุดเด่นเอกลักษณ์เฉพาะ สร้างรายได้เป็นอาชีพที่เลี้ยงคนในครอบครัวได้”แต่ในปัจจุบันนี้วิวัฒนาการ เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้นผู้คนในท้องถิ่นเริ่มมีอาชีพอื่นๆ เช่น การค้าขาย เกษตรตกร การแกะสลักจึกมีผู้ที่สืบทอดน้อยลง ส่วน ใหญ่มักจะเป็นคนเก่าที่ยังคอยให้ความรู้ ปรึกษา และยึดหลักอาชีพการแกะสลัก ชาวบ้านมีวิถีการดำ เนินชีวิตที่เรียบง่าย ใช้ชีวิตในแบบที่ใช้สืบต่อกันมาตั้งแต่ในอดีต แม้ในสมัยปัจจุบันจะมีเทคโนโลยีหรือ วิทยาการความก้าวหน้าเข้ามา แต่ถึงอย่างนั้นก็ไม่ได้กระทบการดำ เนินชีวิตให้เปลี่ยนไปจากเดิมมากนัก ตามที่นางสมเพรช โสภาแปง( ผู้ให้สัมภาษณ์,วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2566 ) ได้กล่าวถึงการดำ เนินชีวิตของชาวบ้านหลุกไว้ ว่า “ผู้คนใช้ชีวิตกันแบบเรียบง่าย สืบทอดภูมิปัญญาของคนรุ่นเก่า อย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือการแกะสลัก ในหมู่บ้านเรานี้มีอยู่หลาย ป๋าง แต่ละ ป๋างมีความแตกต่างกันไป มีจุดเด่นเอกลักษณ์เฉพาะ สร้างรายได้เป็นอาชีพที่เลี้ยงคนในครอบครัวได้”แต่ในปัจจุบันนี้วิวัฒนาการ เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้นผู้คนในท้องถิ่นเริ่มมีอาชีพอื่นๆ เช่น การค้าขาย เกษตรตกร การแกะสลักจึกมีผู้ที่สืบทอดน้อยลง ส่วน ใหญ่มักจะเป็นคนเก่าที่ยังคอยให้ความรู้ ปรึกษา และยึดหลักอาชีพการแกะสลัก 6


ผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักไม้แกะสลักบ้านหลุก ภาพที่ 18 ขั้นตอนการเลือกชนิดไม้ในการแกะสลัก โดย ผู้เขียน บ้านหลุกเป็นหมู่บ้านที่ชื่อเสียงด้านแกะสลักของจังหวัดลำ ปาง แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายเท่ากับบ้านปัจจุบันเป็นหมู่บ้านแกะสลัก ที่มีชื่อเสียงทางด้านงานแกะสลักและผลิตภัณฑ์จากไม้และเถาวัลย์ของ อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง ในปี 2535 ได้มีการรวมกลุ่มแกะสลักขึ้นจำ นวน 40 กลุ่ม โดย มีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 518 คน จากหมู่บ้าน 3 หมู่บ้านได้แก่ บ้านหลุก หมู่ที่ 6 บ้านหลุกแพะ หมู่ที่ 11 และบ้านหลุกใต้ หมู่ที่ 12 ส่วนไม้ที่นำ มาใช้แกะสลักนั้นได้แก่ ไม้ฉำ ฉา (จามจุรี) เถาวัลย์ และไม้เนื้ออ่อน ซึ่ง จะแกะสลักด้วยความประณีตจนออกมาเป็นชิ้นงานที่สวยงามและ คงทน มีทั้งเป็นของใช้เช่น ตู้ เก้าอี้ โต๊ะ หรือจะเป็นของตกแต่งบ้าน เช่น ตุ๊กตาไม้รูปสัตว์ ไม้แกะสลักเป็นลวดลายต่าง ๆ ติดผนัง และ ลวดลายต่าง ๆ อีกมากมาย โดยทางกลุ่มอาชีพแกะสลักบ้านหลุกจะมีหัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่ม คอยรับออร์เดอร์ สินค้าจากลูกค้า และมาแจกจ่ายให้แก่สมาชิก และ ควบคุมคุณภาพการผลิต ซึ่งสินค้าส่วนหนึ่งจะมีพ่อค้ามารับไปจำ หน่าย ทั้งในและต่างประเทศ ภาพที่ 19 รูปสิงห์แกะสลัก โดย ผู้เขียน 7


วัฒนธรรม ความเชื่อ และประเพณี บทที่ 2


วัฒนธรรม ความเชื่อ และประเพณี เป็นที่เล่ากันต่อมาว่า ประชาชนในชุมชนบ้าน หลุกใต้ ผู้คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมีแหล่งที่เป็นยึด เหนี่ยวทางจิตใจคือ วัดบ้านหลุก พระธาตุบ้านหลุก เป็น ศาสนสถานศูนย์กลางของชุมชน เจ้าอาวาสวัดบ้านหลุก คือ พระครูไพโรจน์-ยติกิต สมาชิกในชุมชนได้มีการรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม นอกจากประชาชน จะนับถือศาสนาพุทธ แต่ยังมีเรื่องราวความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรมที่ธำ รงไว้อยู่และได้สืบทอดกันมาเป็น รุ่นต่อรุ่นและเป็นมากันอย่างยาวนาน ซึ่งสมาชิกในชุมชน มีการรักษาเอกลักษณ์ทางประเพณีและวัฒนธรรมพื้น ภาพที่ 20 กุฏิวัดบ้านหลุกที่มีการสร้างขึ้นจากไม้สัก บ้านดังนี้ โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ ประเพณีวัฒนธรรม วัดบ้านหลุกใต้จะมีประเพณีประจำ ปีคือประเพณีสรงน้ำ พระธาตุวัดบ้านหลุก ซึ่งจัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคมของทุกปี ตรงกับเดือน สี่เป๋ง (นับแบบพื้นเมือง) มีการสรงน้ำ พระธาตุ และการเปลี่ยนผ้าห่มของพระธาตุวัดบ้านหลุกพระภิกษุสามเณรในวัดบ้านหลุก และสมาชิก ในชุมชนบ้านหลุกจะมีการเตรียมสิ่งของและจัดเตรียมงานสรงน้ำ พระธาตุ สมาชิกในชุมชนได้มีส่วนร่วมและได้ร่วมทำ บุญประเพณีสรงน้ำ พระ ธาตุโดยจะมีการจัดงานขึ้นในทุกๆปี เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตของสมาชิกในชุมชนและเป็นการร่วมทำ บุญร่วมกันของสมาชิกในชุมชน ประเพณีวัฒนธรรม วัดบ้านหลุกใต้จะมีประเพณีประจำ ปีคือประเพณีสรงน้ำ พระธาตุวัดบ้านหลุก ซึ่งจัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคมของทุกปี ตรงกับเดือน สี่เป๋ง (นับแบบพื้นเมือง) มีการสรงน้ำ พระธาตุ และการเปลี่ยนผ้าห่มของพระธาตุวัดบ้านหลุกพระภิกษุสามเณรในวัดบ้านหลุก และสมาชิก ในชุมชนบ้านหลุกจะมีการเตรียมสิ่งของและจัดเตรียมงานสรงน้ำ พระธาตุ สมาชิกในชุมชนได้มีส่วนร่วมและได้ร่วมทำ บุญประเพณีสรงน้ำ พระ ธาตุโดยจะมีการจัดงานขึ้นในทุกๆปี เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตของสมาชิกในชุมชนและเป็นการร่วมทำ บุญร่วมกันของสมาชิกในชุมชน 8


