การถ่ายทอดแนวความคิด
สู่ชิ้นงาน
ที่เป็นรูปธรรม
กา
รถ่ายทอดแนวความคิดสู่ชิ้นงาน
หลักการพร้อม
ตัวนำเสนอ
การนำเสนอข้อมูล
สรุป
สารบัญ
การถ่ายทอดแนวความคิดสู่ชิ้นงาน
หลักการตร้อมตัวนำเสนอ
การนำเสนอข้อมูล
สรุป
การถ่ายทอดแนวความคิดสู่ชิ้นงาน
สิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้การนำเสนอมี
ประสิทธิภาพ คือ การเขียน Storyboard ซึ่ง
เป็นวิธีการถ่ายทอดเเนวความคิดออกมาอยู่ใน
ลักษณะของภาพประกอบเเสดงตามลำดับขั้น
ขั้นตอนการเขียน Storyboard
1. วางเค้าโครงเรื่อง
เป็นการกำหนดเค้าโครงเรื่องเรื่องทั้งหมด
ไม่ว่าจะเป็นเนื้อเรื่อง ฉาก จุดประสงค์ของเนื้อเรื่อง
และตัวละครต่างๆ ว่ามีการดำเนินเรื่องอย่างไรบ้าง
2. ลำดับเหตุการณ์ หรือ เรื่องราว
เมื่อทำการวางเค้าโครงเรื่องทั้งหมดในขั้นตอนนี้
จะทำการจัดลำดับเหตุการณ์ของเนื้อเรื่อง ว่าเนื้อ
เรื่องตอนใดควรอยู่ลำดับใด มีผลต่อลำดับเหตุกา
รณ์อื่นๆด้วยหรือไม่
2
3. เเต่งบทบรรยาย หรือบทพูด เสียงประกอบ
เมื่อวางลำดับเหตุการณ์ หรือเรื่องราวแล้ว
ก็ถึงขั้นตอนการเขียนบทบรรยายเนื้อหา
หรือเรื่องราวแต่ละเหตุการณ์นั้นให้สอดคล้อง
รูปแบบ Storyboard
รูปแบบการเขียน Storyboard ส่วนใหญ่จะแสดงเป็น
รูปภาพอยู่ภายในกรอบสี่เหลี่ยม และมี คำอธิบายภาพ
เนื้อหา ข้อความ และเสียงอยู่ด้านล่าง หรืออาจจะมีเรื่อง
การวางมุมกล้องเพิ่มเติมเข้าไปด้ว การเซ้อน
Storyboowd มีรูปแบบที่หลากหลาย และไม่มีกำหนด
ตายตัวว่ารูปแบบไหนถูกหรือผิด สามารถนำมาปรับ
เปลี่ยนเพื่อให้เหมาะสมกับงานแค่ละประเภท
3
ตัวอย่าง การสร้าง Storyboard ง่าย ๆ
สำหรับสรุปยอดการขายเบเกอรี่ของร้าน My Bakery ๆ
เค้าโครงหลักของการนำเสนอจะประกอบด้วย
1. ยอดขายของขนมแต่ละชนิดในร้าน และแสดงกราฟยอดขาย
2. สรุปผลชนิดของขนมที่ขายดีที่ และยอดขายน้อยที่สุด
3. พร้อมแนะนำขนมชนิดใหม่ที่ต้องการสร้างและทำยอดขาย
ให้ได้ในปีถัดไป
4
หลักการเตรียมตัวนำเสนอ
ในกรณีที่ต้องการนำเสนออย่างกะทันหัน ทำให้มีเวลา
เตรียมตัวน้อยก็สามารถเตรียม ส่ง ด้วยหลักการง่าย ๆ
คือ 5W 1H
<< ทําไมจึงมาเสนองาน (Why)
<< เราจะพูดว่าอะไร (What)
<< เราจะเสนองานกับใคร (Who)
<< เราจะพูดเมื่อไร ในช่วงเวลาไหน (When)
<< เราจะเสนองานที่ไหน (Where)
<< เราจะพูดอย่างไร (How)
1. ทำไม (Why) การพูดนำเสนอทุกอย่างย่อมมีจุดหมาย และจุดหมาย
นี้มักจะเป็นรูปแบบหนึ่ง ของการเกลี้ยกล่อม ผู้นำเสนอมีจุดมุ่งหมาย
ต้องการให้คนฟัง สั่งสินค้า อนุมัติการวิจัย ยอมรับข้อเสนอ ตกลงเรื่อง
งบประมาณพัฒนาคุณภาพสินค้ายอมรับการปรับโครงสร้างใหม่ ฯลฯ
จุดที่สำคัญในการนำเสนอ สรุปได้ ดังนี้
1.1 กำหนดวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนที่สุดที่จะทำได้ รวมทั้ง
วัตถุประสงค์
