The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Gachamart Mangmaiwattana, 2021-03-14 05:03:09

E-book-13-17

E-book-13-17

Vocabulary

about systems

Unit 13 14 15 16 17

นางสาว กชามาส มง่ั ไมว้ ฒั นา ม.5/6 เลขที่ 20

UNIT 13

Digedtive system

Stomach

กระเพาะอาหาร

เป็ นอวยั วะของทางเดนิ อาหารทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั กระบวนการ
ยอ่ ยอาหารท่ผี า่ นการเคยี้ วภายในชอ่ งปากมาแลว้ กระเพาะ
อาหารยงั เป็ นอวยั วะที่มสี ภาพแวดลอ้ มเป็ นกรด มคี ่าพีเอชอยู่
ทีป่ ระมาณ 1-4 นอกจากนใ้ี นกระเพาะอาหารยงั มกี ารสรา้ ง

เอนไซมเ์ พอื่ ชว่ ยในการย่อยอาหารอีกดว้ ย

Bile salt

เกลือน้าดี

โซเดยี มไกลโคโคเลต โซเดยี มทอโรโคเลต ถกู สรา้ งขน้ึ มาจาก
คอเลสเตอรอลโดยตบั สารเหลา่ นจ้ี ะถกู หลงั่ เป็ นนา้ ดโี ดย
เซลลต์ บั โดยผา่ นทางท่อนา้ ดยี ่อย ไหลมารวมกนั เป็ นทอ่ นา้ ดี
เขา้ สถู่ งุ นา้ ดี มหี นา้ ทเี่ ป็ นอิมลั ซิไฟองิ เอเจนต์ ชว่ ยในการย่อย

และดดู ซึมไขมนั และนา้ มนั ในลาไสเ้ ล็ก

Absorption

การดดู ซึม

กระบวนการทางเคมหี รือฟิ สกิ ส์ ท่ีอะตอม, โมเลกลุ หรือ
ไอออนเขา้ ไปในสว่ นที่เป็ นเนอื้ ในของวสั ดทุ ี่เป็ นแกส๊ ของเหลว
หรือของแข็ง มหี นา้ ทกี่ ารที่สารอาหารที่ถกู ยอ่ ยจนมีอณเู ล็ก
ลงแลว้ เชน่ กลโู คส กรดไขมนั กรดอะมโิ น ซึมผา่ นทางเดนิ
อาหาร เขา้ สกู่ ระแสโลหิต แลว้ ถกู นาไปเลี้ยงส่วนตา่ งๆของ

รา่ งกาย

Chymotrypsin

ไมโครทริฟซิน

เอนไซมช์ นดื หนง่ึ ทผี่ ลติ จากตบั ออ่ นและหลงั่ เขา้ สลู่ าไสเ้ ล็ก
เพอ่ื ทาหนา้ ทชี่ ว่ ยเร่งปฏกิ ิรยิ าการไฮโดรไลซโ์ ปรตนี ทพ่ี นั ธะ
เพปไทดท์ ีอ่ ย่ตู ามหลงั กรดแอมโิ นไทโรซีน ทรบิ โตเฟน ฟิ นลิ แอ

ลานนี และลซู ีนใหเ้ ป็ นเพบไทดส์ ายสนั้

Amoebocyte

อะมิโบไซต์

พบทวั่ ไปบริเวณผนงั ลาตวั ของฟองนา้ อาหารจาพวก
แบคทเี รียและอินทรียสารขนาดเล็กไมเ่ กนิ 1 ไมครอน ที่
ปะปนอย่ใู นนา้ จะถกู แฟลเจลลมั ของคอลลารเ์ ซลลจ์ บั เป็ น
อาหาร แลว้ ส่วนของไซโทพลาซึมจะรับอาหารดขา้ สเู่ ซลล์
แบบฟาโกไซโทซิสสรา้ งเป็ นฟูดแวควิ โอล แลว้ อาหารจะถกู