ภาพที่ 22 แห่ไม้ค้ำ ศรี (ชุมชนบ้านหลุกใต้) โดย เเผนพัฒนาชุมชน ประเพณีความเชื่อ ประเพณี เลี้ยงผีปู่-ผีย่า ประเพณีเลี้ยงผีปู่ย่า จัดขึ้นช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ โดยจะมีกิจกรรมการรดน้ำ ดำ หัวผู้ใหญ่ในชุมชนบ้านหลุกใต้ และจะมีการเลือกวันใดวันหนึ่งที่ไม่ตรงวันพระตามปฏิทิน โดยปีนี้ประเพณีเลี้ยงผีปู่-ผีย่าทางชุมชนบ้านหลุกใต้ จัดขึ้นในวันที่ 14 เมษายน 2558 ร่วมกับการทอดผ้าป่าสำ นึกรักบ้านเกิดของชุมชนบ้าน- หลุกใต้เพื่อเป็นการให้ลูกหลานของสมาชิกใน ชุมชนที่กลับมายังชุมชน ในการทำ การเลี้ยงผีปู่-ผีย่า ในประเพณีนี้จะมีร่างทรง (ม้านั่ง) ของผีปู่ผีย่า คือ คุณยายศรีปัน โสภา แปง เป็นสมาชิกในชุมชนบ้านหลุกใต้ที่มีความเชื่อและความศรัทธาให้ความเคารพนับถือในเรื่อง ผีปู่-ผีย่า และสมาชิกใน ชุมชนบ้านหลุกใต้ให้ความเคารพนับถือกันกันเป็นอย่างมาก โดยก่อนหน้าที่จะมีการจัดประเพณีการเลี้ยงผีปู่-ผีย่าสมาขิก ชุมชนบ้านหลุกใต้ จะมีการเปลี่ยนขันดอกดอกไม้ขันอัญเชิญของพ่อเฝ้าบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล ปกป้อง รักษาชุมชนบ้าน หลุกใต้ ผู้คนภายในชุมชนนิยมมาสักกาบูชาและขอพรจาก ผีปู่-ผีย่า ในเรื่องการประกอบอาชีพการค้าขาย การเดินทางไปต่างจังหวัด ความปลอดภัย ประเพณีแห่ไม้ค้ำ ศรี ประเพณีแห่ไม้ค้ำ ศรี จัดขึ้นในเดือนเมษายนของทุกปี ซึ่งแต่ละปีจะมีการกำ หนดวันไม่ตรงกัน สำ หรับในปีนี้ชุมชน บ้านหลุกใต้จัดขึ้นในวันที่ 15 เมษายน 2558 โดยจะมีกิจกรรมสรง น้ำ พระในวัดบ้านหลุกและในแต่ละหมวดของชุมชนทั้งหมด 26 หมวด จำ นวน 3 หมู่บ้านจะมีการแห่ไม้ค้ำ ศรีไปยังวัดบ้านหลุกใต้ โดยจะนำ ไม้ค้ำ ศรีไปค้ำ ต้นโพธิ์ของวัดเพื่อความเป็นสิริมงคล และมี วัตถุประสงค์เพื่อซ่อมแซม หรือ สมทบทุนให้กับวัดบ้านหลุกหรือ กิจกรรมต่าง ๆ ภายในชุมชนบ้านหลุกใต้ ซึ่งจะมีการประชุม และหาข้อตกลงในการจัดงาน ภาพที่ 22 ประเพณีเลี้ยงผีปู่ย่า โดย payat.com ภาพที่ 23 เครื่องไหว้เลี้ยงผีปู่ย่า โดย payat.com ภาพที่ 21 ผีตาโขน (ชุมชนบ้านหลุกใต้) โดย เเผนพัฒนาชุมชน ภาพที่ 24 แห่ไม้ค้ำ ศรี (ชุมชนบ้านหลุกใต้) โดย เเผนพัฒนาชุมชน 9


ความเชื่ชื่ชื่ ชื่ อ ชื่ อ ชื่ อของชุชุชุชุ ม ชุ ม ชุ มชนบ้บ้บ้ บ้ า บ้ า บ้ านหลุลุลุลุ ก ลุ ก ลุ กใต้ต้ต้ ต้ต้ต้ สมาชิกในชุมชนบ้านหลุกใต้ มีความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำ หมู่บ้าน การเคารพการสักการบูชา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้กับสมาชิกในชุมชนการขอพรเพื่อให้ปกป้องคุ้มครองตนเองและชุมชน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้ก่อให้เกิดประเพณีที่เกิด ขึ้นในชุมชนเพื่อเป็นการระลึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของหมู่บ้านที่สมาชิกในชุมชนมีความเชื่อว่า สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้คอยปกป้องคุ้มครองตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้มีความกินดีอยู่ดี อยู่เย็นเป็นสุข ไม่มีปัญหาภายในชุมชน ซึ่งความเชื่อดังกล่าวเป็นสิ่งที่สืบทอดกันมายาวนานตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่ก็เป็นความเชื่อที่บางคนเชื่อ ก็จะให้ความสำ คัญเป็นอย่างมาก ส่วนบางคนที่ไม่เชื่อก็จะไม่เข้าร่วมพิธีต่าง ๆ แต่ไม่ได้มี การลบหลู่ใด ๆ เกิดขึ้น เนื่องจากถือว่าเป็นความเชื่อส่วนบุคคล เจ้าพ่อพญาน่าน เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สมาชิกในชุมชน เรียกกันว่าผีบ้านผีเรือนของชุมชนบ้านหลุกใต้ แต่เดิมเจ้าพ่อ พญาน่านเป็นคนชาวจังหวัดน่าน และอพยพย้ายถิ่นฐานมา หลายชุมชนจนมาถึงชุมชนบ้านหลุกใต้จังหวัดลำ ปาง โดยเจ้า พ่อพญาน่านเป็นที่เคารพ และศรัทธาของสมาชิกในชุมชนบ้าน หลุกใต้มาหลายรุ่น ในเรื่องของการปกปักรักษาสมาชิกในชุมชนบ้านหลุกใต้ และมีเจ้าพ่อบ้านที่ปกปักรักษาชุมชนบ้านหลุกใต้เช่นกันอีก หนึ่งองค์ แต่ทั้งสองเจ้าพ่อมีความแตกต่างกัน คือ เจ้าพ่อบ้าน จะปกปักรักษาสมาชิกที่อาศัยอยู่ชุมชนบ้านหลุกใต้ทั้งหมด แต่ เจ้าพ่อพญาน่านจะปกปักรักษาสมาชิกในบ้านของแต่ละบ้าน (ผีบ้านผีเรือน) ในชุมชนบ้านหลุกใต้และยังกระจายอยู่ในชุมชน อื่น ๆ อีกด้วย ซึ่งร่างทรงของเจ้าพ่อพญาน่าน คือ คุณยายใส ซึ่งแต่เดิมเจ้าพ่อพญาน่านมีร่างทรงมาก่อนแล้วและได้เปลี่ยน ร่างทรงมาเรื่อย ๆ ความเชื่อเรื่องเจ้าพ่อพญาน่าน ภาพที่ 25 ยายใสยกขันขึ้นเพื่ออัญเชิญเจ้าพ่อเข้าสู่ร่าง โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ ภาพที่ 26 เจ้าพ่อท้าวพรมแสนเมืองเป็นทำ พิธีให้ยายใส โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ 10


ความเชื่อต้นตะเคียน ชาวบ้านร่ำ ลือกันว่าเมื่อสมัยก่อนวัดบ้านหลุกมีต้นตะเคียนอยู่ 1 ต้น ได้ล้มหัก แช่อยู่ในแม่น้ำ จาง ประมาณ 100 ปี ต่อมาชาวบ้านได้หาลือ และช่วยกันนำ ซากต้นตะเคียนที่ผุพังขึ้นมาจากน้ำ ขุดซากไม้มาไว้ที่ข้าง วัดบ้านหลุกเป็นเวลาประมาณ 10 กว่าปี ชาวบ้านจึงมีความเชื่อว่าต้นตะเคียนมีความศักดิ์สิทธิ์ จึงพากันมากราบ ไหว้ขอพรต่างๆตามความเชื้อของคนในหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน ภาพที่ 27 ต้นตะเคียน โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ ชาวบ้านร่ำ ลือกันว่าเมื่อสมัยก่อนวัดบ้านหลุกมีต้น ตะเคียนอยู่ 1 ต้น ได้ล้มหัก แช่อยู่ในแม่น้ำ จางประมาณ 100 ปี ต่อมาชาวบ้านได้หาลือ และช่วยกันนำ ซากต้น ตะเคียนที่ผุพังขึ้นมาจากน้ำ ขุดซากไม้มาไว้ที่ข้างวัดบ้าน หลุกเป็นเวลาประมาณ 10 กว่าปี ชาวบ้านจึงมีความเชื่อ ว่าต้นตะเคียนมีความศักดิ์สิทธิ์ จึงพากันมากราบไหว้ขอ พรต่างๆตามความเชื้อของคนในหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน ภาพที่ 28 ต้นตะเคียนในอดีต โดย https://shorturl.asia/VwRFn 11


ความเป็นมาของผีเจ้าพ่อบ้าน (เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมือง/เจ้าพ่อแสนมุมเมือง) มีแม่ศรีพันเป็นร่างทรงของ เจ้าพ่อแสนมุมเมืองและพ่อข้อนเป็นร่างทรงของเจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมือง ผู้คนในชุมชนช่วยกันจัดเตรียมของสำ หรับ การประกอบพิธี มีการถวายสิ่งของให้แก่เจ้าพ่อแสนมุมเมือง ตามกำ ลังศรัทธาของตนเอง ม้าทรง เงิน เป็นต้น นอกจากเจ้าพ่อแสนมุมเมืองแล้วยังมีเจ้าพ่อและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตนอื่น ๆเพิ่มขึ้นตามความเชื่อและความเคารพของผู้คน ในชุมชนบ้านหลุกใต้ ความเชื่อเรื่องเจ้าพ่อแสนมุมเมือง ภาพที่ 29 ร่างทรงของแม่ศรีพัน (ขวาสุด) และร่างทรงองค์อื่น ๆ ในพิธีการเปลี่ยนดอกไม้ให้กับศาลเจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมือง โดย แผนพัฒนาชุมชน ความเป็นมาของผีเจ้าพ่อบ้าน (เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมือง/ เจ้าพ่อแสนมุมเมือง) มีแม่ศรีพันเป็นร่างทรงของเจ้าพ่อแสน มุมเมือง และพ่อข้อนเป็นร่างทรงของเจ้าพ่อท้าวแสนพรม เมืองผู้คนในชุมชนช่วยกันจัดเตรียมของสำ หรับการประกอบ พิธี มีการถวายสิ่งของให้แก่เจ้าพ่อแสนมุมเมือง ตามกำ ลัง ศรัทธาของตนเอง ม้าทรง เงิน เป็นต้น นอกจากเจ้าพ่อแสน มุมเมืองแล้วยังมีเจ้าพ่อ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตนอื่น ๆ เพิ่มขึ้น ตามความเชื่อ และความเคารพของผู้คนในชุมชนบ้านหลุกใต้ ความเชื่ชื่ ชื่ อ ชื่ อเรื่รื่ รื่ อ รื่ องเจ้จ้ จ้ า จ้ าพ่พ่พ่อพ่แสนมุมุมุมุเมืมื มื อ มื อง 12