สำรองด้วย แล้วเรียบเรียงเป็นคำพูดจดบันทึกไว้
1.2 ย้อนไปยังวัตถุประสงค์อยู่เสมอ เมื่อเราสงสัยว่าจะเพิ่มอะไร
หรือจะตัดทอนอะไรบ้างในการเสนองาน
4
2. อะไร (What) บันทึกข้อมูลทั้งหมดที่จแสนอไว้ เตรียมภาพ
ประกอบและข้อโต้แย้งที่เราอาจจะ ต้องให้และจดเอาไว้อย่าง
เพิ่งกังวลเรื่องลำดับขั้นตอนการนำาเสนอในช่วงนี้
3. ใคร (Who) หาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้ที่มาฟังการแนองานให้
มากที่สุด เช่น มีผู้คน ชื่ออะไร ทำงานอะไร รวมทั้งควรจะรู้ว่าทำไมเขา
จึงสนใจ ปัจจุบันเขาใช้วิธี เครื่องรับ บริการใหนอยู่ เขา
ประสบการณ์ดี หรือไม่ดีอย่างไรมาก่อนเกี่ยวกับเรื่องที่เราจะนำเสนอ
หรือเรื่องที่เราจะชักชวนให้เขาท่า เขาจะนำอะไรมาเป็นข้อโต้แย้ง
คัดค้าน หรือสอบถามเราได้บ้าง เราอาจจะต้องหาข้อเท็จจริง
ข้อตอบได้ และข้อมูลเพิ่มเติมอีกถ้าสามารถจัดหาได้ ในวันเสนองาน
ควรหาโอกาสคุยกับผู้ฟังอย่างไม่เป็นทางการก่อน เช่น
การพูดคุยในช่วงที่กำลังลงทะเบียน ผู้เข้ารับการอบรมหรือ
ในช่วงที่มีการพักรับประทานอาหารว่าง เป็นต้น การพูดคุยระหว่างดื่ม
กาแฟก่อนจะเสนองานจริง ๆ เป็นโอกาสในการทำความเข้าใจผู้ฟังให้ดี
ขึ้น และยังเป็นวิธีทำลายกำแพงกั้นระหว่างทั้งสองฝ่าย ทำให้เกิดความ
รู้สึกอันดีต่อกันไว้ก่อนด้วย
5
4. เมื่อไร (When) นำเสนอเมื่อไร เช้า กลางวัน
วันหยุด วันทำงานระยะเวลาในการ นำเสนอมีมากน้อย
เพียงใด เป็นการฝึกอบรมระยะยาวต่อเนื่องกันทุกวันในช่วง
เวลาเย็นเป็นเวลา 2 3 สัปดาห์ หรือเป็นเพียงการปาฐกถาใน
การ
ประชุมประจำเดือนให้สมาชิกสมาคมแห่งหนึ่งฟังด้วยเวลา
เพียง 1 ชั่วโมงเท่านั้น
5. ที่ไหน (Where) เรื่องนี้อาจจะไม่สำคัญเท่าหัวข้ออื่น ๆ
แต่ก็ควรสำรวจไว้บ้าง เพื่อขจัด สิ่งแวดล้อมในห้องที่ใช้ใน
การนำเสนอ
อันอาจจะกลายเป็นอุปสรรคในการนำเสนอไปก็ได้
เช่น ปลั๊กไฟ ผิดชนิด หรือมีช่วงห่างระหว่างคนฟังกับคนพูดมาก
เกินไป หน้าต่างที่ปิดแล้วแต่ไม่สนิท ไม่มีโต๊ะวางอุปกรณ์ ปิด
แสงไม่ได้
เมื่อต้องการห้องมืดสำหรับฉายสไลด์ มีเสียงรบกวน หรือ
การจัดวางโต๊ะเก้าอี้ไม่เหมาะกับ ลักษณะการนำเสนอ ฯลฯ
สิ่งเหล่านี้ผู้นำเสนอจะไม่มีวันรู้ว่ามีปัญหาจนกว่าจะเห็นสถานที่
จริง
6
6. อย่างไร (How) เมื่อเรารู้ว่าจะพูดอะไร จะพูดกับใคร ที่ไหน
และทำไม และจะวางแผนการพูด อย่างไรได้ ขั้นตอนต่อไป
คือ ต้องสมมุติตัวเองเป็นคนฟัง สิ่งที่เราเสนอจะช่วยผ่อนความหนักใจ
ให้ผู้ฟังได้ บ้างไหม เราจะช่วยให้เขาสนใจหรือ
เกิดความคิดสร้างสรรค์อะไรได้บ้าง ซึ่งจะนำไปสู่การแนะนำ
ในสิ่งที่ ให้เขาตั้งใจฟังและคิดได้ ถ้าผู้ฟังฟังแล้วพูดกับตัวเขา
เองว่า “จริงด้วย นั่นละปัญหาของเรา” “ใช่ เขาจี้จุด ปัญหาของ
เราพอดี” “ใช่ คงจะดีนะถ้าทำได้อย่างนั้นด้วยราคาเท่านั้น”
หลังจากนั้นเราจะเริ่มเรียงลำดับ