ยอ่ ยโดยเอนไซมจ์ ากไลโซโซม

Choanocyte

โคเอโนไซต์

เป็ นเซลลท์ ่มี แี ฟลเจลลมั และมปี ลอกหมุ้ โดยจะใชแ้ ฟลเจลลมั
โบกพดั อาหารท่ีมากบั นา้ เขา้ ไปในปลอก แลว้ นาเขา้ สเู่ ซลล์
โดยวิธฟี าโกไซโทซิส เกิดเป็ นฟูดแวควิ โอล นอกจากนย้ี งั พบ
เซลลบ์ ริเวณใกลก้ บั โคเอโนไซต์ มีลกั ษณะคลา้ ยอะมบี า
สามารถนาสารอนิ ทรียข์ นาดเล็กเขา้ สเู่ ซลลแ์ ลว้ สง่ อาหารท่ี

ยอ่ ยแลว้ แลว้ ยา้ ยไปยงั เซลลอ์ ืน่ ๆ

Gallbladder

ถงุ น้าดี

เป็ นอวยั วะในชอ่ งทอ้ งทท่ี าหนา้ ทใ่ี นการเก็บสะสมนา้ ดี เพอื่
ชว่ ยในการยอ่ ยอาหาร โดยจะมีโครงสรา้ งท่ีตดิ ตอ่ กบั ตบั ซึ่ง

เป็ นอวยั วะทีผ่ ลิตนา้ ดแี ละลาไสเ้ ล็กตอนตน้

Microbiome
ไมโครไบโอม

จลุ ชพี หรือไมโครไบโอมในระบบทางเดนิ อาหารชว่ ยในดา้ นของ
สขุ ภาพ สามารถยอ่ ยบางส่งิ ทเี่ ราทานเขา้ ไปแตก่ ระเพาะเราไม่
สามารถยอ่ ยมนั ได้ มหี นา้ ทเี่ กย่ี วกบั การสงั เคราะหว์ ติ ามนิ
อยา่ งเชน่ ไบโอตนิ และวติ ามนิ เค รวมทงั้ สรา้ งฮอรโ์ มนทจี่ ะท่จี ะ

ส่งสญั ญาณบอกร่างกายของวา่ จะเก็บหรือไมเ่ ก็บไขมนั

Duodenum
ดโู อดีนมั

ลาไลเ้ ล็กสว่ นตน้ มรี ปู ร่างเหมอื นตวั ยคู ลมุ อยรู่ อบๆบรเิ วณ
สว่ นหัวขอตบั ออ่ น เป็ นสว่ นทส่ี นั้ ที่สดุ และเกิดการยอ่ ยเชงิ เคมี

มากท่สี ดุ

Pancreas

ตบั อ่อน

ตาแหนง่ ของตบั ออ่ นอย่ดู า้ นหลงั ของกระเพาะอาหารใกลก้ บั ลาไส้
เล็กสว่ นตน้ ประกอบดว้ ยเซลลห์ ลกั 2 ชนดิ คอื เซลลจ์ ากตอ่ มไร้
ทอ่ มหี นา้ ทส่ี รา้ งฮอรโ์ มนหลายชนดิ อาทิ อินซลู ินและกลคู ากอน
ซ่ึงทาหนา้ ที่ควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลือด และเซลลจ์ ากตอ่ มมที อ่

ที่มหี นา้ ท่สี รา้ งนา้ ย่อยอาหารโดยเฉพาะไขมนั

U N I T 14

Respiration system

Trachea
ท่อลม

มหี นา้ ท่หี ลกั คอื การนาสง่ อากาศจากภายนอกรา่ งกายเขา้ สู่
ปอด เพอื่ ทาหนา้ ท่ีในการแลกเปล่ียนแกส๊ ออกซิเจนเขา้ สเู่ ลือด

ละนาแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากรา่ งกาย

Air sac

ถงุ ลม

เป็ นถงุ ทแ่ี ยกออกไปจากปอดและขวั้ ปอดหลายถึง มแี ขนง
ตดิ ตอ่ ไปถึงชอ่ งกลวงของกระดกู ทาหนา้ ท่ีเป็ นผชู้ ว่ ยปอด
โดยทาใหป้ อดไดร้ ับออกซิเจนตลอดเวลา เป็ นประโยชนใ์ น

การบินของนก

Bronchiole

หลอดลมฝอย

เป็ นแขนงยอ่ ยของหลอดลมของปอด หลอดลมฝอยเหลา่ น้ี
บางสว่ นนอกจะสามารถนาแกส๊ เขา้ สปู่ อดไดแ้ ลว้ ยงั สามารถ
ทาหนา้ ทีใ่ นการแลกเปล่ียนแกส๊ ไดด้ ว้ ย แตไ่ มเ่ ป็ นหนา้ ทห่ี ลกั

เหมอื นถงุ ลม

Book lung

ปอดแผง

ตดิ ตอ่ กบั อากาศภายนอกได้ ภายในมีลกั ษณะเป็ นแผน่ บางเรียงซอ้ น
กนั คลา้ ยหนงั สอื แกส๊ ออกซิเจนจะแพร่เขา้ ส่ขู องเหลวภายในปอด
แผง และถกู ลาเลียงไปยงั สว่ นตา่ งๆ หนา้ ทห่ี ลกั ของปอดคอื การ
แลกเปล่ียนแกส๊ ออกซิเจนจากสิง่ แวดลอ้ มเขา้ สรู่ ะบบเลอื ดในรา่ งกาย

Dibranchia

ไดบรานเชีย

หมกึ กะดองและหมกึ สาย เป็ นพวกไมม่ เี ปลอื กจะมเี หงอื ก 1
ค่เู รียกว่า ไดบรานเชยี อยภู่ ายในชอ่ งตวั นา้ ที่ไหลผา่ นลาตวั

จะถกู ดนั ออกทางชอ่ งไซฟอน

Tracheal system

ระบบท่อลม

ลาตวั ของแมลงจะมกี ารเคล่ือนไหวและขยบั อยเู่ สมอในขณะ
หายใจ ทาใหอ้ ากาศเขา้ ทางรเู ปิ ด(spiracle) และเขา้ สถู่ งุ ลม
แลว้ จงึ ผา่ นไปตามทอ่ ลมและทอ่ ลมย่อยซึ่งมผี นงั บางทา

หนา้ ที่แลกเปลยี่ นแกส๊

External respiration

การหายใจภายนอก

เป็ นการนาอากาศเขา้ ปอด การแลกเปล่ยี นระหวา่ งปอดกบั
เลอื ด เซลล์ เนอ้ื เยื่อ แลว้ นาออกซิเจนของอากาศหายใจเขา้ ใน

ปอดกบั คารบ์ อกไดออกไซตใ์ นหลอดเลือดฝอยของปอด

Internal respiration

การหายใจภายใน

เป็ นการแลกเปลีย่ นแกส๊ ระหว่างเซลลแ์ ละสารนา้ ท่ีอย่รู อบๆ
เซลล์ ซึ่งรวมถึงการใชอ้ อกซิเจนของเซลลด์ ว้ ย รวมเรียกว่า

การหายใจของเซลล์ ทาใหไ้ ดพ้ ลงั งานสงู ในรปู ของ ATP

External gill

แลกเปลยี่ นแกส๊ ผา่ นเหงือก

ลกู ออ๊ ด หายใจดว้ ยเหงอื ก เรียกว่า External gill เมอื่ โตเต็ม
วยั กบจะหายใจดว้ ยปอดและผวิ หนงั กบมปี อด 1 ค่หู อ้ ยอยู่
ภายในชอ่ งตวั ผนงั ดา้ นในของปอดกบจะย่น ทาใหเ้ พมิ่ พืน้ ที่