ภาพที่ 31 เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมืองในร่างของพ่อข้อนกำ ลังฟ้อนดาบ โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ ความเชื่อเรื่องเจ้าพ่อท้าวเเสนพรมเมือง เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมือง เป็นผู้ที่ชาวบ้านมีความเชื่อ ว่าเจ้าพ่อเป็นผู้ที่คอยดูแลปกป้องชุมชนบ้านหลุกใต้ ให้ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่ดี คอยให้ความช่วยเหลือสมาชิก ในชุมชนโดยเจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมืองจะมีการแสดงตนใน ร่างของสมาชิกในชุมชน ซึ่งก็คือ พ่อข้อน จากการสัมภาษณ์ พ่อข้อน เจ้าของร่างที่เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมือง เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมืองสามารถช่วยเหลือ สมาชิกในชุมชนได้ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเนื่องจากเจ้า พ่อท้าวแสนพรมเมืองสามารถช่วยเหลือผู้ที่ต้องการ ทำ งานที่อื่นได้เช่น สมาชิกในชุมชนมาขอให้เจ้าพ่อช่วยให้ สอบติดพยาบาล ช่วยให้เป็นข้าราชกาลครู หรืออช่วยไม่ ให้เป็นทหารก็ได้เช่นกันซึ่งเจ้าพ่อจะดูจากการหัก ส้มป่อยใส่น้ำ ตามจำ นวนต่าง ๆ หากเจ้าพ่อสามารถช่วย ได้เจ้าพ่อก็จะบอกว่าจะช่วย แต่ถ้าหากเจ้าพ่อช่วยไม่ได้ เจ้าพ่อก็จะบอกกับผู้ที่มาขอว่าเจ้าพ่อไม่สามารถช่วยได้ ซึ่งความเชื่อที่กล่าวมานี้เป็นความเชื่อของสมาชิกในชุมชน ที่ไม่ทั้งหมดขึ้นอยู่กับการใช้วิจารณญาณของแต่ละบุคคล ในส่วนของเรื่องพิธีกรรม ภาพที่ 30 เจ้าพ่อท้าวแสนพรมเมืองผูกข้อมือให้สมาชิกในชุมชน โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ 13


การนับถือศาสนาและพิธีกรรม ชาวชุมชนบ้านหลุก ตำ บลนาครัว อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนนับถือศาสนาพุทธ โดยคนที่นับถือศาสนาพุทธจะนับถือศาสนาผีควบคู่ไปด้วย ศาสนาแรกและศาสนาเก่าแก่ที่สุดของชาวชุมชนบ้านหลุก ตำ บลนาครัว อำ เภอแม่ทะ จังหวัดลำ ปาง ชาวชุมชนบ้านหลุ กมีการนับถือศาสนาผีควบคู่ด้วยแต่มีการไหว้นับถือแต่ผีที่ดี และเซ่นสรวงผีร้ายเพื่อทำ ให้พอใจและป้องกันไม่ทำ ร้ายผู้คน ศาสนาพุทธมีศาสนสถานเป็นวัด เช่นเดียวกับศาสนาผี ที่มีศาสนสถานที่เรียกว่า ศาลพระภูมิ ผีบ้านผีเรือน ซึ่งมี ลักษณะเหมือนบ้านทั่วไป แต่มีเสาเพียงต้นเดียวโดยไม่มีกฎ เกณฑ์ตายตัว การเลือกขนาด สี และความสูงขึ้นอยู่กับความ พึงพอใจและงบประมาณของเจ้าของบ้าน สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้ คอยปกป้อง คุ้มครองตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้มีความ กินดี อยู่ดี อยู่เย็นเป็นสุข ไม่มีปัญหาภายในชุมชน สมาชิก ภายในชุมชนจึงมีพิธีในการให้ความสำ คัญกับสิ่งศักดิ์เหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็น พิธีเปลี่ยนดอกไม้ ธูป เทียน ให้ศาลเจ้าพ่อบ้าน ศาสนา ภาพที่ 32 วัดบ้านหลุก โดย ผู้เขียน 14


พิธีอัญเชิญเจ้าพ่อพญาน่าน มีการจุดธูปเทียนดอกไม้อัญเชิญ หรือที่สมาชิกชุมชนเรียกกันว่าพิธียกขันเจ้าพ่อพญาน่านและสามารถ มาขอพรจากเจ้าพ่อพญาน่านได้โดยการเตรียมเทียน 12 เล่ม หมากพลู 12 ชุด(จำ นวนขึ้นอยู่กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์แต่ละองค์) ส่วนใหญ่สมาชิกใน ชุมชนจะขอพรจากเจ้าพ่อพญาน่านในเรื่องการเรียนการสอบการย้าย ที่อยู่อาศัยไปยังต่างชุมชนหรือต่างจังหวัด เป็นต้น สำ หรับเจ้าพ่อพญาน่าน จะมีวันห้ามสำ หรับการเข้าร่างทรงและการ ประกอบพิธีคือทุกวันพุธและวันพระโดยประเพณีการยกขันดอกของ เจ้าพ่อพญาน่านจะตรงกับวันขึ้น 5 ค่ำ เดือน 5 ของทุกๆปี โดยจะมีการ ประกอบพิธีและเตรียมของสำ หรับการยกขันเจ้าพ่อพญาน่านจะมีขัน เลขคือ 12 ของที่งดถวายคืองดของสีดำ และละมุดให้กับเจ้าพ่อพญา น่านโดยมีคุณยายใสเป็นร่างทรงของเจ้าพ่อพญาน่าน ภาพที่ 34 ขันดอก โดย https://littleminor.wixsite.com/demo/blank-page-9 ภาพที่ 33 หมากพลู โดย https://shorturl.asia/QwdEB 15 ในส่วนของเรื่อ รื่ งพิธีก ธี รรม


สถานที่สำ คัญภายในชุมชนเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆภายในชุมชนที่มีความสำ คัญกับสมาชิกในชุมชนใน การรวมตัวกันเพื่อทำ กิจกรรมต่างๆ ให้เกิดประโยชน์แก่สมาชิกในชุมชนชุมชนหรือ บุคคล หน่วยงานภายนอก รวม ทั้งเป็นสถานที่สำ หรับพักผ่อนหย่อนใจ หรือเป็นแหล่งการเรียนรู้สำ หรับผู้ที่มาศึกษาดูงานภายในชุมชนได้อีกด้วย ซึ่ง สถานที่สำ คัญของชุมชนบ้านหลุกใต้ ได้แก่ สถานที่สำ คัญภายในชุมชน ภาพที่ 35 กุฏิวัดบ้านหลุกที่มีการสร้างขึ้นจากไม้สัก ภาพที่ 36 เสาของกุฏิมีจำ นวน 101 ต้น โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ วัดบ้านหลุก เดิมที วัดบ้านหลุก สร้างขึ้นที่นายางท่ามกลางป่าใหญ่ดงหนาที่มีพืชนานาพันธุ์ สร้างโดยสมเด็จนายาง ท่านเป็นผู้มีความรู้เชี่ยวชาญในวิทยานิคม ไสยศาสตร์ เป็นผู้นิยมนับถือของชาวเมืองว่าเป็นผู้มีบุญสมภาร มีผู้มา สมัครเป็นลูกศิษย์ และบริวารเป็นจำ นวนมา วัดบ้านหลุกตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของทางที่แม่น้ำ จางไหลผ่านครั้น หนึ่งครูบาเจ้าตนบุญของเชียงใหม่ครูบาเจ้าพรชัยนติบุญแห่งล้านนาแห่งวัดพระบาทสี่รอยท่านได้มาเยี่ยมวัดบ้าน หลุกท่านได้เดินไปดูน้ำ จางซึ่งใสสะอาดจึงมองเห็นเม็ดทรายไหลผ่านท่านจึงได้ใช้ชื่อว่า “บ้านหลุกต่าน้ำ วังใสสะรีจ่อ ต่ากว้าง” หรืออาจจะเป็นเพราะว่าบ้านหลุกเป็นหมู่บ้านเกษตรมีมาแต่เดิมอาชีพทำ นาทำ ไร่จักสานและแกะสลักไม้ และมีภูมิปัญญาชนของชาวล้านนาเป็นจำ นวนมาก ภาพที่ 37 ด้านหน้าของพระอุโบสถวัดบ้านหลุก ภาพที่ 38 ทางเข้าวัดบ้านหลุก โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ 16


