คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 1/41
คูม่ ือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควชิ าปรสิตวิทยา
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ล
คานา
หอ้ งปฏิบตั ิการ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาลไดร้ บั การรบั รองความสามารถตาม
มาตรฐานสากล ISO 15189 เม่ือวนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2549 และไดร้ บั การตอ่ อายกุ ารรบั รองความสามารถครงั้ ปัจจบุ นั เม่ือวนั ท่ี
วนั ท่ี 11 พฤศจิกายน 2563 และไดร้ บั การรบั รองดา้ นความปลอดภยั ตามมาตรฐาน ISO 15190 วนั ท่ี 11 พฤศจิกายน 2563
ภาควิชาฯ ไดป้ รบั ปรุงพฒั นาคณุ ภาพงานบรกิ ารทางหอ้ งปฏิบตั ิการ เพ่ือประโยชนส์ งู สดุ ของผรู้ บั บรกิ ารมีความปลอดภยั และ
เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกแก่อาจารย์ แพทย์ พยาบาล นักศึกษาแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ ภาควิชาปรสิตวิทยาจึงได้
จดั ทาค่มู ือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ภาควิชาปรสิตวิทยา ฉบบั ปรบั ปรุงใหม่นีข้ ึน้ อนั ประกอบดว้ ยขอ้ มลู เก่ียวกบั วิธีการ
ทดสอบทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารท่ีใหบ้ รกิ าร การเก็บตวั อย่างสิ่งสง่ ตรวจ การนาสง่ ส่ิงสง่ ตรวจ การรายงานผล รวมทงั้ ระยะเวลาท่ีใช้
สาหรบั การทดสอบแตล่ ะวิธี ซง่ึ ไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขขอ้ มลู ใหท้ นั สมยั สอดคลอ้ งกบั การใหบ้ รกิ าร
ภาควิชาปรสิตวิทยา หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ภาควิชาปรสิตวิทยา
ฉบับปรบั ปรุงใหม่นี้ จะเป็นประโยชน์สาหรบั ผูร้ บั บริการ และหากพบขอ้ ผิดพลาดหรือมีขอ้ เสนอแนะ ขอใหส้ ่งขอ้ มูลไปยัง
ภาควิชาปรสติ วทิ ยา เพ่อื จะไดน้ าไปปรบั ปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป
ภาควิชาปรสิตวิทยา
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
11 มนี าคม 2565
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 2/41
สารบัญ หน้า
4
หอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสิตวทิ ยา 5 - 10
การทดสอบท่ีใหบ้ รกิ าร
ชนดิ ของส่ิงสง่ ตรวจ 11
การขอสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา 11
คาแนะนาในการกรอกใบขอตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ภาควิชาปรสิตวิทยา 11
การขอตรวจเพ่มิ โดยใชส้ ิ่งสง่ ตรวจเดมิ ท่ีเคยสง่ มาแลว้ 12
วธิ ีปฏบิ ตั ใิ นการขอตรวจเพ่มิ โดยใชส้ ง่ิ สง่ ตรวจเดมิ ท่ีเคยสง่ มาแลว้ 12
การเก็บสง่ิ สง่ ตรวจ 12
การนาสง่ สิ่งสง่ ตรวจ 13
สถานท่ีท่ีสามารถนาสง่ สงิ่ สง่ ตรวจ 13
เกณฑก์ ารยอมรบั สิง่ สง่ ตรวจ 13
เกณฑก์ ารปฏิเสธสิ่งสง่ ตรวจ 14
การรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ 14 - 16
การเกบ็ อจุ จาระเพ่ือการตรวจวนิ จิ ฉยั ทางปรสติ วิทยา 16 - 18
การตรวจอจุ จาระ (Stool Examination) 19
19
• Direct wet smear technique 19
• Concentration technique: Modified formalin-ethyl acetate concentration 19
• Simple Sedimentation 20
• Occult blood in stool 20
• Fat in stool 21
• Staining techniques for stool examination 21
21
- Modified acid fast stain 21
- Trichrome staining 22
- Trichrome-methylene blue stain (Modified trichrome stain) 22
การตรวจวินิจฉยั โรคปรสติ ดว้ ยวธิ ีอมิ มโู นวทิ ยา 23
• ELISA for Entamoeba histolytica Ab 23
• ELISA for Cysticercus Ab 24
• ELISA for of Angiostrongylus cantonensis Ab
• Immunoblot for Gnathostoma spinigerum Ab
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 3/41
• Immunofluorescence assay for detection of Pneumocystis jirovecii antigen 24
• Malaria antigen (rapid test) 25
• ELISA for filaria IgG4 Ab 25
การตรวจ Fecal Calprotectin 26
การตรวจฟิลม์ เลือด (Blood film examination)
• Thin and thick blood film for identification of malaria 27
• Thin and thick blood film for identification of filaria 27
การเพาะเชือ้ จากนา้ ไขสนั หลงั (Cerebrospinal fluid culture) 27
การเพาะเชือ้ จาก Corneal swab (Corneal swab culture) 28
การตรวจเสมหะ (Sputum Examination) 28
• Sputum for simple direct wet smear technique 29
• Specimen for Gomori methenamine silver stain (GMS stain) 29
• Specimen for Giemsa stain 29