ในการแลกเปล่ยี นแกส๊ ไดม้ ากขน้ึ

Larynx

กลอ่ งเสียง

เป็ นอวยั วะในคอของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนา้ นมทท่ี าหนา้ ท่ใี นการ
ป้ องกนั ทอ่ ลมและการทาใหเ้ กดิ เสยี ง ในกลอ่ งเสียงมสี ายเสียง
แทห้ รือเสน้ เสยี งแท้ ซ่ึงอยใู่ ตบ้ ริเวณท่ีคอหอย แยกออกเป็ นทอ่

ลมและหลอดอาหาร

U N I T 15

Circulatory system
and lymphatic
system

Cardiac muscle

กลา้ มเน้ือหวั ใจ

เป็ นกลา้ มเนอ้ื ลายชนิดหนง่ึ ทอี่ ยนู่ อกอานาจจติ ใจ
(involuntary) พบทหี่ วั ใจ ทาหนา้ ทใี่ นการสบู ฉีดโลหิตไป
ยงั ระบบไหลเวียนโลหิตโดยการหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื

Globulin

โกลบลู ิน

โปรตนี สาคญั ของ Total protein อีกตวั หนงึ่ ทล่ี อ่ งลยิ อย่ใู น
พลาสมาหรอื ในกระแสเลือด ซ่ึงมปี ริมาณรองลงมาจาก
Albumin โดยมบี ทบาทในฐานะเป็ นวตั ถดุ ิบพน้ื ฐานใหร้ า่ งกายใช้
สรา้ งสารชวี โมเลกลุ ประเภทโปรตนี เพื่อประโยชนใ์ นการ

ดารงชวี ิตอย่างปกติ

Leukocytes

เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว

เป็ นเซลลข์ องระบบภมู คิ มุ้ กนั ซ่ึงคอยป้ องกนั ร่างกายจากทงั้
เชอ้ื โรคและสารแปลกปลอมตา่ งๆ เป็ นเซลลท์ ่ีพบไดท้ วั่ ไปใน

รา่ งกาย

Red blood cell

เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง

เป็ นเซลลท์ ไี่ มม่ นี วิ เคลยี ส และมรี ปู ร่างแตกตา่ งจากเซลล์
โดยทวั่ ไป เมอื่ ดผู า่ นกลอ้ งจลุ ทรรศนจ์ ะเห็นว่าเซลลเ์ ม็ดเลอื ด
แดงมลี กั ษณะคลา้ ยกบั โดนทั ที่ไมม่ รี ตู รงกลาง โดยสว่ นกลาง

จะมลี กั ษณะบางกวา่ สว่ นขอบของเซลล์

Lymph
น้าเหลือง

ของเหลวทห่ี มนุ เวยี นอยใู่ นระบบนา้ เหลอื ง เกิดขนึ้ เมอ่ื สารนา้
แทรกมารวมกนั ผา่ นหลอดนา้ เหลืองฝอย แลว้ ถกู สง่ ตอ่ ผา่ น
ทอ่ นา้ เหลืองไปยงั ตอ่ มนา้ เหลอื งกอ่ นท่ีมนทา้ ยทสี่ ดุ จะถกู
ผสมรวมกบั เลอื ดทีบ่ ริเวณหลอดเลอื ดดาใตก้ ระดกู ไหปลารา้

ซา้ ยหรือขวา

Fibrinogen
ไฟบรโิ นจิน

เป็ นโปรตนี ชนดิ หนง่ึ ท่ีถกู สงั เคราะหข์ นึ้ ทต่ี บั มี
หนา้ ที่ชว่ ยในการแข็งตวั ของเลือด

Platelet

เกลด็ เลือด

เป็ นส่วนประกอบของเลอื ด ซ่ึงมีหนา้ ที่ทาใหเ้ ลือดหยดุ
รว่ มกบั ปัจจยั เลือดจบั ลิ่มโดยเกาะกลมุ่ และจบั ลิ่มการบาดเจ็บ
ของหลอดเลอื ดไมม่ นี วิ เคลยี สของเซลล์ เป็ นส่วนหนงึ่ ของไซ