ประวัติความเป็นมาของสะพานไม้ (ขัวไม้มุง) การสัญจรไปมาของบ้านหลุกระหว่างสองฝั่งแม่น้ำ จางค่อนข้างลำ บาก ยิ่งถึงฤดูน้ำ หลากไม่ต้องพูดถึง อีกฝั่ง ของลำ น้ำ ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน (บ้านหล่ายต้า) ต้องตัดขาดจากโลกภายนอกเพราะ ไม่มีสะพาน คนฝั่งนี้ ก็ไม่สามารถจะไปทำ การเกษตรได้ เนื่องจากพื้นที่การเกษตร ส่วนใหญ่ของชาวบ้านในสมัยนั้นอยู่ฝั่งทิศตะวันออกของ ลำ น้ำ หรือที่เรียกกันว่า สวนหล่ายต้า ภาพที่ 39 สะพานบ้านหลุกใต้ โดย ผู้เขียน ภาพที่ 41 สะพานไม้ก่อนได้รับการซ่อมแซม โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ ท่านพระครูธรรมจริยคุณ หรือที่ชาวบ้านรู้จัก ท่านในนาม ตุ๊เจ้าคำ ปัน ท่านเป็นพระนักพัฒนาและมี ความคิดกว้างไกล ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือเป็น อย่างมาก ท่านได้เล็งเห็นถึงความลำ บากของชาวบ้าน ที่มีอุปสรรคในเรื่องการสัญจรไปมาข้ามลำ น้ำ จาง จึง ได้มีแนวคิดที่จะทำ สะพานข้างลำ น้ำ จางขึ้น ในตอนนั้น ท่านก็ได้ปรึกษาหารือชาวบ้านหลุก โดยสมัยนั้นมีพ่อ หลวงก๋องคำ รินคำ เป็นผู้ใหญ่บ้าน มีมติว่าจะช่วยกัน สร้างสะพานไม้ เพื่อให้ชาวบ้านได้สัญจรข้ามไปมา ภาพที่ 40 สมาชิกในชุมชนช่วยกันซ่อมแซมสะพานไม้ โดย แผนพัฒนาชุมชนบ้านหลุกใต้ ภาพที่ 42 สะพานไม้เก่า (ปัจจุบัน) โดย ผู้เขียน 17


ลานเอนกประสงค์ของชาวบ้านหลุกหรือลานหลุก ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ จางทางด้านทิศตะวันออก ตรงข้าม กับวัดบ้านหลุก โดยมีสะพานไม้เก่าแก่ทอดยาวข้ามสองฝากฝั่ง ซึ่งชาวบ้านยังใช้สะพานนี้สัญจรไปมาอยู่ทุกวัน ซึ่ง แต่เดิมพื้นที่บริเวณนี้ค่อนข้างรกร้าง ในปี พ.ศ. 2557 บ้านหลุกใต้ หมู่12 ได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้าน OTOP เพื่อ การท่องเที่ยว ซึ่งกรม-พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณนี้ โดยการนำ ของ นายณรงค์วงศ์กันทะ กำ นันตำ บลนาครัว และชาวบ้านหลุกทั้ง 3 ชุมชน ต่างพร้อมใจกันพัฒนาปรับปรุงจาก พื้นที่รกร้างกลายเป็นลานเอนกประสงค์โล่งกว้าง นอกจากนี้ยังมีการสร้าง “หลุก” หรือระหัดวิดน้ำ ขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของชุมชนตามชื่อหมู่บ้าน และเรียกพื้นที่บริเวณนี้ว่า“ลานหลุก” ปัจจุบันชาวบ้านได้ ใช้ประโยชน์จาก“ลานหลุก” เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจและ เป็นสถานที่สำ คัญเพื่อจัดกิจกรรมสันทนาการต่างๆของ ชุมชนรวมทั้งยังเป็นจุดสำ คัญ ในการต้อนรับนักท่องเที่ยว อีกแห่งหนึ่งของบ้าน หลุกอีกด้วย ภาพที่ 43 หลุกจำ ลองที่ใช้สำ หรับวิดน้ำ โดย แผนพัฒนาชุมชน ภาพที่ 44 บริเวณลานหลุก โดย แผนพัฒนาชุมชน ลานหลุก 18


ขั้นตอน และกระบวนการแกะสลักไม้ บทที่ 3


บทที่ 3 ขั้น ขั้ ตอนกระบวนการแกะสลัก ลั ไม้ 1.ประเภทและชนิดของไม้ ชุมชนบ้านหลุกส่วนมากเป็นการแกะสลักรูปลอยตัว เป็นการแกะสลักไม้ที่มองเห็นได้รอบด้าน มักแกะเป็น พระพุทธรูป รูปคน สัตว์ หรือรูปตามคตินิยม ฯลฯ ไม้ที่ส่วนมากนำ มาใช้แกะสลักได้แก่ ไม้สัก ไม้จามจุรี ไม้ตะเคียน เนื่องจากเป็นไม้ที่หาได้ง่ายและง่ายต่อการแกะสลักเพราะมีเนื้อไม้อ่อนทำ ให้แกะสลักได้เร็ว ภาพที่ 45 ขอนไม้สัก ภาพที่ 46 ขอนไม้จามจุรี (ฉำ ฉา) โดย ผู้เขียน โดย ผู้เขียน ภาพที่ 47 หัวช้างลายไทย ภาพที่ 48 ฐานของช้าง โดย ผู้เขียน โดย ผู้เขียน 2.การต่อลายการย้อมสีไม้ การต่อลายเป็นอีกหนึ่งขั้นตอนที่สำ คัญมากในการแกะสลัก เพราะว่าต้องต่อให้สมส่วนพอดีกับรูปแบบที่ได้ ออกแบบเอาไว้และที่สำ คัญอีกอย่างคือต้องต่อให้เนียนและแน่นเพื่อที่เวลาลงมือแกะสลักไม้จะได้ไม่หลุดหรือแยก ออกจากกันชิ้นงานส่วนใหญ่ของชาวบ้านจะไม่มีการย้อมสีไม้หรือทาสีชิ้นงาน เพราว่าลูกค้าที่เข้ามาสั่งส่วนมาก ต้องการนำ กลับไปลงสีตามที่ตัวเองต้องการ แต่ก็มีบางกลุ่มที่ต้องทำ การทาสีให้เรียบร้อยก่อนส่งสินค้าให้กับลูกค้า 19


ภาพที่ 50 การเตรียมชิ้นส่วนช้าง โดย ผู้เขียน ภาพที่ 49 ขอนไม้จามจุรี1 โดย ผู้เขียน 20 3.วิธีการแกะสลักไม้ การแกะสลักจำ เป็นต้องมีวิธีการที่แปลกแตกต่างกันออกไปแล้วแต่สภาพของความชำ นาญของช่างรวมถึงเนื้อไม้ ที่จะใช้ในงานแกะสลัก เช่น การแกะช้าง วิธีการแกะจึงต้องมีเทคนิควิธีการที่หลากหลายทั้งการใช้มีดในการแกะตาม ร่องของไม้ เพราะการยึดไม้หลายแผ่นเข้าด้วยกัน แต่อาจจะเรียงต่อกันโดยยึดพอที่จะแกะ เสร็จแล้วจึงถอดเป็นชิ้น ส่วนนำ ขึ้นไปประกอบทีละแผ่น จนเป็นรูปร่างขึ้นมา การแกะสลักไม้ช่างแกะต้องใช้ความชำ นาญและจินตนาการ สร้างสรรค์ เริ่มจากเลือกสรรค์ไม้ที่จะแกะสลักจนได้ลักษณะตามต้องการ ค่อยแกะจากโครงร่างคราวๆบรรจงแกะไม้ จนค่อยๆเป็นรูปเป็นร่าง แล้วค่อยเก็บรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ ให้ดูพิถีพิถันมากยิ่งขึ้น


วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แกะสลัก ชุมชนบ้านหลุกส่วนมากเป็นการแกะสลักรูปลอยตัว เป็นการแกะสลักไม้ที่มองเห็นได้รอบด้าน มักแกะเป็นพระพุทธรูป รูปคน สัตว์ หรือรูปตามคตินิยม ฯลฯไม้ที่ส่วนมากนำ มาใช้แกะสลักได้แก่ ไม้สัก ไม้จามจุรี ไม้ตะเคียน เนื่องจากเป็นไม้ที่หาได้ง่าย และง่ายต่อการแกะสลักเพราะมีเนื้อไม้อ่อนทำ ให้แกะสลักได้เร็ว ไม้ที่นิยมนำ มาใช้ในงานแกะสลัก ได้แก่ ไม้สัก, ไม้จามจุรี (สำ สา), ไม้ตะเคียน เป็นไม้ที่ไม่แข็งเกินไปหาได้ง่าย และเป็นไม้ที่ไม่ผิดกฎหมาย มีลายไม้สวยงาม สามารถแกะลายต่างๆได้ง่าย หดตัวน้อย ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศและปลอดภัย จากปลวก มอดและแมลง ไม้ที่นิยมรองลง มาคือ ไม้โมก ไม้สน ที่สำ คัญคือ ไม้ที่นำ มา ทำ การแกะสลักจะต้องไม่มีตำ หนิ เพราะ จะทำ ให้งานชิ้นนั้นขาดความสวยงาม สิ่ว เป็นเครื่องมือที่สำ คัญที่สุดในการแกะสลัก มีหลายชนิดได้แก่ สิ่วขุด สิ่วฉาก สิ่วขมวดสิ่วเล็บมือ สิ่วทำ จากเหล็กกล้าที่แข็งและเหนียว ที่สำ คัญคือจะ ต้องลับให้คมอยู่เสมอ มีด เป็นมีดเล็กๆ ปลายแหลม ใช้แกะลาย เล็กๆ หรือแกะร่อง เลื่อย ใช้ในการเลื่อยไม้ส่วนที่ไม่ ต้องการออกไป เพื่อขึ้นรูปหรือขึ้นโครงของงาน ภาพที่ 51 ขอนไม้สัก1 โดย https://shorturl.asia/ntOUd ภาพที่ 52 สิ่วแกะสลักไม้ โดย ผู้เขียน ภาพที่ 53 บุ้งหรือตะไบ โดย ผู้เขียน ภาพที่ 54 มีด โดย https://shorturl.asia/ho0b1 21 21 บุ้งหรือตะไบ ใช้ถูตกแต่งชิ้นงานในขั้นตอนหลังจากแกะสลักแล้ว


กบไสไม้ ใช้ไสไม้ให้เรียบก่อนลงมือ แกะหรือตกแต่งอื่นๆภายหลัง กระดาษทราย ใช้ขัดตกแต่งชิ้นงาน หลังจากแกะสลักแล้ว เครื่องมือประกอบอื่นๆ ได้แก่ ไม้บรรทัด ดินสอ กระดาษลอกลาย กระดาษแข็งทำ แบบ วัสดุตกแต่ง ได้แก่ ดินสอพอง แลกเกอร์ แชล แลก น้ำ มันลินสีด ทินเนอร์ หรือสีทาไม้ ภาพที่ 55 กบไสไม้ โดย https://shorturl.asia/y4uMA ภาพที่ 56 กระดาษทราย โดย https://shorturl.asia/NwA4m ภาพที่ 57 สว่านใช้เจาะรูไม้ โดย https://shorturl.asia/QyYol 22 วัส วั ดุอุปกรณ์ที่ใ ที่ ช้แกะสลัก ลั (ต่อ) สว่าน ใช้เจาะรูไม้เพื่อแกะหรือฉลุไม้


ลายที่นิ ที่ นิ ยม ลายที่นิยมในการแกะสลักนั้นบางครั้งขึ้นอยู่กับ ลูกค้าที่เข้ามาสั่งบางคนก็มีลูกค้ากลุ่มเดิมที่เข้ามาสั่งซ้ำ ๆ เช่นลายสินค้าของแม่แนน ที่มีการสั่งทำ มากที่สุดคือ ช้าง หัวช้าง โดยที่จะมีลายอดนิยมอยู่สองลายด้วยกัน คือ ลายไทย และลายแอฟริกา ซึ่งสองลายนี้มีความแตก ต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนเลยคือ ลายไทยจะเป็นแบบ เรียบๆ ส่วนลายแอฟริกา จะมีลวดลายคล้ายกับเส้นขน ที่อยู่ตามตัวทั้งตัวขอช้างซึ่งการแกะสลักชิ้นงานแต่ละ ชิ้นนั้นจะใช้เวลาแกะค่อนข้างเร็วตามความชำ นาญของ แต่ละบุคคล เนื้อไม้ และขนาดรายละเอียดของชิ้นงาน ด้วย บางครั้งก็ต้องขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมเพราะช่วง น่าฝนจะไม่สามารถออกไปหาไม้มาแกะสลักตามที่ลูกค้า ต้องการได้ แต่หากจะตัดไม้มาเตรียมไว้ก็กลัวว่าไม้จะ แห้งและแข็งเกินไปทำ ให้ไม่สะดวกในการแกะสลักซึ่งจะ ทำ ให้เสียงงบประมาณ ภาพที่ 60 ลายเเกะสลักแอฟริกา โดย ผู้เขียน ภาพที่ 61 ลายเเกะสลักช้างไทย โดย ผู้เขียน ภาพที่ 59 ลายเเกะสลักบริเวณส่วนรอบดวงตา โดย ผู้เขียน ภาพที่ 58 ลายเเกะสลักบริเวณส่วนหน้างวง โดย ผู้เขียน 23


1. ภาพนูนสูงเป็นการแกะสลักภาพในนูนสูงขึ้นมาเกือบเต็มตัวมีความละเอียดของรูปมากกว่าแบบนูนต่ำ ใช้แกะสลัก ลวดลายประประกอบงานทั่วไป งานแกะชนิดนี้ จึงต้องให้เกิดความงามทั้งด้านหน้าและส่วนที่เป็นด้านข้างงานแกะภาพนูนสูง คืองานแกะหัวสัตว์ หัวช้างไทย หัวช้างแอฟริกา ฯลฯ 2. ภาพลอยตัว เป็นการแกะสลักไม้ที่มองเห็นได้รอบด้านมักแก้เป็นพระพุทธรูป รูปคน รูปสัตว์หรือรูปตาม คตินิยม ฯลฯ งานแกะสลักภาพลอยตัว เช่นแกะสลักรูปช้างไทย ช้างแอฟริกา สิงโต ม้า ฯลฯ ภาพที่ 62 การแกะสลักไม้ภาพนูน โดย ผู้เขียน ภาพที่ 63 พญานาค โดย ผู้เขียน ภาพที่ 64 แกะสลักไม้หัวช้างลายไทย โดย ผู้เขียน ภาพที่ 65 แกะสลักไม้หัวช้างลายแอฟริกา โดย ผู้เขียน 24 การแกะสลักไม้ในชุมชนบ้านหลุกนั้นแต่ละพื้นที่จะไม่เหมือนกัน จะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ดูโดดเด่น กว่าคนอื่นๆ เช่น การแกะสลักไม้ที่ทันสมัยมากขึ้นของพ่อเฟิน มักจะแกะสลักไม่เหมือนกับอื่น เพราะว่าคนส่วนใหญ่ มักจะแกะสลักช้าง หัวช้าง แต่ของพ่อเฟินจะแกะสลักไม้ได้ทุกรูปแบบ คน สัตว์ สิ่งของเครื่องใช้การ์ตูนสมัยใหม่ หรือ ตามที่ลูกค้าต้องการ ตัวอย่างชิ้นงาน เช่น กวนอู ที่ทำ ให้ผลงานของเขาโด่งดังขึ้นมาในแวดวงการแกะสลักไม้ และชิ้น งานอื่นๆ อีกมากมาย ที่แปลกไปจากช้าง ม้า วัว ควาย ที่ชาวบ้านส่วนใหญ่จะแกะสลักไม้ลักษณะของผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลัก บ้านหลุกที่ทำ กันในปัจจุบันอาจจำ แนกตามรูปแบบได้ 5 ลักษณะดังนี้ รูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะที่ของผลิตภัณฑ์


4. แกะสลักแล้วประกอบ เป็นงานที่ชิ้นส่วนหลายชิ้นมาประกอบกัน ส่วนใหญ่จะมีเถาวัลย์เป็นส่วนประกอบ ด้วยงานลักษณะนี้ ได้แก่ นก กระถางดอกไม้ ตะกร้าเถาวัลย์ ดอกทิวลิป รถช็อปเปอร์ 3. งานกลึง เป็นงานขึ้นรูปชิ้นงานด้วยเครื่องกลึงแทนที่จะเป็นสิ่ว และค้อน ผิวงานจะเป็น วงกลมหรือทรงกระบอก ได้แก่ ครก ฉาก ลูกกรงบันได ฐานฉัตรทอง แจกัน รูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะที่ของผลิตภัณฑ์ (ต่อ) ภาพที่ 66 การทำ ครก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 67 ลงสี เก็บรายละเอียดของครก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 68 ส่วนประกอบของงาช้าง โดย ผู้เขียน ภาพที่ 69 หัวช้างไทย โดย ผู้เขียน 25


