ที่ตงั้ อยู่ในพืน้ ทีภ่ ูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทิศเหนือ ติดกับไทย (จังหวัดอุบลราชธานี จงั หวัดศรีสะเกษ
จังหวัดสุรินทร์และจงั หวดั บรุ ีรมั ย์) และลาว ทิศใต้ ติดกบั อ่าวไทย
ทิศตะวนั ออก ติดกบั เวียดนาม ทิศตะวนั ตกติดกบั ไทย (จงั หวัด
สระแกว้ จังหวัดจันทบรุ ี และจงั หวัดตราด)
ภมู ิประเทศมีลักษณะคลา้ ยแอ่งกระทะ พืน้ ที่ตอนกลางประเทศ
เป็นทีร่ าบลุ่มระหว่างแม่น้าโขงกับแมน่ า้ ปาสัค
และมีทะเลสาบขนาดใหญอ่ นั อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติทิศ
เหนือและตะวนั ตกเฉียงใต้เปน็ ทีร่ าบสูงปา่ โปร่ง
ป่าทึบและเทือกเขาสลบั ซบั ซอ้ นเสมือนเปน็ ขอบกระทะ
ภาษาเขมร/กมั พชู า
ระบา้ อัปสรา เทศกาลน้า (Bon Om Tuk)
พิธีแรกนาขวญั สงกรานต์
ในอดีตกมั พูชาเคยตกเปน็ อาณานิคมของ
ประเทศฝร่งั เศส กอ่ นได้รบั เอกราชในปี พ.ศ. 2496
แต่หลงั จากไดร้ บั เอกราชมาแลว้ กเ็ กิดความ
แตกแยกภายในประเทศระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนการ
ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์กบั ฝา่ ยประชาธิปไตย
อย่นู านนบั สิบปีกวา่ ความขดั แยง้ จะยุติลง ปจั จบุ ัน
กัมพูชามีระบอบการปกครองแบบเดียวกบั บ้านเรา
คือ ระบอบประชาธิปไตยแบบรฐั สภา มี
พระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู
การปกครองของกัมพชู า เปน็ ระบอบประชาธิปไตยแบบรฐั สภา
ซึง่ ประกอบไปดว้ ย
สภาแห่งชาติ (National Assembly)
รัฐธรรมนูญกา้ หนดให้มีสมาชิกจา้ นวนไม่นอ้ ยกว่า 120 คน
มาจากการเลือกต้งั ทัว่ ไปทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ทางตรงคือ การลง
คะแนนเสียงเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้งั ท่วั ประเทศ
ทางอ้อมคือการลงคะแนนเสียงลับจากคณะกรรมการ
ชมุ ชนและแขวงทง่ั ประเทศ มีวาระด้ารงต้าแหน่ง 5 ปี
การปกครองของกัมพูชา เปน็ ระบอบประชาธิปไตยแบบรฐั สภา
ซึง่ ประกอบไปด้วย
วุฒิสภา (Senate)
มีสมาชิกมากสุดไม่เกินกึง่ หนึ่งสภาแหง่ ชาติ มาจาร
การแตง่ ตงั้ จากพระมหากษัตริย์ 2 คน จากการ
แต่งตั้งโดยเสียงขา้ งมากของสภาแหง่ ชาติชาติอีก 2
คน และที่เหลือมาจากการเลือกตง้ั ทางออ้ มโดยการ
ลงคะแนนเสียงลับ มีวาระดา้ รงตา้ แหนง่ 6 ปี
นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบนั คือ
สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮนุ เซน
เศรษฐกิจ แบบทนุ นิยมมีนโยบายเปิดเสรีเตม็ ทีย่ งั คงอยใู่ นสถานะประเทศยากจนต้อง
พึ่งพาความช่วยเหลือจากตา่ งประเทศเฉลี่ยปีละประมาณ 500 ล้านดอลลาร์สหรฐั ใน
ปี 2547-2550 เศรษฐกิจกมั พชู าขยายตวั เฉลี่ยถึงปีละ 10% จากการเติบโตของภาค