ข้อมูล และข้อเสนอของเราไปตามลำดับเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจและโน้ม
เอียงตามได้มากที่สุด แล้วเลือกภาพ ประกอบที่จะต้องใช้ไปด้วย
เมื่อรวบรวมข้อมูลและอุปกรณ์ประกอบทุกอย่างให้ครบแล้ว ทำเป็น
บันทึก เขียนให้ชัดเจนและใหญ่พอ เขียนสิ่งที่จะพูดทั้งหมดลงใน
กระดาษ เพราะการเขียนสิ่งที่เราจะพูดเป็นวิธี ที่ดีที่สุดในการหา
ข้อโต้แย้งและเป็นการทบทวนเรียงลำดับสิ่งที่จะพูด ทั้งยังสามารถ
หาคำพูดที่เหมาะสม เสริมเข้าไปในแต่ละตอนได้ด้วย รวมทั้ง
สามารถคิดวางแผนไว้ล่วงหน้าได้ดีกว่าการคิดแก้ปัญหาขณะ เสนอ
งาน
ถึงแม้จะไม่ได้เตรียมไว้ทั้งหมด อย่างน้อยก็ควรจะเตรียมประโยค
นำและประโยคสำหรับปิดรายการเอาไว้
7
และท้ายสุด ก่อนการไปนำเสนอจริงให้ลองซ้อมต่อหน้าเพื่อ
ร่วมงานหรือซ้อมคนเดียวก็ได้ การซ้อมนั้นยิ่งซ้อมหลาย ๆ
ครั้ง
ยิ่งจะช่วยลดความตื่นเต้นและช่วยให้การพูดของเราดีขึ้นได้
ความกลัว ในการนำเสนอทุกครั้งนั้นส่วนใหญ่เป็นความกลัว
สิ่ง
ที่เราไม่รู้ และยิ่งถ้ารวมถึงว่าเราไม่รู้จะพูดะไรด้วยก็จะยิ่งน่า
กลัว
มากขึ้น
8
ถ้อยคำภาษาเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งของการพูด
ผู้พูดต้องรู้จักพินิจพิเคราะห์ในการเลือกใช้ ถ้อยคำให้เหมาะแก่
เรื่อง กาลเทศะ และบุคคล โดยคิดให้รอบคอบเสียก่อนที่จะพูด
ออกไป พยายาม เลือกสรรถ้อยคำที่พูดแล้วไม่เยิ่นเย้อ วกวน
คลุมเครือ หรือมีความหมายเป็นอย่างอื่น
การพูด คือ การแสดงความคิด ความรู้ และความรู้สึก ซึ่งอยู่ใน
หัวใจของผู้พูดออกมาให้ผู้อื่นฟัง
ระดับสายตา
- รักษาระดับสายตาอยู่ตลอดเวลา
- ช่วยกระตุ้นผู้เข้าฟังการเสนองาน
- ทำให้สามารถควบคุมผู้ฟังได้ดีขึ้น
ความสำคัญ
- มองทุกคน ทีละคน บ่อย ๆ
- ทําให้มีส่วนร่วมดีขึ้น
- ทำให้ผู้เสนองานดูมีความเชื่อมั่น
9
น้ำเสียง
-รักษาระดับเสียงให้อบอุ่นและเป็นมิตร ไม่หวน ไม่กระโชกโฮกฮาก
-พูดให้ดังและชัดเจน
-พูดด้วยความเร็วที่เหมาะสม ไม่รวดเร็วหรือช้าไป มีความเชื่อมั่นดี
ความสำคัญ
-น้ำเสียงที่ไม่เป็นมิตรจะ “ทำลาย” การนำเสนอ
-ถ้าการเสนองานยากที่จะเข้าใจ การมีส่วนร่วม และระดับความตั้งใจจะไม่ดี
-เสียงที่ชัดเจนและหนักแน่นจะทำให้ผู้เสนองาน
การแสดงออกและทํางาน
-ทำตัวให้ดูอบอุ่นและเป็นมิตร ยิ้มให้มาก และ ทําตัวให้ผ่อนคลาย
-ใช้กิริยาและท่าทางที่เป็นมิตร
ความสําคัญ
-การแสดงท่าทีในทางลบและไม่เป็นมิตรจะทำให้ บรรยากาศในห้องเสนอ
งานไม่เอื้ออำนวยต่อการรับรู้
- การออกกิริยาและท่าทางจะทำให้การนำเสนอ ของผู้ทำการสอนมีชีวิตชีวา
และน่าสนใจ
ตำแหน่งและการเคลื่อนไหว 10
-ให้ยืม อย่านั่ง
-เคลื่อนไหวไปรอบ ๆ แต่อย่ามากเกินไป
-หันหน้าเข้าหาผู้เข้าฟังการเสนองานตลอดเวลา แม้เวลาใช้อุปกรณ์โสต
ทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ
ความสําคัญ
-ถ้าเคลื่อนไหวจะทำให้ได้ใกล้ชิดกับกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นผู้ฟังการ
เสนองาน
- การยืนห่างจากคนพูดจะทำให้เขาต้องพูดเสียงดัง
-การไม่สบตา จะทําให้ระดับความสนใจน้อยลง
การเสนองานที่ดีสามารถทำได้โดยการฝึกเท่านั้น เช่น
การไปเข้าหลักสูตรหรือฝึกกันเป็นกลุ่มเพื่อ ให้เพื่อนวิจารณ์ด้วย
ข้อติชมในทางสร้างสรรค์ เราสามารถเรียนรู้วิธีการและเทคนิคการนำ
เสนอได้จาก การดูความผิดพลาดของผู้อื่น และได้คุยกันเพื่อหาวิธีการ
สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการเสนองานแต่ละครั้ง เทคนิคง่าย ๆ ที่สำคัญ
มาก ซึ่งไม่ได้เป็นเทคนิคใหม่เลย คือ ความสามารถ
ในการกำจัดสิ่งกีดขวางของผู้พูด เพราะคนส่วนมากพูดในหมู่เค้อน
หรือเพื่อนร่วมงานดี เทคนิคการพูดใน ชุมชน คือ การรักษา
ความสามารถนั้นไว้ให้ได้ เวลายืนอยู่ต่อหน้าคน 10 - 20 หรือ
5,000 คนที่เราไม่รู้จัก ถ้าผู้พูดสามารถ จัด งดขวาตลอดไปได้ ทำให้
เราเป็นตัวของตัวเองในแบบบุคคลที่เป็นมิตร มีท่าทางเป็น
ธรรมชาติ จะช่วยให้คนฟังเข้าข้างเราได้ตั้งแต่ต้น การนำเสนอ
ข้อมูล ชื่อมีงระวังที่ทำให้การนำเสนออยประสิทธิภาพ <
11
<< พูดจีน การพูดดังไปนั้นดีกว่าพูดเบาไป
<< ความลังเล การหยุดพูดบ่อย ๆ หรือใช้คำว่า “เอ้อ...อ้า”
เข้าไประหว่างที่นึกคำพูดจะแสดงให้เห็นว่าการเสนองานที่ดี
สามารถทำได้โดยการฝึกเท่านั้น เช่น การไปเข้าหลักสูตร
หรือฝึกกันเป็นกลุ่มเพื่อ ให้เพื่อนวิจารณ์ด้วยข้อติชมใน
ทางสร้างสรรค์ เราสามารถเรียนรู้วิธีการและเทคนิคการนำเสนอ
ได้จาก การดูความผิดพลาดของผู้อื่น และได้คุยกันเพื่อหาวิธีการ
สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการเสนองานแต่ละครั้ง เทคนิคง่าย ๆ
ที่สำคัญมาก ซึ่งไม่ได้เป็นเทคนิคใหม่เลย คือ ความสามารถ
ในการกำจัดสิ่งกีดขวางของผู้พูด เพราะคนส่วนมากพูดในหมู่
เค้อนหรือเพื่อนร่วมงานดี เทคนิคการพูดใน ชุมชน คือ
การรักษา ความสามารถนั้นไว้ให้ได้ เวลายืนอยู่ต่อหน้าคน
10 - 20 หรือ 5,000 คนที่เราไม่รู้จัก ถ้าผู้พูดสามารถ จัด
งดขวาตลอดไปได้ ทำให้เราเป็นตัวของตัวเองในแบบ
บุคคลที่เป็นมิตร มีท่าทางเป็นธรรมชาติ จะช่วยให้คนฟัง
เข้าข้างเราได้ตั้งแต่ต้น การนำเสนอข้อมูล ชื่อมีงระวังที่ทำ
ให้การนำเสนออยประสิทธิภาพ
12
ภาษา กฎของการพูดภาษาไทยที่สำคัญสุด คือ
<< ให้ใช้คำพูด และประโยคสั้นง่าย ๆ ๆ
<< ใช้รูปประโยคตรง ๆ และคำพูดที่ระบุชัดเจนมากกว่าประโยค
ยอกย้อนหรือพูดลอย ๆ
<< การพูดถึงเรื่องทั่ว ๆ ไปให้ใช้วิธียกตัวอย่าง
<< หลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนิค นอกจากจะแน่ใจว่าคนฟังคุ้นเคย
กับคำเหล่านั้น ถ้าเลี่ยงไม่ได้ ให้อธิบายเพิ่มเติม