การตรวจหนองจากตบั (Liver abscess examination) 30
การตรวจปัสสาวะ (Urine examination) 30
การตรวจตกขาว และ Urethral discharge (Vaginal and urethral discharge examination) 31
การตรวจไขกระดกู และ aspirate จากมา้ ม (Spleen and bone marrow aspirate examination) 31
การตรวจชิน้ เนอื้ (Biopsy examination) 32
Scotch tape technique 32
การตรวจวนิ ิจฉยั ชนดิ ของแมลงและสตั วข์ าขอ้ ชนดิ อ่นื ๆ (Arthropod identification) 33
การตรวจวนิ ิจฉยั ชนดิ ของปรสิต (Parasite identification) 34
เอกสารอา้ งองิ 35
ภาคผนวก 36
• อตั ราคา่ บรกิ ารการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารภาควชิ าปรสติ วิทยา 37
• ตวั อย่างใบขอตรวจ 37
• ตวั อย่างใบรายงานผลทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา 38 - 39
40 - 41
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
คู่มือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 4/41
หอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควิชาปรสิตวิทยา
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล
ห้องปฏิบัติการ ภาควิชาปรสิตวิทยาให้บริการตรวจวินิจฉัยและตรวจวิเคราะห์การติดเชือ้ ปรสิตทางห้องปฏิบัติการ
สาหรบั ผปู้ ่วยของโรงพยาบาลศิรริ าช และการขอสง่ ตรวจจากภายนอกโรงพยาบาล ดงั นี้
1. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารกลาง ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 โทร. 02-419-6367
ใหบ้ รกิ ารตรวจอจุ จาระเพ่ือการวนิ ิจฉยั ปรสติ , Fecal Occult Blood Test (FOBT) และการตรวจเลือดเพ่ือการวินจิ ฉยั
เชือ้ มาลาเรยี
ผู้รับผิดชอบ นางจีรวรรณ องคโ์ รจนกลุ
วนั ทเ่ี ปิ ดบริการ เวลาปฏบิ ัตงิ าน เวลารับส่ิงส่งตรวจ
วนั จนั ทร์ – วนั ศกุ ร์ 08.00-20.30 น. 08.00-20.00 น.
วนั เสาร์ – วนั อาทติ ย์ 09.00-16.00 น. 09.00-15.30 น.
วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษแ์ ละวนั หยดุ ของคลินิกพิเศษ 08.00-13.00 น. 08.00-12.30 น.
2. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตรวจพเิ ศษ ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 โทร. 02-419-6473
ใหบ้ รกิ ารตรวจวินิจฉัยและวิเคราะหก์ ารติดเชือ้ ปรสิตดว้ ยวิธีพิเศษต่างๆ เช่น การยอ้ มสีพิเศษเพ่ือการวินิจฉัย
เชอื้ โปรโตซวั ฉวยโอกาส การตรวจดว้ ยวธิ ีอมิ มโู นวทิ ยา การเพาะเลยี้ งเชือ้ โปรโตซวั การตรวจวนิ ิจฉยั ชนิดของแมลงและ
สตั วข์ าขอ้ เป็นตน้
ผู้รับผิดชอบ นายพิสิฏธ์ ชินบตุ ร, นางสภุ าลกั ษณ์ วฒั โน
เวลารับสิ่งส่งตรวจ เช่นเดยี วกบั หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารกลาง
ในกรณีท่ีสง่ สิง่ สง่ ตรวจนอกเวลาราชการจะดาเนินการทดสอบในวนั และเวลาราชการ
ปรับปรุงข้อมลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
คู่มือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 5/41
การทดสอบทใ่ี หบ้ ริการ
สง่ิ ทต่ี อ้ งการตรวจ สิ่งส่งตรวจ รายงานผล สถานทส่ี ่ง รายละเอียดวธิ ีการ
ในเวลา ตรวจและการเกบ็
สิง่ สง่ ตรวจ (หน้า)
Ova and parasites
19
Direct wet smear Stool 1-5 g 1 ช่วั โมง 30นาท*ี * ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7
OR sputum
OR body fluid
GENERAL USE : Detection of ova and parasites อาคารนวมนิ ทรบพติ ร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลอื ด*
Trichrome stain Stool 1-5 g 1 วนั ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 21
19
GENERAL USE : Staining method for protozoal identification
19
Concentration technique Stool 15-30 g 2 ช่วั โมง*** ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7
อาคารนวมนิ ทรบพิตร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลอื ด*
GENERAL USE : Concentration technique for parasitic detection
Simple Sedimentation 24-hour stool 1 วนั *** ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7
Stool 15-30 g 2 ช่วั โมง
Detection for Capillaria philippinensis 24-hour stool 1 วนั
GENERAL USE : For patient with suspected capillariasis
หมายเหตุ : * รับเฉพาะสิง่ ส่งตรวจจากผู้ป่ วยนอก ทอ่ี าคารนวมินทรบพติ ร 84 พรรษา ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด โดยภาควชิ าพยาธวิ ิทยาคลนิ ิกจะจัดสง่
ต่อมายังหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา
Stool 5 g = อุจจาระประมาณเทา่ ขอ้ นิว้ แรกของนิว้ หวั แม่มอื
Stool 15-30 g = อุจจาระประมาณเทา่ ผลมะนาว
** วนั เสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วนั หยุดนักขัตฤกษแ์ ละวนั หยดุ คลนิ ิกพเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
*** วนั เสาร์ – อาทติ ย,์ วันหยุดนักขัตฤกษแ์ ละวันหยุดคลนิ กิ พเิ ศษ รับสง่ิ สง่ ตรวจไว้ก่อนและทาการทดสอบในเวลาราชการ
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
คู่มือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 6/41
การทดสอบทใ่ี หบ้ ริการ
สงิ่ ทต่ี ้องการตรวจ สง่ิ ส่งตรวจ รายงานผล สถานทส่ี ่ง รายละเอยี ดวธิ กี าร
ในเวลา ตรวจและการเกบ็
สิง่ ส่งตรวจ (หน้า)
Cryptosporidium spp. Stool 1-5 g 3 ช่วั โมง ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 21
Modified acid-fast stain OR sputum อาคารนวมนิ ทรบพิตร 84 พรรษา
OR body fluid ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด*
GENERAL USE : For patient with chronic diarrhea or suspected cryptosporidiosis
Cyclospora cayetanensis
Modified acid-fast stain Stool 1-5 g 3 ช่วั โมง ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 21
อาคารนวมนิ ทรบพิตร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลอื ด*
GENERAL USE : For patient with chronic diarrhea or suspected cyclosporosis
หมายเหตุ ใหก้ ารวินิจฉยั ดว้ ยวธิ ี Direct saline smear และ/หรอื Modified acid-fast stain
Cystoisospora belli
Modified acid-fast stain Stool 1-5 g 3 ช่วั โมง ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 21
อาคารนวมนิ ทรบพิตร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลอื ด*
GENERAL USE : For patient with chronic diarrhea or suspected cystoisosporiasis
หมายเหตุ ใหก้ ารวินิจฉยั ดว้ ยวธิ ี Direct saline smear และ/หรอื Modified acid-fast stain
Microsporidia
Trichrome-methylene blue Stool 1-5 g, 1 วนั ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 21
stain corneal swab, อาคารนวมนิ ทรบพติ ร 84 พรรษา
sputum ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลอื ด*
GENERAL USE : For patient with chronic diarrhea or suspected microsporidiosis
Enterobius vermicularis Slide with swabbed tape 1 ช่วั โมง** ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 33
Scotch-tape technique อาคารนวมนิ ทรบพติ ร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด*
GENERAL USE : For patient with suspected enterobiasis
หมายเหตุ : * รับเฉพาะสง่ิ สง่ ตรวจจากผู้ป่ วยนอก ทอ่ี าคารนวมินทรบพติ ร 84 พรรษา ชน้ั 1 หอ้ งเจาะเลอื ด โดยภาควชิ าพยาธวิ ิทยาคลินิกจะจดั สง่
ต่อมายังหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา
Stool 5 g = อุจจาระประมาณเทา่ ข้อนิว้ แรกของนิว้ หวั แม่มอื
Stool 15-30 g = อุจจาระประมาณเทา่ ผลมะนาว
** วนั เสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วันหยุดนักขัตฤกษแ์ ละวนั หยดุ คลินกิ พเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
ปรับปรุงข้อมูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คู่มอื การส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 7/41
การทดสอบทใี่ หบ้ ริการ
สง่ิ ทต่ี อ้ งการตรวจ สง่ิ ส่งตรวจ รายงานผล สถานทส่ี ่ง รายละเอยี ดวธิ กี าร
ในเวลา ตรวจและการเกบ็
Occult Blood in stool Stool 1-5 g สงิ่ ส่งตรวจ (หน้า)
1 ช่วั โมง**
Occult blood test ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 20
อาคารนวมนิ ทรบพติ ร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด*
GENERAL USE
ใหบ้ รกิ ารตรวจดว้ ยวิธี guaiac test และวิธี immunochromatographic test
Fat globule in stool Stool 1-5 g 1 ช่วั โมง** ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 20
Sudan test
อาคารนวมนิ ทรบพิตร 84 พรรษา
ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด*
GENERAL USE : Detection of fat globule in stool
Malaria
Thick / Thin blood film EDTA blood 2-3 ml 1 ช่วั โมง** ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 27
25
หมายเหตุ ควรสง่ ตรวจทงั้ thick blood film และ thin blood film ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7