การทอ่ งเที่ยวการสง่ ออกเสือ้ ผา้ สา้ เรจ็ รูป การเกษตรและการก่อสรา้ ง
แต่เมื่อปี 2551 เศรษฐกิจขยายตวั
ลดลงเหลือ 7% และหดตัว 2.0%
เมือ่ ปี 2552 เนือ่ งจากวิกฤต
เศรษฐกิจโลก และเมือ่ เขา้ สูป่ ี
2553-2555 เศรษฐกิจกมั พูชา
เติบโตต่อเนือ่ งเปน็ ผลมาจากการ
ส่งออกเสื้อผา้ ส้าเร็จรูปและการ
ทอ่ งเทีย่ ว
มีการสง่ ออกสินคา้ สิ่งทอและเกษตรการท่องเทีย่ วรวมถึงการค้า
และการลงทุนจากต่างประเทศเปน็ ปจั จยั ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจทีส่ ้าคญั
ในช่วงการแพรร่ ะบาดโควิด-19 สถาบันการเงินของกมั พชู าหดตวั ติดลบ
ก่อนกลบั มาเติบโตเฉลี่ยที่ 5.8% ในปี 2564 ปัจจบุ นั กัมพชู ามงุ่ เน้นการ
พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานท้งั สนามบินถนนและเส้นทางรถไฟเพื่อส่งเสริม
การขยายตวั ของเศรษฐกิจในประเทศและรองรับการเชื่อมโยงเส้นทาง
คมนาคมกบั เพือ่ นบา้ นรวมทง้ั ยงั มีเปา้ หมายเพิ่มรายไดใ้ หป้ ระเทศโดย
การตกลงเขตการคา้ เสรี (FTA) กับนานาประเทศ
มีนโยบายที่เรียกว่า “ จัตโุ กณ” (ยทุ ธศาสตรส์ ีเ่ หลีย่ ม) ประกอบดว้ ย
1) ปฏิรูปการเกษตร
2) ฟื้นฟแู ละพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
3) สรา้ งความเข้มแขง็ ให้ภาคเอกชนและสร้างการจา้ งงาน
4) พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์
อุตสาห
กรรม
ภายใน
ประเทศ
กัมพชู า
สินค้า
น้าเขา้ จาก
ประเทศ
ไทย
ประเทศกัมพชู าเปน็ ดินแดนที่เก็บอารย
ธรรมบนแผน่ ดินไว้มากมายอยา่ งเชน่ ความ
ใหญโ่ ตมโหฬารของนครวดั นครธรม
นครวัด นครธม
เป็นศาสนสถานทใี่ หญท่ สี่ ุดในโลกแรกเรมิ่ ถกู สรา้ งขึ้นขึ้นในปลายครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี
นน้ั สรา้ งขนึ้ เปน็ เทวลัยในศาสนาฮนิ ดเู พ่อื อทุ ิศ 12 โดยพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 7 มอี าณาเขต
แดพ่ ระวิษณุ กอ่ นจะคอ่ ยๆเปล่ยี นแปลง ครอบคลุมพ้นื ที่ 9 ตารางกิโลเมตร อยูท่ าง
กลายเป็นวดั ในศาสนาพทุ ธ ในชว่ งปลาย ทิศเหนือของ นครวัด ภายในนครมี
คริสต์ศตวรรษที่ 12 ถูกสร้างขึน้ ในสมัยของ สง่ิ กอ่ สร้างมากมายนับแตส่ มัยแรกๆ ใจ
พระเจา้ สรู ิยวรมนั ที่ 2 (ยคุ อาณาจกั รเขมร กลางพระนครเปน็ ปราสาทหลัก เรียกว่า
โบราณ) "ปราสาทบายน“
ยคุ ทองของกัมพชู าอยูร่ ะหว่างพทุ ธศตวรรษที่ 14 – 19 ในยุคพระนครซึ่งมี
อ้านาจครอบคลุมพืน้ ทีใ่ นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระดับหนึ่ง แต่กต็ อ้ งท้าสงคราม
กับเพื่อนบา้ นที่แขง็ แกรง่ คือสยามกบั ไดเวียด สิ่งกอ่ สร้างทางศาสนาที่สา้ คญั ใน