<< เตรียมคำพูดที่จะพูดมาให้มากที่สุดแต่อย่ามาอ่านหรือท่องเป็นคำ
ๆ ให้คนฟัง (แม้ว่าประโยค สำคัญ ๆ อาจจะต้องท่องจำมาก่อน
ก็ตาม)
<< ใช้คำและภาษาของตัวเองแบบที่ใช้ในการสนทนาธรรมดาไม่
ใช้ภาษาเขียน
<< ขยายความกระจ่างของข้อความด้วยตัวอย่างที่เจาะจง ภาพประกอบ
แม้แต่การเสนองานในวงเล็ก ๆ อย่างน้อยก็ควรจะเตรียมกระดาษ
ขาวแผ่นใหญ่ และปากกา เส้นโต ๆ ไว้เผื่อจะใช้แสดงภาพหรือ
คำนวณให้คนฟังดู นอกนั้นควรเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะใช้
ประกอบ ๆ การพูดมาเพื่อประโยชน์ 3 ข้อ คือ
1. เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ แส
ดงตัวเลขทางสถิติเป็นรูป
แผนภูมิ และกราฟ
2. ใช้แผ่นภาพเพื่ออธิบายคำพูดที่ซับซ้อน หรือเพื่อขยายความ
เพื่อทำให้เข้าใจง่ายขึ้น ชัดเจนและสั้นด้วยการใช้รูปภาพ ภาพวาด
แผนภูมิ หรือสินค้าตัวอย่าง
13
3. ใช้แผ่นภาพเพื่อชักจูงใจ และทำให้การเสนองานชวนติดตาม
เพราะการใช้ภาพ ๆ เดียว มีค่ามากกว่าคำพูดนับพันคำ และภาพ
ยังสามารถติดตรึงอยู่ในสมองของคนดูไปได้นานแสนนานหลัง
จาก ที่ผู้นำเสนอพูดจบแล้ว ดังนั้น การใช้ภาพนำเสนอประกอบ
คำพูดย่อมเป็นการชักจูงใจที่ดีกว่า รายละเอียดในการนำเสนอ
ปัญหาที่เกิดขึ้นเสมอในการเสนองาน คือ การตัดสินใจเรื่องราว
การเสนอรายละเอียดโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในการเสนองานที่มีกลุ่ม
ผู้ฟังเป็นผู้เชี่ยวชาญนั่งอยู่รวมกันกับผู้ฟังธรรมดา ทางที่ดีควรหลีก
เลี่ยง การพูดถึงข้อมูลที่มีรายละเอียดมากเกินไปแต่ควรใช้วิธี
เตรียมเป็นเอกสารไว้แจกผู้เข้าฟังภายหลัง
(ไม่ควร แจกก่อน เพราะจะทำให้ผู้ฟังบางกลุ่มมัวแต่นั่งอ่านราย
ละเอียด โดยไม่ฟังผู้เสนองานพูด) โดยผู้พูด สามารถบอกในที่
ประชุมได้ก่อนว่า
14
มีรายละเอียดอยู่ในเอกสารที่จะแจกให้เมื่อพูดจบ
หรืออีกวิธีหนึ่ง คือ ใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาเป็นผู้บรรยายให้
ผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่เข้ารับฟังเป็นการเสริมในภายหลัง
เป็นการพูดเสริมให้เฉพาะกลุ่ม หรือจะเปิดโอกาส
ให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตอบปัญหาทางด้านเทคนิคเมื่อพูด
จบแล้วก็ได้ ความรู้สึกนึกคิด ถ้าเราไม่รู้จักผู้ฟังดีเรื่องนี้จะไม่
สำคัญนัก แต่ถ้าเป็นกลุ่มที่เรารู้จักเรื่องนี้จะสำคัญมาก
เราจะรู้ ได้อย่างไรว่าสิ่งที่เราคิดว่าเป็นแนวปฏิบัติปัจจุบัน
ประสบการณ์ในอดีต และความต้องการในอนาคต ของเขานั้น
ถูกต้องหรือไม่ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเขาเข้าใจสิ่งที่เราบรรยาย
ให้ฟังดีแล้ว หรือต้องอธิบาย เพิ่มเติมขยายบางส่วนออกไปอีก
วิธีการคือ ต้องสอบถามความรู้สึก ความคิดเห็นของเขา
โดยเฉพาะ ในกลุ่มคนฟังเล็ก ๆ และควรถามขณะที่