อาคารนวมนิ ทรบพติ ร 84 พรรษา
Malaria Ag (rapid test) EDTA blood 2-3 ml 1 ช่วั โมง ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด*
( ดรู ายละเอยี ดการสง่ หนา้ 24 )
GENERAL USE : For patient with suspected malarial infection
หมายเหตุ : * รับเฉพาะส่งิ ส่งตรวจจากผู้ป่ วยนอก ทอ่ี าคารนวมินทรบพติ ร 84 พรรษา ชน้ั 1 โดยภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยาคลินิกจะจดั ส่งต่อมายัง
หอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสิตวทิ ยา
Stool 5 g = อุจจาระประมาณเทา่ ขอ้ นิว้ แรกของนิว้ หวั แม่มอื
Stool 15-30 g = อุจจาระประมาณเทา่ ผลมะนาว
** วันเสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วันหยุดนักขตั ฤกษแ์ ละวนั หยดุ คลินิกพเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
ปรับปรุงข้อมลู วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 8/41
การทดสอบทใ่ี หบ้ ริการ
สง่ิ ทตี่ อ้ งการตรวจ สิ่งส่งตรวจ รายงานผล สถานทสี่ ่ง รายละเอียดวิธีการ
ในเวลา ตรวจและการเก็บ
สง่ิ ส่งตรวจ (หน้า)
Angiostrongylus cantonensis Ab
23
ELISA Clotted blood 5 ml 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7
OR CSF 1-3 ml
GENERAL USE : For patient with eosinophilic meningoencephalitis or suspected angiostrongylosis
หมายเหตุ ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี
Cysticercus Ab Clotted blood 5 ml 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 23
ELISA
GENERAL USE : For patient with eosinophilic meningoencephalitis or suspected cysticercosis
หมายเหตุ ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี
Entamoeba histolytica Ab 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 22
ELISA Clotted blood 5 ml
GENERAL USE : For patient with suspected amoebiasis
หมายเหตุ ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี
Gnathostoma spinigerum Ab
Immunoblot Clotted blood 5 ml 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 24
OR CSF 1-3 ml
GENERAL USE : For patient with eosinophilic meningoencephalitis or suspected gnathostomiasis
หมายเหตุ ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
คมู่ ือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 9/41
การทดสอบทใ่ี หบ้ ริการ
สงิ่ ทตี่ อ้ งการตรวจ สิ่งส่งตรวจ รายงานผล สถานทสี่ ่ง รายละเอยี ดวธิ กี าร
ในเวลา ตรวจและการเกบ็
Filaria Thick blood film EDTA blood 2-3 ml ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 สง่ิ ส่งตรวจ (หน้า)
Filaria ELISA IgG4 Ab Clotted blood 5 ml 1 วนั ** ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7
1 สปั ดาห์ 27
25
GENERAL USE : For patient with suspected filarial infection
หมายเหตุ Filaria ELISA IgG4 Ab ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี
Pneumocystis jirovecii (Pneumocystis carinii)
Giemsa stain induced sputum 1-5 ml 1 วนั ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 30
29
GMS stain OR BAL 1-5 ml 1 วนั
24
OR Sputum *1 สปั ดาห์
*Immunofluorescent OR pleural fluid
antibody test OR bronchial/gastric washing
OR nasotracheal suction
OR transbronchial /lung biopsy
GENERAL USE : For patient with suspected Pneumocystis pneumonia (PCP)
*หมายเหตุ ทาการทดสอบทกุ วนั พธุ และวนั ศกุ ร,์ BAL = Bronchoalveolar lavage, ถา้ เป็น Sputum จะพบเชือ้ ไดน้ อ้ ย
Fecal Calprotectin Stool 5-10 g 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 24
หมายเหตุ ทาการทดสอบทกุ วนั ศกุ ร์
Acanthamoeba species CSF 1-3 ml 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 28
NNE culture
GENERAL USE : For patient with granulomatous skin lesion or suspected granulomatous amebic encephalitis (GAE)
and Acanthamoeba keratitis
หมายเหตุ : ** วนั เสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วันหยุดนักขตั ฤกษแ์ ละวนั หยดุ คลินิกพเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
ปรับปรุงข้อมลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
ค่มู ือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 10/41