สมัยนี้คือนครวัดและนครธม และยังมีปราสาทหินที่พบไดท้ ่วั ไปในเขตแดนของ
กมั พูชา ไทย ลาว และเวียดนามในปัจจุบัน อิทธิพลทางศิลปะของกัมพชู าทัง้
สถาปัตยกรรม ดนตรี และนาฏศิลป์ไดส้ ่งผลตอ่ ศิลปะของประเทศเพือ่ นบ้านทัง้
ไทยและลาว
มีประชากรนบั ถือศาสนาพุทธกว่าร้อยละ 95 แต่
ประชาชนยังมีความเชือ่ ตามชาวเขมรโบราณที่มีความเชือ่ ใน
อ้านาจเรน้ ลบั ทีม่ ีอยกู่ บั ธรรมชาติ เมือ่ ชาวบ้านมีปฏิสมั พันธ์
กับชาวตา่ งถิน่ ก็อาจไดร้ บั อิทธิพลจากความเชื่ออื่นๆ เพิ่มขึ้น
โดยไม่จ้าเป็นต้องละทิง้ ความเชือ่ ด้ังเดิม ซึ่งในเงือ่ นไขของ
เวลาและสถานที่ ตา่ งกนั ชาวกัมพชู าไดร้ บั เอาความเชื่อทาง
ศาสนาและลัทธิต่างแดนมากมายทีส่ ้าคัญ คือ ศาสนาพทุ ธ
ศาสนาอิสลาม ลทั ธิขงจือ้ และลัทธิเตา๋
กมั พูชาเปน็ สังคมทีห่ ลากหลายทางวัฒนธรรม คล้ายกับสงั คมไทย มีพุทธศาสนาเปน็
ศาสนาหลัก ทา้ ให้ประเพณีปฏิบตั ิต่างๆ ของประชาชนชาวกัมพชู าใกลเ้ คียงกบั ไทยเป็น
อยา่ งมาก
วันหยดุ ราชการ ได้แก่ และวันลอยกระทง กมั พชู าเรียกว่า
“งานบญุ อมตุก” เป็นตน้
วนั มาฆบชู า วนั ปีใหมเ่ ขมร
ซึ่งตรงกับวนั สงกรานตจ์ ะหยดุ ราชการ กล่าวโดยภาพรวมแล้วขนบธรรมเนียม
วฒั นธรรมและประเพณีของประเทศ
ในวนั ที่ 14-16 เมษายน ของทุกปี กมั พชู าและไทยจะใกลเ้ คยี งกนั ในทุกเร่อื ง
รวมท้ังภาษา ถ้อยค้า พยัญชนะ สระ
วันวสิ าขบชู า วันสาร์ทเขมร ซึ่งตรงกบั ตวั อกั ษร ค้าศัพท์ต่างๆ ซึง่ ที่ผ่านมาได้ถูก
วันแรม 15 ค่า้ เดือน 10 เปน็ วันหยดุ หยิบยืมแลกเปลีย่ นใชส้ ืบเนือ่ งกันมา
ราชกร 3 วนั ตง้ั แต่วันแรม 14 คา้่ เดือน
10 ถึง 1 คา้่ เดือน 11
จัดทา้ โดย : นกั งานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรอื น (ก.พ.)
47/111 ถนนติวานนท์
ต้าบลตลาดขวญั
อา้ เภอเมือง นนทบรุ ี 11000
โทรศัพท์ 0 2547 1000
โทรสาร 0 2547 1108
หัวหนา้ โครงการ : รศ.ดร.จิรประภา อัครบวร
ทีป่ รึกษาโครงการ : นายสรุ พงษ์ ชยั นาม ผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นระบบ
ราชการใน ASEAN
นักวิจยั : นางสาวนพรัตน์ พาทีทิน
นางสาวมนฑกานต์ วรนติ ิกุล
บรรณาธิการ : ดร.ประยรู อคั รบวร
ผปู้ ระสานงานและตรวจทานคา้ ผิด : นางสาวเยาวนชุ สมุ น
เลขมาตรฐานประจา้ หนังสอื : 978-616-548-146-5
จ้านวนพมิ พ์ : 5,400 เลม่
จ้า นวนหนา้ : 200 หน้า
พมิ พ์ที่ : กรกนกการพมิ พ์
สมาชิกในกลุม่
นางสาววิมลรัตน์ ปิชาติ รหัสนักศึกษา 6341104020
นางสาวสุกัญญา หลงโซ๊ะ รหัสนักศึกษา 6341104022
นางสาวสไู รยา แวนาเเว รหัสนักศึกษา 6341104023
นางสาวสรุ ยั ยา ละเมาะ รหัสนกั ศึกษา 6341104024
นางสาวฮดู า ตงั้ เเอ รหัสนักศึกษา 6341104025
01/03/64