บรรยายตอนต้น ๆ เช่น ถามว่า ปัจจุบันเขาใช้วิธีการ
ดำเนินงาน ด้วยระบบใดอยู่ ถามว่าเขาเคยคิดว่าจะ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร ถามว่าเขาคงคิดว่าอะไรสำคัญมากน้อยกว่า
กัน แค่ไหน ฯลฯ
15
สรุปปิดท้ายและคำถาม ตอนท้ายของการเสนองานเป็นช่วง
ที่สำคัญเหมือนตอนเริ่มต้น ไม่ควรพูดแบบเลื่อนลอยต้องมี การ
ปิดฉากการเสนองานไว้ให้ดี การปิดฉากที่ดีไม่จำเป็นจะต้องยาว
หรือซับซ้อน แต่จะต้องเตรียมไว้ล่วงหน้า และมีการซักซ้อมมาแล้ว
อย่างดี การเตรียมปิดฉากการเสนองานนั้น เราควรย้อนไปดูเจตนา
ของการเสนองาน วัตถุประสงค์ของ การเสนองาน เพื่อกำหนดตอน
จบช่วงท้ายนี้ ซึ่งนิยมเปิดฉากการเสนองานด้วยวิธีการ ดังนี้ การขอ
ความเห็น
<< ขอความคิดเห็นเพื่อทดสอบข้อสมมุติฐานของเรา
<< คำถามประเภทขอความคิดเห็น ช่วยลดช่องว่างระหว่างผู้นำ
เสนอและผู้ฟัง ทำให้ผู้ฟังมีส่วนร่วม การสรุปปิดฉากตอนท้าย
ของการเสนอ
<< สรุปข้อเท็จจริงและข้อโต้แย้งหลัก ๆ
<< เสนอข้อแนะนำสิ่งต่าง ๆ ที่จะต้องทำ
<< ถ้าข้อเสนอได้รับความเห็นชอบ ให้เสนอขั้นตอนต่อ
<ไ<ปวอ่าธิจบะาต้ยอรงาทยำลอะย่เาอีงยไดรขต่อองเอกสาร
ประกอบ
<< เชิญชวนผู้ฟังให้ซักถาม คําถาม ถ้ามีผู้ฟังจำนวนมาก
ก็ไม่จำเป็นต้องเปิดให้ถาม อาจจะกล่าวว่าเพราะมีคนมาก
และแต่ละคนมี ความสนใจต่างกัน
16
จึงจะขอตอบคำถามหลังจากจบการพูดแล้ว แต่ว่าการเสนอ
ในกลุ่มเล็กๆ เราควรจะ เปิดโอกาสให้ถามได้ด้วยคำถามบางข้อ
เป็นการขอข้อมูลเพิ่มเติม แต่ก็มีบางคนที่ต้องการถามโดยมี
จุดประสงค์อื่น ๆ แฝงอยู่ ซึ่งผู้เสนอควรพิจารณาให้ดีก่อนตอบ เช่น
1. มีข้อโต้แย้งที่ซ่อนอยู่ในคำถาม เช่น“แบบนี้ก็แปลว่านักบัญชี
แต่ละคนต้องทำหน้าที่เพิ่มขึ้นอย่างนี้บริษัทก็ต้องลงทุนเพิ่มขึ้นใช่ไหม”
“ทำไม ราคาคงแพงกว่าเก่า” แต่เราก็สามารถจัดการได้โดยใช้
กฎของการกำจัดข้อขัดแย้ง คือ อย่าตั้งแง่เข้ารับ ทำให้ข้อโต้แย้งเจาะจง
และชัดเจนแล้วเสนอสิ่งชดเชย
2. เป็นคำถามลองภูมิ ผู้ถามต้องการทดสอบความรู้และประสบการณ์
ของผู้พูด เช่น “การใช้ เจลละลายไขมันจะมีผลกับเด็กในครรภ์ไหม”
กฎที่สำคัญ คือ ถ้าไม่รู้จริงอย่าพูดส่งเดช หรือแก้ตัวที่ไม่รู้ ควรใช้วิธี
รับปากว่าจะหาคำตอบให้และต้องทำตามที่รับปากด้วย ซึ่งเราสามารถ
ใช้เป็นข้ออ้างที่จะกลับ มาหาเขาใหม่ได้เป็นอย่างดี
3. คำถามแสดงภูมิ มีบ่อยครั้งที่คนถามเจตนาจะแสดงภูมิความรู้ของ
ตัวเองให้เพื่อนร่วมงาน รู้ว่าเขาเก่งแค่ไหนไม่มีอะไรที่เขาจะพอใจ
เท่าแสดงภูมิให้คนอื่น ๆ รู้อย่ารั้งรอที่จะบอกว่าเขาเป็นคนฉลาด หลัก
แหลมจริง ๆ “คุณพูดถูกครับ....ที่ผมไม่ได้พูดมาก่อนเพราะมันเป็น
วิชาการมากไปสำหรับคนทั่วไป และ
เป็นข้อปลีกย่อยที่ไม่มีผลต่อ
ประสิทธิภาพเลยอย่างที่คุณบอกนั่นแหละครับ”
17
4. คำาถามท้าทาย เราอาจจะพูดอะไรที่รุกล้ำเข้าไป