การทดสอบทใ่ี หบ้ ริการ
สง่ิ ทตี่ อ้ งการตรวจ สงิ่ ส่งตรวจ รายงานผล สถานทสี่ ่ง รายละเอียดวิธีการ
ในเวลา ตรวจและการเก็บ
ส่ิงสง่ ตรวจ (หน้า)
Naegleria fowleri CSF 1-3 ml 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7
NNE culture 27
GENERAL USE : For patient with suspected primary amebic meningoencephalitis (PAM)
Leishmania species
NNN culture Skin OR tissue biopsy 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 32
OR body fluid 1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 34
1 สปั ดาห์ ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7 35
GENERAL USE : For patient with suspected leishmaniasis
หมายเหตุ กรุณาโทรศพั ทต์ ดิ ตอ่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารลว่ งหนา้
Arthropod identification ตวั อยา่ งหรอื ชนิ้ สว่ นของ
แมลงและสตั วข์ าขอ้
Parasite identification ตวั อย่างหรอื ชนิ้ สว่ นของ
พยาธิ
การใหบ้ รกิ ารการทดสอบทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา
การตรวจสิ่งส่งตรวจเพ่ือการวินิจฉยั หรอื การทดสอบทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ภาควิชาปรสิตวิทยาท่ีใหบ้ ริการจะครอบคลมุ การ
ตดิ เชือ้ ปรสิตท่ีสาคญั ทางการแพทยแ์ ละพบไดบ้ ่อยในประเทศไทย ซง่ึ จะกลา่ วถึงรายละเอียดของวธิ ีการทดสอบตา่ งๆ ตามชนิด
สงิ่ สง่ ตรวจดงั นี้
1. การตรวจอจุ จาระ
2. การตรวจดว้ ยวธิ ีอิมมโู นวทิ ยา
3. การตรวจฟิลม์ เลือด
4. การตรวจส่ิงสง่ ตรวจอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ นา้ ไขสนั หลงั เสมหะ และสิ่งคดั หล่งั เป็นตน้
5. การตรวจวนิ ิจฉยั ชนิดของปรสิต แมลง และสตั วข์ าขอ้ ชนิดอ่นื ๆ
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
คูม่ อื การส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 11/41
ชนิดของส่ิงสง่ ตรวจ
1. อจุ จาระ
2. เลือด (EDTA blood, heparinized blood, clotted blood, whole blood)
3. ซรี มั (serum)
4. นา้ ไขสนั หลงั (cerebrospinal fluid, CSF)
5. เสมหะ, induced sputum
6. สง่ิ สง่ ตรวจจากเย่ือบทุ างเดนิ หายใจ (nasal swab, throat swab, nasopharyngeal aspiration/swab, nasotracheal
suction)
7. นา้ ลา้ งหลอดลม ถงุ ลม (bronchoalveolar lavage)
8. ปัสสาวะ
9. ชิน้ เนือ้ ชิน้ สว่ นอวยั วะ หรอื อวยั วะภายใน ไดแ้ ก่ สมอง ตบั ไต ปอด เป็นตน้
10. แมลง และสตั วข์ าขอ้ ชนิดอ่ืนๆ รวมทงั้ ส่ิงสง่ ตรวจท่ีสงสยั วา่ เป็นพยาธิ
11. นา้ ท่ีสงสยั วา่ มีการปนเปื้อนของปรสติ
12. ของเหลวจากรา่ งกาย (body fluid) ไดแ้ ก่ pleural fluid เป็นตน้
13. สิ่งสง่ ตรวจอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ vaginal discharge, urethral discharge, splenic aspiration, gastric washing, bronchial
washing ไขกระดกู เป็นตน้
การขอส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสิตวทิ ยา
1. กรณีท่ีเป็นการขอสง่ ตรวจจากภายในโรงพยาบาลศิรริ าช ใหใ้ ชใ้ บขอตรวจของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา และ
การขอตรวจทางระบบสารสนเทศ (eHIS)
2. กรณีท่ีเป็นการขอสง่ ตรวจจากภายนอกโรงพยาบาลศริ ริ าช สามารถใชใ้ บขอตรวจของหอ้ งปฏิบตั ิการตน้ ทางได้ โดย
ตอ้ งมขี อ้ มลู เก่ียวกบั การขอสง่ ตรวจท่ีสาคญั คือ
• ช่ือ-นามสกลุ และหมายเลขประจาตวั (เช่น HN) ของผปู้ ่วย
• ระบชุ นิดของการตรวจท่ีตอ้ งการขอสง่ ตรวจ
• ระบวุ ธิ ีการตดิ ตอ่ กลบั ไปยงั หอ้ งปฏบิ ตั ิการตน้ ทาง
• ระบชุ ่ือแพทยผ์ ขู้ อสง่ ตรวจ
• ระบวุ นั และเวลาท่ีเก็บสิง่ สง่ ตรวจ
คาแนะนาในการกรอกใบขอตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา
1. กรอกขอ้ มลู ในใบขอตรวจใหค้ รบถว้ น
2. ทาเคร่ืองหมายเพ่อื ระบชุ นิดการทดสอบท่ีตอ้ งการขอสง่ ตรวจในช่องท่ีกาหนด
3. ระบชุ ่ือแพทยผ์ ขู้ อสง่ ตรวจพรอ้ มรหสั แพทยท์ กุ ครงั้
4. ระบวุ นั ท่ีและเวลาท่ีเก็บสิ่งสง่ ตรวจ
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 12/41
การขอตรวจเพมิ่ โดยใช้ส่งิ ส่งตรวจเดมิ ทเ่ี คยส่งมาแล้ว ภาควชิ าปรสติ วิทยา มีเกณฑพ์ จิ ารณา ดังนี้
1. สิง่ สง่ ตรวจมปี รมิ าณเพียงพอในการตรวจดว้ ยวิธีท่ีตอ้ งการขอตรวจเพ่มิ
2. การตรวจอจุ จาระเพ่อื การวินิจฉยั การตดิ เชือ้ ปรสติ และการตรวจฟิลม์ เลอื ดเพ่อื การวนิ ิจฉยั มาลาเรยี สามารถขอตรวจ
เพ่มิ ไดภ้ ายในวนั เดยี วกนั ก่อนเวลา 16.00 น.