ภาพที่ 70 งานฉลุช้าง โดย ผู้เขียน ภาพที่ 71 งานฉลุช้าง โดย ผู้เขียน 26 รูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะที่ของผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 5. งานฉลุการวาดภาพลงบนแผ่นไม้ แล้วใช้ใบเลื่อย เลื่อยตามลวดลายที่วาดไว้เพื่อตัดไม้ในส่วนที่ ไม่ต้องการออก เช่น เชิงชาย น้ำ ย้อยสถานที่ตั้ง


ความเชื่อในการแกะสลักไม้ของชุมชนบ้านหลุก ในบางกลุ่มหรือเรียกอีกอย่างนึงว่า (ป๋าง) กลุ่มที่ทำ อาชีพนี้ ไม่ได้มีความเชื่อส่วนตัวในการแกะสลักไม้รูปสัตว์ ช้าง ม้า สิงโต หรือชิ้นงานอื่นๆ แต่บางกลุ่มก็มีความเชื่อเรื่องที่ อยู่เหนือธรรมชาติจึงต้องไหว้หรือขอขมาก่อนที่จะลงมือแกะสลัก เช่น พระพุทธรูป ของพ่อเฟิร์น ที่จะต้องไหว้ครู ก่อนแกะสลักพระพุทธรูปทุกครั้ง 27 ความเชื่อในการเเกะสลัก ภาพที่ 72 พระฤาษี โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 73 พระพุทธรูป โดย https://shorturl.asia/uset6 27


พระพุทธรูป ที่แกะสลักจากไม้ เรียกว่า พระเจ้าไม้ เชื่อกันว่าหากได้กราบไหว้ จะทำ ให้ประสบความสำ เร็จดั่งปรารถนา ในเวลาอันรวดเร็ว ม้า มีธาตุไฟเป็นธาตุธรรมชาติ มีความเชื่อว่าม้าเป็นสัตว์ที่เปี่ยม ไปด้วยพลังและเป็นสัญลักษณ์ ของขุนนาง, ชนชั้นสูง, ความรวดเร็วว่องไว ส่งผลให้ธุรกิจ การค้าการงานประสบความสำ เร็จเร็ว เหมือนฉายา "ม้าเร็ว" การตั้งรูปภาพหรือรูปปั้น ต้องให้หัวม้าหันหน้าเข้าสู่ สำ นักงานหรือร้านค้าโดยยึดประตูเข้าออกเป็นหลัก ลักษณะ ของม้าที่เป็นมงคล คือ ลักษณะที่กำ ลังวิ่งหรือกระโจน ทะยาน ส่วนม้า 8 ตัวหมายถึงความคล่องแคล่ว ว่องไว สิงโต มีลักษณะของความ เป็นเจ้าเป็นผู้นำ ที่มีพลังอำ นาจ ชาวจีน ถือเป็นสัตว์มงคลที่ช่วยปัดเป่า และสลายพลังพิฆาตต่างๆ โดยเฉพาะสำ นักงาน หรือร้านค้าที่อยู่ในตำ แหน่งทางสามแพร่ง ซึ่งถือเป็นทางผ่าน ของสิ่งอัปมงคล สถานที่เหล่านี้มักจะวางสิงโตเพื่อแก้ฮวงจุ้ย และช่วยเรียกโชคลาภ การวางสิงโตจะต้องวางเป็นคู่ โดยวาง สิงโตเพศผู้ไว้ทางซ้ายและเพศเมียไว้ทางขวาที่บริเวณหน้า ประตูของสถานที่นั้นๆให้หันหัวสิงโตออกด้านหน้าเสมอ ค วา ม เชื่อขอ งแต่ล ะตัว ล ะ ค ร ช้าง เป็นสัตว์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมือง คนไทยมาหลายทศวรรษ ทั้งยามรบ และยามสงบ ช้างมีความสำ คัญต่อชาวพุทธเพราะ ถือเป็น สัญลักษณ์แห่งความฉลาดปราดเปรื่อง นอกจากนี้ช้างยัง เป็นสัตว์ที่คอยคุ้มครองพระพุทธเจ้า เพราะเป็นสัตว์ที่มี ความแข็งแรงทั้งทางกายและใจ มักประดับไว้ทางเข้าบ้าน วางหันหน้าออกไปยังประตูบ้านจะช่วยให้มีสิ่งดี ๆ เรื่องดี ๆ เข้ามาในบ้าน องค์กายแก้ว ผู้ที่เคารพบูชาเชื่อว่า องค์ครูกายแก้ว ช่วยเรื่องความสำ เร็จ เงินทองไหลมาเทมา และด้วย ลักษณะที่คล้ายกับนกการเวก สัตว์จากป่าหิมพานต์ที่มี เสียงไพเราะเสนาะหู จึงเชื่อว่าจะช่วยเรื่องการเจรกา ค้าขายกำ ไรดี รูปแกะสลักไม้หญิงไทย เชื่อว่าทำ งานคล่องแคล่ว มีเสน่ห์ เสริมให้ ธุรกิจราบรื่น และทำ ให้การเงินราบรื่น ไม่ ติดขัดอะไร 28 ภาพที่ 74 ช้าง โดย ผู้เขียน ภาพที่ 75 ม้า โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 76 สิงโต โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 77 พระพุทธรูป โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 78 องค์กายก้ว โดย ผู้เขียน ภาพที่ 79 รูปแกะสลักไม้หญิงไทย โดย https://shorturl.asia/uset6


พญานาค เป็นความเชื่อในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรียกชื่อต่าง ๆ กัน แต่มีลักษณะร่วมกัน คือ เป็นงูขนาดใหญ่มีหงอน เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา อีกทั้งยังเป็น สัญลักษณ์ของบันไดสู่จักรวาลอีกด้วยต้นกำ เนิดความเชื่อเรื่องพญานาค มักมีไว้ประดับบ้านแล้ว จะทำ ให้จะอยู่กับที่ อันสูงส่ง เนื่องจากเป็นเทพแห่งสายน้ำ เหมาะสำ หรับกิจการค้าขาย การลงทุนที่เกี่ยวกับการลื่นไหลเช่น เรือการเดิน ทางเรือ หรือการค้าต่างๆ ไม่ให้ติดขัด การตัดต้นไม้ต้องมีการไหว้ขอขมาต้นไม้ก่อนจะตัดด โดนนำ ของเซ่นไหว้จุดธูปบอกกล่าวก่อนจะตัดไม้ เชื่อว่า เป็นการขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์เทพารักษ์สิงสถิตอยู่ต้นไม้ หากไม่ขอขมาเชื่อว่าอาจจะป่วย ทำ อะไรไม่ขึ้น หรือถึงขั้นเป็น หนักถึงตายได้ คนภาคเหนือจะมีฤกษ์ยามวันตัดไม้เรียกว่าวันดีวันเสีย ขึ้น11 ค่ำ วันบ่ลอด ตรงกับวันพุธ เชื่อว่าเป็นวันดี ขึ้น 14 ค่ำ วันริตตาดิถี วันเสาร์ เชื่อว่าเป็นวันดีมาก วันเมืองเหม้า ไม่ควรตัดต้นไม้ โดยจะดูปฏิทินชาวล้านนาก่อนตัดต้นไม้ หรือทำ การค้าขาย ค วา ม เชื่อขอ งแต่ล ะตัว ล ะ ค ร (ต่อ ) 66 29 ภาพที่ 80 พญานาค โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 81 ปฏิทินชาวล้านนา โดย https://shorturl.asia/coEwt


เมื่อทำ การแกะสลักชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยตามกำ หนดการแล้ว ชาวบ้านจะมีวิธีการขนส่งจำ หน่ายทีแตก ต่างกันไป บางกลุ่มก็ให้ลูกค้ามารับตามที่ตกลงกัน บางกลุ่มก็ขนใส่รถส่วนตัวขึ้นไปให้ลูกค้าเองถึงที่ ส่วนบางกลุ่ม ก็นัดรับกันคนละครึ่งทาง และกลุ่มสุดท้ายจะมีการจัดส่งทางขนส่ง เช่น บริการขนส่งเคอรี่ แฟลช และขนส่งทาง ไปรษณีย์ หรือขนส่งอื่นๆ ให้มีการเคลื่อนย้าย สิ่งของ ด้วยการขนส่งจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ตามความประสงค์ และเกิดอรรถประโยชน์ตามความต้องการของอีกฝ่าย ซึ่งกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นคนในจังหวัดที่อยู่ใกล้เคียงกัน เช่น เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา พิษณุโลก และจังหวัดอื่น ๆ อีกที่ต้องการสินค้า วิวิวิ วิ ธี วิ ธี วิ ธี ธี ก ธี ก ธี การจัจัจั จั ด จั ด จั ดส่ส่ส่ ส่ ง ส่ ง ส่ ง 30


ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ ภาพที่ 82 กวนอู โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 83 พระพุทธรูปไม้ โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 84 ช้างไทย โดย ผู้เขียน ภาพที่ 85 ภาพเสมือนมนุษย์ โดย ผู้เขียน 31


ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 32 ภาพที่ 86 พระพุทธรูปบรรทม โดย https://shorturl.asia/uset6 ภาพที่ 87 บานประตู โดย https://shorturl.asia/uset6


การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น บทที่ 4


วิธีการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นบ้านหลุก เริ่มแรกของการนำ อาชีพแกะสลักไม้เข้ามาถ่ายทอดโดยพ่อสล่าจันดี แก้วชุ่ม เป็นคนนำ มาคนแรก โดยไปขาย ของที่เชียงราย พ่อสล่าจันดี แก้วชุ่ม ได้ไปเจอของแกะชิ้นหนึ่งซึ่งเป็นรูปสิงโตหรือรูปเสือ จากนั้นท่านเกิดความสนใจ จึงนำ ตัวอย่างมาลองหัดแกะดู จึงทำ ให้ได้เริ่มขายได้ชิ้นสองชิ้น เมื่อเกิดผลดีตามมา บ้านระแวกใกล้เคียงของ พ่อสล่าจันดี แก้วชุ่ม เห็นจึงเกิดความสนใจตามไปด้วย จึงได้ทำ การเลียนแบบเพื่อนำ มาขายต่อยอดเป็นอาชีพ แกะสลัก พ่อสล่าจันดี แก้วชุ่ม จึงได้นำ มาสอนต่อจึงได้เกิดมาเป็นภูมิปัญญาที่สืบต่อจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงทุกวันนี้ การรักษาการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้าน ไม่สามารถทำ การถ่ายทอดภูมิปัญญาของตนเองได้อย่างเต็มที่ ลอง ให้โอกาสพัฒนาผลงานให้ได้คุณภาพและควรทำ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นที่รู้จักและเกิดการยอมรับอย่างแพร่หลาย เพื่อ เป็นแบบอย่างและกระตุ้นประชาชนในท้องถิ่นมีความภูมิใจ มั่นใจ ทำ ให้เกิดความศรัทธา ยอมรับความคิดของ บุคคล 2. สรรหาบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในแต่ละสาขาวิชาที่มีความรู้ประสบการณ์จนเกิดความชำ นาญในอาชีพที่ กระทำ นั้น ๆ ซึ่งโดยทั่วไปชาวบ้านจะไม่คุ้นเคยกับการประชาสัมพันธ์ตัวเองรัฐหรือองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องควร ให้การสนับสนุน สร้างโอกาสให้แก่บุคคลในท้องถิ่น วิธีการ คือ การคัดเลือกการประกวดหรือการแสวงหาโดยต้อง ทำ การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและผลงานของบุคคลนั้นเพื่อทำ การเผยแพร่ให้สาธารณชนได้รู้จัก ซึ่งกระบวนการสรรหาบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นทำ ให้บุคคลมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไป 3. การรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ที่มีบทบาทในการดำ เนินงานควรมีการประสานงานกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัด ศูนย์วัฒนธรรมอำ เภอ องค์กรของรัฐและเอกชน มหาวิทยาลัย ที่อยู่ตาม ภูมิภาคต่างๆ เป็นต้น เพื่อขอความร่วมมือและเก็บรวบรวมข้อมูลตามหมู่บ้านตำ บล อำ เภอ และจังหวัดต่างๆทั่ว ประเทศ โดยการออกสำ รวจตามพื้นที่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและชัดเจน หลังจากนำ มาจัดพิมพ์ในรูปของ สื่อสาร สนเทศประเภทต่างๆ รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หนังสือ จุลสาร วารสาร ห้องสมุดดิจิทัลภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ ทำ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในวงกว้างยิ่งขึ้น 4. ส่งเสริมการเผยแพร่ เมื่อมีการเลือกสรรภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีลักษณะเด่น ๆ ของแต่ละสาขาแล้วเรียบร้อย ควร พิจารณาสื่อที่จะใช้ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ตามวัตถุประสงค์และความเหมาะสม เพื่อให้ผู้รับมีโอกาสได้รู้จัก และศึกษาหาความรู้ โดยสามารถนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ 33 การถ่ายทอดภูมิปัญญาบ้านหลุก เป็นการถ่ายทอดจากการเล่าปากต่อปากหรือที่เรียกว่า มุขปาฐะ เป็นการสื่อสารที่เกิดจากความรู้สึกทางบวกส่งต่อไปยังบุคคลอื่น สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น จากบรรพบุรุษสู่ ลูกหลาน การนำ ไม้มาแกะสลักถือเป็นภูมิปัญญาอย่างหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างรายได้และยังเป็นการกระตุ้นการ ยกระดับคุณค่าให้แก่ชุมชน เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เน้นการถ่ายทอดจากการเลียนแบบการจดจำ การแกะสลัก สื่อให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของไทยที่คงอยู่มาอย่างยาวนาน ารถ่ายทอดภูมิปัญญา บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น


5. สนับสนุนให้มีการศึกษาค้นคว้าและวิจัย เพื่อให้เกิดมีการศึกษาค้นคว้าและวิจัยโดยนำ ผลจากการทดลองสรุปเป็น องค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้แล้วนำ ผลจากการวิจัยมาใช้เพื่อปรับปรุงเสริมสร้างภูมิปัญญา ให้มีการยอมรับ หรือปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภพาแวดล้อมในปัจจุบัน ซึ่งจะส่งผลต่อประชาชนที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญานั้น เช่น การมีรายได้ มีชื่อเสียง สังคมยอมรับ เป็นต้น 6. สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ควรให้มีการถ่ายทอดมวลความรู้แก่นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลที่ มีความสนใจทั่วไป ได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาหาความรู้เพื่อทำ การสืบทอดความรู้เหล่านั้นให้คงอยู่ต่อไป หรือเป็นการ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ต่อกัน เพื่อนำ ผลที่ได้ไปปรับปรุง พัฒนาตนเองให้ดีขึ้น การสนับสนุนจากรัฐหรือ องค์กร สมาคม กลุ่มสมาชิกต่าง ๆ ควรร่วมมือประสานงานกัน เพื่อให้ผู้สนใจศึกษาเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 7. จัดทำ เป็นหลักสูตรทางการศึกษา ควรมีการจัดหลักสูตรหรือบรรจุเพิ่มเนื้อหาด้านภูมิปัญญาไว้เป็นสาระในการ เรียนการสอนในทุกระดับ โดยเน้นให้เยาวชนได้เรียนรู้และตระหนักถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ เพื่อร่วมกันอนุรักษ์ และสืบทอดต่อไป 8. การร่วมมือกันระหว่างของรัฐและเอกชน ทั้งภาครัฐและเอกชน ควรเข้ามามีบทบาทในการทำ งานร่วมกันอย่าง แท้จริง เช่น ดำ เนินการให้มีการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาอย่างจริงจัง ส่งเสริมให้มี การเผยแพร่อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ เป็นต้น 9. การสนับสนุนจากรัฐบาล รัฐบาลควรให้ความสำ คัญต่อการดำ เนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ส่งเสริม คุ้มครอง และเผยแพร่ ควรมอบหมายให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบทำ งานอย่างจริงจังติดตามและประเมินผลงาน และรัฐควรกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความรัก ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของบรรพบุรุษตนเอง 10. สนับสนุนคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรพิทักษ์รักษาผลประโยชน์อันพึงมีพึงได้ ของประชาชนต่อภูมิปัญญาที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ การจดสิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ เป็นต้น เพื่อเป็นผลคุ้มครองทาง กฎหมาย 34 บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น(ต่อ)


ภูมิปัญญาท้องถิ่น 1.การทำ บายศรี บายศรี คือ เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญต่าง ๆ ในพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ ทำ ด้วยใบตอง รูปทรงคล้ายกระทง นำ มาต่อเป็นชั้น ๆ ลดขนาดให้เป็นทรงสอบขึ้นไป มีเสาปักตรงกลาง เป็นแกนสำ หรับเสียบไข่ขวัญที่ปลายยอด และมีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรี มีหลายอย่างบายศรี เป็นการใช้ภูมิปัญญาไทย ใน การสร้างขวัญกำ ลังใจให้แก่ ผู้ได้รับการทำ พิธี บายศรีจึงเป็นของสูง สิ่งมีค่าของไทยมาแต่โบราณ ในงานมงคลทุกงานจะมีพิธีที่มี บายศรีเป็นส่วนสำ คัญ เป็นศาสนพิธีของศาสนาพราหมณ์ คำ ว่าบาย เป็นภาษาเขมร หมายถึง ข้าวสุก ศรี เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง มิ่งขวัญ บายศรี จึงหมายถึง ขวัญข้าว หรือภาชนะใส่เครื่องสังเวย ในชุมชนบ้านหลุกมักใช้กับประเพณีพระเจ้าไม้แก่น จันทร์ เป็นประเพณีที่จัดขึ้นในเขตนาครัวถึงเขตชุมชนบ้านหลุกซึ่งเป็นพิธีกรรมความเชื่อคนคนในหมู่บ้านหลุกเรื่องการขอฝนและ อีกประเพณีที่มีกใช้บายศรีในพิธีคือประเพณีปี๋ใหม่เมือง ชุมชนบ้านหลุกมักจะมีการขนทรายเขาวัด การรดน้ำ ดำ หัวผู้สูงอายุ เพื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว นอกจากนั้นการทำ บายศรีนั้นก็มีประโยชน์ในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่คนในชุมชน เสริมสร้างและยกระดับชุมชนไปอีกขั้นและช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนอีกด้วย ภาพที่ 88 บายศรีสู่ขวัญ โดย ท่องเที่ยวเรียนรู้ภูมิปัญญาล้านเชิงหัตถกรรม 35 บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น(ต่อ)