โทพลาซึมที่มาจากเมกาคารโิ อไซตข์ องไขกระดกู แลว้ เขา้ สู่
ระบบไหลเวียน

Antigen

แอนติเจน

สงิ่ แปลกปลอมเมอ่ื เขา้ ส่รู า่ งกายแลว้ กระตนุ้ ใหร้ ่างกายสรา้ ง
แอนตบิ อดแี ละแอนตเิ จนนนั้ จะทาปฏิกริ ยิ าจาเพาะกบั

แอนตบิ อดี ซ่ึงวคั ซีนก็ถือเป็ นแอนติเจนอย่างหนง่ึ บางสว่ น
ของแอนตเิ จนเทา่ นน้ั ทกี่ ระตนุ้ ใหร้ ่างกายตอบสนองดว้ ยการ

สรา้ งแอนตบิ อดี

Systolic pressure

ความดนั ซิสโกลกิ

หรือความดนั ในชว่ งบน คือ แรงดนั เลอื ดในขณะท่หี วั ใจบีบ
ตวั ซึ่งอาจจะสงู ตามอายุ และความดนั ชว่ งบนของคนคน
เดยี วกนั อาจมคี า่ ที่แตกตา่ งกนั ออกไป ตามทา่ เคลื่อนไหว
ของรา่ งกาย การเปล่ียนแปลงของอารมณ์ และปริมาณของ

การออกกาลงั กาย

Diastolic pressure

ความดนั ไดแอสโตลิก

หรือความดนั ชว่ งลา่ ง คือ แรงดนั เลอื ดในขณะทีห่ วั ใจ
คลายตวั ในปัจจบุ นั ไดม้ กี ารกาหนดค่าความดนั โลหิต

คอื <120 และ <80

U N I T 16

Immune system

Immune system

ระบบภมู ิคมุ้ กนั

ระบบทปี่ ระกอบขน้ึ จากโครงสรา้ งและกระบวนการทาง
ชวี ภาพหลายอยา่ งประกอบกนั มหี นา้ ที่คอยปกป้ องร่างกาย
ของสิง่ มชี วี ติ จากสง่ิ แปลกปลอมโดยเฉพาะจลุ ชพี กอ่ โรค เชน่

แบคทเี รีย ไวรสั ปรสติ รา พยาธิ

Innate immunity

ภมู ิคมุ้ กนั โดยกาเนิด

หรือภมู คิ มุ้ กนั ชนดิ ไมจ่ าเพาะ เป็ นดา่ นแรกในการตอ่ สแู้ ละ
ป้ องกนั เชอ้ื โรคที่เขา้ มาในร่างกาย กลไกนไี้ มจ่ าเพาะเจาะจง
กบั เชอ้ื โรคชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ แตป่ ้ องกนั โรคไดห้ ลายชนดิ และ

ไมม่ คี วามจดจาเชอื้ โรค

Passive immunity

ภมู ิคมุ้ กนั รบั มา

เป็ นภมู คิ มุ้ กนั ทีไ่ ดม้ าจากการสกดั จากเลอื ดของส่งิ มชี วี ิต แลว้
นามาฉีดใหร้ า่ งกายตา้ นทานโรคไดท้ นั ที เชน่ เซรมุ่ แกพ้ ิษงู
เซร่มุ โรคพิษสนุ ขั บ่า บาดทะยกั เป็ นตน้ หรือไดร้ บั ภมู คิ มุ้ กนั
ตง้ั แตอ่ ย่ใู นครรภแ์ ลว้

Active immunity

ภมู ิคมุ้ กนั กอ่ เอง

เป็ นภมู คิ มุ้ กนั ท่เี กดิ จากร่างกายไดร้ ับแอนตเิ จนหรือเชอ้ื โรคที่
อ่อนกาลงั ลงซ่ึงไมท่ าอันตรายตอ่ สขุ ภาพ โดยนามาฉีด กิน
หรือทาท่ผี วิ หนงั กระตนุ้ ใหร้ ่างกายสรา้ งแอนตบิ อดหี รือ