3. การตรวจวิเคราะหว์ นิ ิจฉยั ดว้ ยวิธี Immunology สามารถขอตรวจเพ่มิ ไดภ้ ายใน 1 เดือน หลงั จากวนั ท่ีสง่ ตรวจครงั้ แรก
4. การตรวจวิเคราะหด์ ว้ ยวธิ ีการยอ้ มสพี ิเศษ สามารถขอตรวจเพมิ่ ไดภ้ ายในวนั เดยี วกนั ก่อนเวลา 16.00 น.
วิธีปฏิบัติในการขอตรวจเพ่ิมโดยใช้สิ่งส่งตรวจเดิมที่เคยส่งมาแล้ว (เฉพาะการทดสอบท่ีสามารถขอตรวจเพิ่มได้
เทา่ นั้น)
1. ผขู้ อตรวจโทรศพั ทต์ ิดต่อหอ้ งปฏิบตั ิการปรสิตวิทยา เพ่ือตรวจสอบว่ามีสิ่งส่งตรวจท่ีถกู ตอ้ งตามเกณฑท์ ่ีระบุ และมี
ปรมิ าณเพยี งพอหรือไม่
2. ในกรณีท่ีบคุ ลากรทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารตรวจสอบแลว้ พบวา่ สามารถขอตรวจเพ่ิมโดยใชส้ ิ่งสง่ ตรวจเดิมได้ ใหผ้ ขู้ อตรวจ
ดาเนินการกรอกใบขอตรวจฉบบั ใหม่ ระบุชนิดการทดสอบท่ีขอตรวจเพิ่ม พรอ้ มทงั้ ระบุในใบขอตรวจใหม่ใหช้ ดั เจน
ดว้ ยวา่ เป็นการขอตรวจเพ่มิ โดยใชส้ ิ่งสง่ ตรวจเดิมท่ีเก็บไวเ้ ม่ือใด
3. ผขู้ อตรวจสง่ ใบขอตรวจเพ่มิ มาตามกระบวนการขอสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของคณะฯ ตามปกติ
การเก็บสิง่ ส่งตรวจ
1. การเตรยี มผปู้ ่วย ไดร้ ะบรุ ายละเอียดในการเตรยี มผปู้ ่วยในแต่ละวิธีทดสอบ
2. ชนิดของภาชนะบรรจสุ งิ่ สง่ ตรวจ มีดงั นี้
2.1 ภาชนะบรรจุตัวอย่างอุจจาระ ท่ีใช้ในโรงพยาบาลศิริราชเป็นกระบอกพลาสติกสีนา้ ตาลโปร่งแสง ฝาปิด
มีเกลียวพรอ้ มท่ีตกั อจุ จาระ
2.2 หลอดเก็บเลือด (vacutainer) ชนิดท่ีใชใ้ นโรงพยาบาลศิริราช สาหรบั ส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ ภาควิชา
ปรสิตวิทยา มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่
• หลอดจกุ สีแดง : ภายในหลอดบรรจุ activator ท่ีทาใหเ้ กิดการแข็งตวั ของเลอื ด
• หลอดจกุ สมี ่วง : ภายในหลอดบรรจุ EDTA เป็นสารกนั เลอื ดแข็งตวั
2.3 สาหรบั สิ่งส่งตรวจอ่ืนๆ ใหเ้ ลือกใชภ้ าชนะบรรจตุ ามความเหมาะสมของขนาดและปรมิ าณสิ่งส่งตรวจ แต่ควร
แหง้ สะอาด ไม่มีการปนเปื้อนปรสติ และตอ้ งมฝี าปิดมิดชิด
3. การติดปา้ ยช่ือ-นามสกลุ ผปู้ ่วย บนภาชนะท่ีเก็บสง่ิ สง่ ตรวจ หรอื หลอดเก็บเลอื ด มีขอ้ ปฏบิ ตั ดิ งั นี้
3.1 ปิด sticker เป็นแนวตรงตามแนวยาวของภาชนะหรอื หลอดเก็บเลอื ด ไม่มว้ นเกลยี วรอบหลอด
3.2 สาหรบั หลอดเก็บเลือดเม่ือปิด sticker แลว้ ตอ้ งยงั มองเห็นแถบสีท่ีบอกชนิดของหลอดเลือด และเวน้ ช่องว่าง
ใหเ้ หน็ ขีดบอกระดบั เลอื ดท่ีตอ้ งเจาะ และระดบั เลอื ดท่ีใสล่ งในหลอดเก็บเลือด
3.3 ถา้ sticker ยาวเกินภาชนะ ใหต้ ดั สว่ นท่ีเกินออกหรอื พบั sticker สว่ นเกินเขา้ หากนั โดยตอ้ งยงั สามารถอา่ น HN
และช่ือ-นามสกลุ ของผปู้ ่วยไดอ้ ย่างชดั เจน
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คู่มือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 13/41
การนาส่งสงิ่ ส่งตรวจ
1. หลงั การเก็บสิ่งส่งตรวจควรนาส่งหอ้ งปฏิบตั ิการทนั ที หรือไม่เกินระยะเวลาท่ีกาหนด (ตามรายละเอียดของแต่ละวิธี
ทดสอบ) ในกรณีท่ีไม่สามารถนาสง่ ไดท้ นั ทีใหเ้ ก็บรกั ษาสง่ิ สง่ ตรวจท่ีอณุ หภมู ิ 4-8 °C หรอื เติมนา้ ยาเคมีตามท่ีกาหนด