ในใจของผู้ฟังคนใดคนหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็น ข้อผิดพลาดที่
เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ เช่น ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีอาจจะคิดว่าเราทำท่า
เป็นผู้รู้เรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ ลงบัญชีมากกว่าเขา
วิธีที่ดีคือ ให้รีบถอยทันทีไม่รุกล้ำข้ามแดนเขาและอาจจะ
ขอคำแนะนำจากเขาด้วยเลย ก็ได้ “ขอโทษครับที่ผมพูดนี่
หมายถึง การใช้โปรแกรมบัญชีสำเร็จรูปทั่ว ๆ ไป ไม่ใช่
โปรแกรมพิเศษ ที่สร้างขึ้นเฉพาะสำหรับระบบการค้า
ของห้างสรรพสินค้า ซึ่งคุณจะรู้ดีกว่าผมแน่ ๆ แนวโน้มการ
ใช้ระบบ บัญชีค้าปลีกในระยะ 2 ปีนี้เป็นแบบไหนหรือครับ”
5. คำถามป้องกันตัว สิ่งที่เราเสนอไปบางอย่างอาจจะหมายถึง
การที่ผู้ฟังจะต้องเสียพนักงาน งบประมาณ ตำแหน่ง อำนาจ
หรืองานของคนใดคนหนึ่ง หรือหลายคนไป
“ทำไมคุณคิดว่าผู้จัดการเขต จะทำงานควบคุมสต็อกสินค้าใน
เขตของเขาได้”
อาจจะมีความหมายว่า “การควบคุมสต็อกเป็นหน้าที่ของผม
ผมชอบหน้าที่นี้และมันทำให้ผมได้ของขวัญ ของฟรีจากโครงงาน
หลาย ๆ แห่งมาตลอดปี เรื่องอะไ
รผมจะ ปล่อยให้คนอื่นมาแย่งไป”
วิธีแก้ปัญหาวิธีหนึ่ง คือ ตั้งคำถามให้ผู้ถามได้พูดมากขึ้น หรือถ้าพบ
ปัญหาใน ด้านข้อเท็จจริงให้โยนไปให้กลุ่มช่วยกันแก้ ปฏิกิริยาต่อ
คำถามที่ยากลำบาก หรือคำถามประเภทกวนเมือง
4. คำาถามท้าทาย เราอาจจะพูดอะไรที่รุกล้ำเข้าไป 18
ในใจของผู้ฟังคนใดคนหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็น ข้อผิดพลาดที่
เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ เช่น ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีอาจจะคิดว่าเราทำท่า
เป็นผู้รู้เรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ ลงบัญชีมากกว่าเขา
วิธีที่ดีคือ ให้รีบถอยทันทีไม่รุกล้ำข้ามแดนเขาและอาจจะ
ขอคำแนะนำจากเขาด้วยเลย ก็ได้ “ขอโทษครับที่ผมพูดนี่
หมายถึง การใช้โปรแกรมบัญชีสำเร็จรูปทั่ว ๆ ไป ไม่ใช่
โปรแกรมพิเศษ ที่สร้างขึ้นเฉพาะสำหรับระบบการค้า
ของห้างสรรพสินค้า ซึ่งคุณจะรู้ดีกว่าผมแน่ ๆ แนวโน้มการ
ใช้ระบบ บัญชีค้าปลีกในระยะ 2 ปีนี้เป็นแบบไหนหรือครับ”
5. คำถามป้องกันตัว สิ่งที่เราเสนอไปบางอย่างอาจจะหมายถึง
การที่ผู้ฟังจะต้องเสียพนักงาน งบประมาณ ตำแหน่ง อำนาจ
หรืองานของคนใดคนหนึ่ง หรือหลายคนไป
“ทำไมคุณคิดว่าผู้จัดการเขต จะทำงานควบคุมสต็อกสินค้าใน
เขตของเขาได้”
อาจจะมีความหมายว่า “การควบคุมสต็อกเป็นหน้าที่ของผม
ผมชอบหน้าที่นี้และมันทำให้ผมได้ของขวัญ ของฟรีจากโครงงาน
หลาย ๆ แห่งมาตลอดปี เรื่องอะไ
รผมจะ ปล่อยให้คนอื่นมาแย่งไป”
วิธีแก้ปัญหาวิธีหนึ่ง คือ ตั้งคำถามให้ผู้ถามได้พูดมากขึ้น หรือถ้าพบ