ภมู คิ มุ้ กนั ขน้ึ

Allergens

สารกอ่ ภมู ิแพ้

สารทส่ี ามารถกระตนุ้ ใหร้ ่างกายเกดิ ปฏิกิริยาอิมมนู ทาให้
รา่ งกายเกดิ ภมู ไิ วตอ่ สารเหลา่ นน้ั หรือท่เี รียกวา่ อาการ
ภมู แิ พ้ สารกอ่ ภมู ิแพท้ ี่พบทาใหเ้ กดิ อาการภมู ิแพแ้ บง่ ได้
หลกั ๆคือ สารจากไรฝ่ ุน เกสรจากพชื

Cytokine

ไซโตไคน์

คอื สารท่หี ลงั่ จากเซลลต์ า่ งๆ ในระบบภมู ิคมุ้ กนั ใน
ภาวะท่ถี กู กระตนุ้ ดว้ ยแอนตเิ จนหรือตอบสนองตอ่

ภาวะการอกั เสบ

Lymphocyte

ลิมโฟไซต์

เป็ นเม็ดเลือดขาวชนดิ หนงึ่ ทาหนา้ ท่ีเป็ นส่วนหนงึ่
ของระบบภมู คิ มุ้ กนั ของสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั
รวมถึงมนษุ ย์

Macrophage

แมโครฟาจ

เป็ น monocyte ที่อยใู่ นเนอ้ื เย่ือ กระจายอย่ใู นอวยั วะตา่ งๆ
เมอ่ื กิน antigen เขา้ ไปแลว้ จะทาหนา้ ทีเ่ ป็ น antigen presemting
cell คือสง่ สญั ญาณจาก antigen ตอ่ มาใหเ้ ซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว

ชนดิ T lymphocyte เพอื่ รบั หนา้ ท่ีตอ่ ไป

Mast cell

แมสตเ์ ซลล์

เป็ นเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวชนดิ หนง่ึ ท่อี ยใู่ นกลมุ่ เรยี กวา่ Myeloid
stem cell เป็ นเซลลเ์ กี่ยวขอ้ งกบั ระบบภมู คิ มุ้ กนั ตา้ นทานโรค
ของรา่ งกาย มกั พบไดต้ ามเนอ้ื เย่ือตา่ งๆทวั่ ร่างกาย เชน่

เนอ้ื เยื่อเกย่ี วพนั ผวิ หนงั เนอ้ื เย่ือใกลห้ ลอดเลอื ด

Antihistamine

แอนติฮิสตามีน

เป็ นสารท่เี กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ พบมากตามเนอ้ื เย่ือ
ตา่ งๆของร่างกาย เกิดจากปฏิกิริยาการดงึ เอาหมกู่ รดออก

จากโมเลกลุ ขงิ กรดอะมโิ นชนดิ หนงึ่ และเป็ นยาทใ่ี ชใ้ นการ
รกั ษาโรคท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั โรคภมู แิ พแ้ ละโรคผวิ หนงั

U N I T 17

Excretion system

Kidney

ไต

เป็ นอวยั วะรปู ถัว่ ซึ่งมหี นา้ ที่ควบคมุ สาคัญหลายอย่างในสตั ว์
มกี ระดกู สนั หลงั ไตนาโมเลกลุ อนิ ทรียส์ ่วนเกนิ ออก และดว้ ย

ฤทธิ์นเ้ี องท่ีเป็ นการทาหนา้ ท่ที ท่ี ราบกนั ดที ี่สดุ ของไต คอื
การขบั ของเสียจากเมแทบอลิซึม