ในแตล่ ะวิธีทดสอบ แลว้ นาสง่ หอ้ งปฏิบตั ิการ โดยเจา้ หนา้ ท่ีของโรงพยาบาลท่ีไดร้ บั มอบหมาย, ผปู้ ่วยหรอื ญาตผิ ปู้ ่วย
และทางไปรษณีย์ หรอื การบรกิ ารขนสง่
2. การนาสง่ ส่ิงสง่ ตรวจจากหน่วยงานตน้ ทางมาสหู่ อ้ งปฏิบตั กิ าร ควรนาสง่ ในกลอ่ งหรอื ภาชนะพลาสติกท่ีมีฝาปิดมิดชิด
หรอื ใสใ่ นถงุ พลาสตกิ ท่ีมดั ปากถงุ ใหแ้ น่นหนา
3. การนาสง่ สิ่งสง่ ตรวจท่ีตอ้ งมเี ง่ือนไขเป็นพิเศษ ใหด้ รู ายละเอียดในแต่ละวธิ ีทดสอบ
4. วธิ ีการเก็บรกั ษาสิง่ สง่ ตรวจกอ่ นการนาสง่
ก่อนการนาสง่ สิ่งสง่ ตรวจสง่ หอ้ งปฏิบตั ิการปรสิตวิทยา สามารถเก็บรกั ษาสิ่งสง่ ตรวจไวใ้ นภาวะตา่ งๆ ขนึ้ กบั
ชนิดสิ่งสง่ ตรวจ ดงั นี้
1. อณุ หภมู ิหอ้ ง
2. ตเู้ ยน็ (4 - 8 °C)
3. เก็บรกั ษาในนา้ ยาเคมี
สถานทท่ี ส่ี ามารถนาส่งสงิ่ ส่งตรวจ
1. หอ้ งปฏิบตั กิ ารกลาง ภาควิชาปรสิตวทิ ยา ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7
2. หอ้ งปฏิบัติการภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก อาคารนวมินทรบพิตร 84 พรรษา ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด* รบั เฉพาะส่ิงส่ง
ตรวจของผปู้ ่วยนอกโรงพยาบาลศิรริ าช เพ่ือสง่ ตอ่ มายงั หอ้ งปฏิบตั ิการกลาง ภาควิชาปรสิตวิทยา ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม
ชนั้ 7
3. ศนู ยบ์ รหิ ารจดั การสิง่ สง่ ตรวจศริ ริ าช (SiSC) ตกึ จลุ ชีวชีววทิ ยา ชนั้ 1
เกณฑก์ ารยอมรับสิ่งส่งตรวจ เพ่อื การตรวจวนิ ิจฉยั หรือการทดสอบ ทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสิตวทิ ยา
1. สิง่ สง่ ตรวจมีปรมิ าณเพียงพอสาหรบั การตรวจวนิ ิจฉยั หรอื การทดสอบ และบรรจใุ นภาชนะท่ีเหมาะสมและปิดฝาแนน่
ไม่หกเลอะเทอะ
2. สิ่งส่งตรวจพรอ้ มใบขอตรวจท่ีมีขอ้ มลู ตรงกัน ทงั้ ช่ือ-นามสกุลของผูป้ ่ วย และชนิดของส่ิงส่งตรวจสอดคลอ้ งกับการ
ทดสอบท่ีขอตรวจ
3. การทดสอบท่ีขอตรวจเป็นวิธีท่ีให้บริการระบุในคู่มือการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราช
พยาบาล
ปรับปรุงข้อมลู วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คูม่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 14/41
เกณฑก์ ารปฏเิ สธสงิ่ ส่งตรวจ
เพ่อื ใหก้ ารตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานอย่างถกู ตอ้ ง บคุ ลากรทางหอ้ งปฏิบตั ิการท่ีรบั สง่ิ สง่
ตรวจจะปฏิเสธสง่ิ สง่ ตรวจหรือปฏิเสธการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสิตวทิ ยา ในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้
1. มีใบขอตรวจท่นี าสง่ แต่ไม่มีสิ่งสง่ ตรวจ
2. มสี งิ่ สง่ ตรวจแตไ่ มม่ ีใบขอตรวจ
3. ใบขอตรวจท่ีไม่ไดร้ ะบชุ ่ือ-นามสกลุ และ HN ของผปู้ ่วย
4. ช่ือ-นามสกุล และ HN ของผู้ป่ วยในใบขอตรวจ ไม่ตรงกับช่ือ-นามสกุล และ HN ท่ีปรากฏบนฉลากติดภาชนะ
บรรจสุ ิง่ สง่ ตรวจ
5. สง่ิ สง่ ตรวจมปี รมิ าณไม่เพียงพอในการดาเนินการทดสอบ
6. ภาชนะบรรจสุ ง่ิ สง่ ตรวจไม่ระบหุ รอื ไม่ตดิ ฉลากช่ือและนามสกลุ ของผปู้ ่วย
7. ภาชนะบรรจสุ งิ่ สง่ ตรวจชารุดเสียหาย
8. สิ่งสง่ ตรวจหกเลอะเทอะจนไมส่ ามารถทาการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารได้