2.การทำ ตุง ตุง เป็นภาษาถิ่นประจำ ภาคเหนือ แปลว่าธงที่ใช้สำ หรับแขวนแบบหนึ่งในศิลปะล้านนา สามารถพบเห็นได้ใน ภาคเหนือของประเทศไทย โดยคนทางภาคเหนือ จะนำ ตุงมาใช้เป็นเครื่องประดับ หรือประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทั้ง ทางศาสนา ประเพณี งานเทศกาล หรืองานเฉลิมฉลองต่างๆ ตามคติความเชื่อของคนล้านนาเกี่ยวกับตุงที่ทำ ขึ้นเพื่อ ถวายเป็นพุทธบูชา ใช้ในงานพิธีทางศาสนา ทั้งในงานมงคลและอวมงคลในชุมชนบ้านหลุกมักใช้ตุงในการประกอบ ประเพณีปี๋ใหม่เมืองหรือที่เรียกว่าประเพณีสงกรานต์เพื่อความสวยงามเป็นสิริมงคลและเป็นเครื่องบูชาและอุทิศ ถวายเพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา นอกจากนี้ตุงยังใช้ในประเพณีตานข้าวจี่-ข้าวหลาม-ข้าวใหม่ตรงกับเดือนยี่เป็ง สมาชิกในชุมชนจะนำ ข้าวจี่ข้าวหลามเข้ามาถวาย เพื่อความเป็นสิริมงคลต่อตนเองและยังถือเป็นการตอบแทนสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ที่ให้ผลผลิตทางการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์และนอกจากการนำ มาใช้ประกอบประเพณีเพื่อความเป็นสิริ มงคล ตุงยังมีประโยชน์ในด้านของการลดค่าใช้จ่ายภายในชุมชน ทำ ให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นทั้งยังช่วยยกระดับ ชุมชนและยังเป็นที่รู้จักแก่สังคมภายนอกอีกด้วย ภาพที่ 89 ตุงไชย โดย ท่องเที่ยวเรียนรู้ภูมิปัญญาล้านเชิงหัตถกรรม 36 บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น(ต่อ)


3.การทำ ดนตรีพื้นบ้าน การทำ สะล้อ สะล้อ เป็นเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องสาย ที่ใช้วิธีการเล่นโดยการสี สะล้อ เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่ง เป็นประเภทเครื่องสีซึ่งมีทั้ง 2 สายและ 3 สาย คันชักสำ หรับสีจะ อยู่ข้างนอกเหมือนคันชักซอสามสาย สะล้อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทร้อ หรือ ซะล้อ มีรูปร่างคล้ายซออู้ของภาคกลาง ใช้ไม้แผ่นบาง ๆ ปิดปากกะลาทำ หลักที่หัวสำ หรับพาดทองเหลือง ด้านหลังกะโหลกเจาะเป็นรูปลวดลายต่าง ๆ เช่น รูปหนุมาน รูปหัวใจ ส่วนด้านล่างของกะโหลก เจาะทะลุลง ข้างล่าง เพื่อสอดคันทวนที่ทำ ด้วยไม้ชิงชัน ยาวประมาณ 64 ซม ตรงกลางคันทวนมีรัดอกทำ ด้วยหวาย ปลายคันทวนด้านบนเจาะรูสำ หรับสอดลูกบิด ซึ่งมี 2 หรือ 3 อัน สำ หรับขึงสายซอ จากปลายลูกบิดลงมาถึงด้านกลางของกะโหลกมีหย่องสำ หรับ หนุนสายสะล้อเพื่อให้เกิดเสียงเวลา สี คันชักสะล้อทำ ด้วยไม้ดัดเป็นรูปโค้ง ขึงด้วยหางม้าหรือพลาสติก เวลาสีใช้ยางสนถูทำ ให้เกิดเสียงได้ สะล้อใช้ บรรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงร่วมกับบทร้องและทำ นองเพลงได้ทุกชนิดเช่น เข้ากับปี่ในวงช่างซอ เข้ากับซึง ในวงพื้นเมืองก็ได้ ภาพที่ 90 สะล้อ (โดย ท่องเที่ยวเรียนรู้ภูมิปัญญาล้านเชิงหัตถกรรม) การทำ สะล้อมีประโยชน์ต่อชุมชนในด้านของการเสริมรายได้ทั้งในชุมชนและในครอบครัว ช่วยให้เสริม คุณค่าในชุมชนทำ ให้ชุมชนเป็นที่รู้จัก มีเอกลักษณ์เฉพาะทางที่ไม่เหมือนใคร ทั้งยังช่วยส่งเสริมในเรื่องของการ อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่กับประเพณีของไทยสืบไป 37 บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น(ต่อ)


บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น(ต่อ) ภาพที่ 91 ตระกร้าไม้ไผ่ โดย ท่องเที่ยวเรียนรู้ภูมิปัญญาล้านเชิงหัตถกรรม 4.การทำ ตระกร้าไม้ไผ่ การสานตะกร้าไม้ไผ่นอกจากจะได้ความรู้ ยังเป็นการฝึกสมาธิ ความอดทน ความประณีตละเอียดอ่อน เพราะ การสานทุกขั้นตอนของการวางไม้ไผ่ต้องใช้ความประณีต ใช้พลังจากมือและตาให้สัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา เพื่อไม่ ให้การวางไม้ไผ่ในขณะที่เรากำ ลังใช้เชือกสานนั้นบิดเบี้ยวไปอาจจะส่งผลให้ตะกร้าออกมามีรูปทรงที่ไม่สวยงาม ทั้งนี้ ยังการสานตะกร้าผู้สานจะต้องมีเทคนิคที่แตกต่างกันออกไป เทคนิคในการจัดทำ ตะกร้าไม้ไผ่เริ่มตั้งแต่กระบวนการเลือกไม้ไผ่ โดยจะต้องคัดเลือกไม้ไผ่ที่แก่สามารถสังเกตได้ จากสีของไม้ไผ่เพราะการใช้ไม้ไผ่แก่เวลาเรานำ มาสานมันจะอยู่ทนทานและเหนียวแมลงไม่เจาะเหมือนกับไม้ไผ่ที่ อ่อน การทำ ตระกร้านอกจากจะผ่านกระบวนการหลายขั้นตอนในการผลิตเพื่อความสวยงามและประโยชน์ใน การนำ มาใช้สอยแล้วตระกร้ายังสร้างรายได้เสริมให้แก่คนในชุมชนบ้านหลุกและสร้างรายได้ให้แก่คนในครอบครัวทั้ง ยังลดภาระให้แก่คนในครอบครัวและชุมชนของตนเอง 38


บทที่ 4 การสืบ สื สานภูมิปัมิ ปั ญญาท้องถิ่น(ต่อ) ภาพที่ 94 หัวช้างไม้แกะสลัก โดย ผู้เขียน 5.ผลิตภัณฑ์เด่นของหมู่บ้าน ชุมชนบ้านหลุกมีผลิตภัณฑ์ไม้แกะสลักที่เป็นเอกลักษณ์และได้รับความนิยมอยู่หลายอย่าง โดย มีผลิตภัณฑ์หลัก และผลิตภัณฑ์ที่ขายดี คือ ไม้แกะสลักเป็นรูปหัวช้าง ไม้แกะสลักเป็นรูปสิงโต และไม้แกะสลักเป็นรูปช้าง นอกจากนั้นที่ บ้านหลุกแห่งนี้ยังมีผลิตภัณฑ์อื่น ๆ อีกได้แก่ ครกไม้ โมบายไม้แกะสลักเป็นรูปนกไม้ แกะสลัก เป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ เช่น กิเลน พญานาค ม้า การแกะสลักตัวการ์ตูน เช่น หมีแบลบริคและยังมีการแกะสลักเป็นรูปหัวสัตว์ เช่น หัวกวาง หัวม้า และหัวสิงโต ภาพที่ 96 พญานาคแกะสลัก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 95 หมีแบร์บลิคแกะสลัก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 93 กิเลนแกะสลัก โดย ผู้เขียน ภาพที่ 92 ช้างไม้แกะสลัก โดย ผู้เขียน 39


สรุปข้อมูลการศึกษาคติชน บทที่ 5


Click to View FlipBook Version