Ureter

ท่อไต

เป็ นทอ่ เกดิ จากไยกลา้ มเนอ้ื เรียบซ่ึงลาเลยี งปัสสาวะจากไตสู่
กระเพาะปัสสาวะ มเี นอ้ื เยื่อบผุ วิ ขนดิ แปรเปล่ยี นและชนั้

กลา้ มเนอ้ื เรียบเพ่มิ ในสว่ นปลายหนง่ึ ในสามเพอื่ ชว่ ยบีบรดู

Kidney stone

นิ่วในไต

โรคที่เกดิ จากแรธ่ าตแุ ขง็ ชนดิ ตา่ งๆ ที่รวมตวั กนั เป็ นกอ้ น
กอ้ นนวิ่ มชี นดิ และขนาดท่ีแตกตา่ งกนั ไป โดยมกั เกดิ ขน้ึ

บริเวณไต แตพ่ บไดต้ ลอดระบบทางเดนิ ปัสสาวะ

Urinary bladder

กระเพาะปัสสาวะ

เป็ นอวัยวะซ่ึงเก็บปัสสาวะทไ่ี ตขบั ถา่ ยออกมากอ่ นกาจดั
ออกจากร่างกาย โดยการถ่ายปัสสาวะ เป็ นอวัยวะ
ยดื หยนุ่ และเป็ นกลา้ มเนอ้ื แอ่ง

Nephrostone

เนโฟรสโตน

ทาหนา้ ทีร่ บั ของเหลวจากชอ่ งของลาตวั สว่ นปลายอีกดา้ น
หนงึ่ เป็ นชอ่ งเปิ ดออกสภู่ ายนอกทางผวิ หนงั เนฟริเดยี มนจี้ ะ

ทาหนา้ ท่ีขบั ถ่ายของเสียพวกแอมโมเนยี และยเู รีย

Malpighian tubules

มลั พิเกยี น ทิวบลู

เป็ นหลอดเล็กยาวยน่ื ออกมาจากบริเวณระหว่างลาไส้
ส่วนกลางและลาไสส้ ว่ นทา้ ย หลอดเหลา่ นมี้ จี านวนแตกตา่ ง
กนั ในสตั วแ์ ตล่ ะชนดิ แตล่ ะหลอดเปิ ดมปี ลายซ่ึงอยใู่ นชอ่ งว่าง

ของลาตวั ทาหนา้ ทเ่ี ป็ นทางผา่ นของเลือด

Hypothalamus

ไฮโพทาลามสั

เป็ นโครงสรา้ งของสมองท่ีอยใู่ ตท้ าลามสั แตเ่ หนอื กา้ นสมอง
ทาหนา้ ท่ีเชอื่ มโยงการทางานของระบบประสาทและระบบ
ตอ่ มไรท้ อ่ พบในสมองของสตั วเ์ ลี้ยงลกู ดว้ ยนา้ นมทกุ ชนดิ

Aldosterone

แอลโดสเตอโรน

เป็ นฮอรโ์ มนอย่ใู นกลมุ่ มเิ นราโลคอรต์ คิ อยด์ ทีส่ รา้ งมา
จากตอ่ มหมวกไตส่วนนอก ทาหนา้ ท่ีกระตนุ้ ใหไ้ ตดดู

กลบั โซเดยี มและนา้ เขา้ สเู่ ลอื ด

Renal vein

รนี ลั เวน

หลอดเลอื ดแดงนม้ี ีแขนงสนั้ ๆ ทาใหเ้ กิดผลดคี ือ มี
ความดนั สงู ทาใหเ้ กดิ ความดนั ของการกรองไดม้ าก

Loop of henle

ห่วงเฮนเล

มหี นา้ ท่ปี รบั ของเหลวทีก่ รองไดท้ ่จี ะกลายเป็ นปัสสาวะ
ใหม้ ีความเขม้ ขน้ หรือเจือจางอย่างเหมาะสมและดดู สาร

ทีเ่ ป็ นประโยชนก์ ลบั เชน่ โซเดียม คลอไรด์


Click to View FlipBook Version