ปัญหาใน ด้านข้อเท็จจริงให้โยนไปให้กลุ่มช่วยกันแก้ ปฏิกิริยาต่อ
คำถามที่ยากลำบาก หรือคำถามประเภทกวนเมือง
19
วิธีการที่ดีก็คือ ต้องยับยั้งการตอบคำถามโดยใช้อารมณ์
ที่เกิดขึ้นในใจของเรา แล้วพยายามพิจารณา คำถามนั้นใหม่
หรือจะขอให้ผู้ถามอธิบายคำถามให้กระจ่างมากขึ้น เพื่อทบทวน
คำถาม และหาจังหวะเวลา เล็กน้อยเพื่อแก้ไขสถานการณ์ ซึ่งเรา
สามารถหาวิธีการตอบคำถามนั้นได้หลายวิธี เช่น
1. ยอมรับว่าไม่รู้ และสัญญาว่าจะหาคำตอบให้
2. ยับยั้งไว้ก่อน แล้วจัดการกับมันเป็นส่วนตัว
3. ให้ผู้เชี่ยวชาญตอบ
4. โยนกลับไปที่ผู้ถาม
5. โยนกลับไปให้อีกคนหนึ่งในหมู่ผู้ฟัง
6. ให้อภิปรายทั่วไป ภายหลังการเสนองาน หลังจากเสนองานจบ
แล้วผู้นำเสนอมักจะเกิดความรู้สึกว่ามั่นใจ หรือภูมิใจที่ได้รับคำ
ชม แต่ ความรู้สึกด้านอารมณ์นี้จะจางหายไปอย่างรวดเร็ว
ประมาณ 1 อาทิตย์ ดังนั้น เราจึงควรนำการเสนองาน ขึ้นมา
พิจารณาใหม่อย่างเปิดกว้างมากขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงควรจะนำเพื่อน
ร่วมงานไปด้วยเวลาไปเสนองาน เพื่อให้ประเมินผลว่ามีส่วนใดดี
สไิ่งม่สดำี คอัญย่ามงาไกรทีเ่จป็ะนช่กวายรใวิหเ้คเรราาพะัหฒ์ห
นลัางเจทากคเนสิคนวิอธีงกาานรไนำปเแสลน้วอซไึ่งปเไป็ดน้
ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ถ้าจะเปรียบกับการฝึกการพูดจาก ตำราฝึก
พูด ซึ่งไม่สามารถทำให้เราเป็นนักพูดได้แต่สามารถให้
แนวทางการฝึกได้ เช่นเดียวกันแผนที่
20
และกฎจราจรก็ไม่สามารถทำให้เราขับรถได้เช่นกัน
แต่ช่วยให้เราเป็นผู้ขับรถที่ดีได้ และช่วยให้ไปถึง
ที่หมาย 2. เร็วขึ้นเท่านั้น - สรุป หลักการเตรียมตัวนําเสนอ
อย่างง่าย คือ 5W 1H ประกอบด้วย
1. ทําไม (Why)
2. อะไร (What)
3. ใคร (Who)
4. เมื่อไร (When)
5. ที่ไหน (Where)
6. อย่างไร (How)
ช่วยให้การเตรียมตัวนำเสนอแบบกะทันหันสำเร็จไปได้ด้วย
ดี การนำเสนอที่ดีประกอบด้วย โครงสร้าง 3 ส่วน คือ คำ
อธิบายตอนต้น ส่วนที่ติดตามมา และบทสรุป นอกจากนี้ยังมี
เทคนิคต่าง ๆ ที่ช่วยให้การนำเสนอมีประสิทธิภาพ เช่น การ
ใช้ภาษา ภาพประกอบในการนำเสนอ รายละเอียด การนำ
เสนอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเทคนิคด้านบุคลิกภาพ และการ
พูดเพื่อนำเสนอ เช่นการใช้ท่า
ทาง การใช้สายตา การใช้น้ำ
เสียงและถ้อยคำ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ต้องอาศัยการฝึกฝนให้
เกิดทักษะ สิ่งสำคัญ อีกอย่างหนึ่ง คือ การเขียน Storyboard
ซึ่งการเขียน Storyboard สามารถช่วยแสดงแนวความคิด
ของ ผู้ออกแบบให้อยู่ในรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้น และช่วยสร้าง
ความชัดเจนของงานที่ต้องการนำเสนอได้ดียิ่งขึ้น
รายชื่อสมาชิก
นางสาวศิรภัสสร ชัยธรรม
นางสาวศุจินันท์ สวัสดิ์พนาไพร