9. ไม่ระบรุ ายการขอสง่ ตรวจ (ช่ือการทดสอบ)
10. ชนิดของสิ่งสง่ ตรวจไมส่ อดคลอ้ งกบั การทดสอบท่ีขอตรวจ เช่น การสง่ เลือดเพ่อื ตรวจหาการตดิ เชือ้ ปรสิตในลาไส้ เป็นตน้
11. การขอส่งตรวจการทดสอบท่ีหอ้ งปฏิบตั ิการภาควิชาปรสิตวิทยาไม่ไดใ้ หบ้ ริการตามท่ีระบุในคู่มือการส่งตรวจทาง
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
12. สง่ สง่ิ สง่ ตรวจผิดหอ้ งปฏิบตั กิ าร
13. การตรวจวนิ ิจฉยั ชนิดของแมลงและสตั วข์ าขอ้ ชนิดอ่ืนๆ ทางนิติเวชศาสตร์
เม่ือพบส่ิงส่งตรวจท่ีไม่ไดม้ าตรฐานตามเกณฑก์ ารปฏิเสธสิ่งส่งตรวจของหอ้ งปฏิบตั ิการ เจา้ หนา้ ท่ีผูร้ บั สิ่งส่ง
ตรวจจะทาการปฏิเสธสงิ่ สง่ ตรวจ โดยปฏบิ ตั ิดงั นี้
• ติดต่อไปยังผู้รับผิดชอบการขอตรวจ/การดูแลผู้ป่ วยเพื่อแจ้งการปฏิเสธส่ิงส่งตรวจ ใหร้ บั ทราบและดาเนินการ
แกไ้ ข
• สง่ คนื ส่ิงสง่ ตรวจท่ีถกู ปฏิเสธ พรอ้ มกบั ใบรายงานความผิดพลาดของการขอตรวจ กลบั ไปยงั หนว่ ยงานท่ีขอตรวจ
• หนว่ ยงานท่ีขอตรวจทาการแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง และนาสิ่งสง่ ตรวจใหม่พรอ้ มใบขอตรวจใบใหม่
การรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
ภายหลงั การตรวจวิเคราะหท์ างหอ้ งปฏิบตั ิการเสร็จสิน้ ผลการตรวจจะไดร้ บั การตรวจสอบเบือ้ งตน้ โดยบุคลากร
หอ้ งปฏิบัติการผูร้ บั ผิดชอบการตรวจวิเคราะหน์ นั้ ๆ และผ่านเขา้ ส่กู ระบวนการประเมินและรบั รองผลการตรวจวิเคราะหโ์ ดย
อาจารยห์ รือบคุ ลากรในหอ้ งปฏิบตั ิการท่ีผไู้ ดร้ บั มอบหมาย หลงั จากนนั้ จึงรายงานผลการตรวจวิเคราะหผ์ ่านระบบสารสนเทศ
ของโรงพยาบาลศิรริ าช
ปรับปรุงข้อมูล วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 15/41
1. การรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาควชิ าปรสติ วทิ ยา
1.1 การรายงานผล online ผ่านระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล ซ่ึงผูใ้ ชบ้ ริการสามารถเรียกดูผล ไดจ้ ากเคร่ือง
คอมพวิ เตอรใ์ นระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลท่ีหอผปู้ ่วย/หอ้ งตรวจโดยตรงรวมทงั้ สามารถส่งั พมิ พส์ าเนาใบ
รายงานผลของผปู้ ่วยรายนนั้ ๆ ไดต้ ามตอ้ งการ
1.2 รายงานเป็นเอกสารใบรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ซ่ึงจะสง่ มอบใหก้ บั ผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ป็น
ผูร้ บั ใบรายงานผลนั้นๆ แบบปกปิด ตามแนวทางปฏิบัติสาหรบั การรายงานผล โดยคานึงถึงสิทธิผูป้ ่ วยของ
คณะฯ
2. การรับใบรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาควิชาปรสติ วิทยา
2.1 ผู้ได้รบั มอบหมายจากหน่วยงานท่ีขอตรวจให้เป็นผูร้ บั มอบใบรายงานผล มาติดต่อขอรบั ใบรายงานผลท่ี
หอ้ งปฏิบตั กิ ารภาควชิ าปรสติ วทิ ยา ตกึ อดลุ ยเดชวิกรม ชนั้ 7
2.2 สถานท่ีรบั ใบรายงานผล
• หอ้ งปฏิบตั ิการกลาง ภาควชิ าปรสิตวทิ ยา ตกึ อดลุ ยเดชวกิ รม ชนั้ 7 โทร. 96367
2.3 เจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งปฏิบตั ิการ จะตรวจสอบหลกั ฐานการขอรบั ใบรายงาน ซง่ึ ไดแ้ ก่
• บตั รประจาตวั / บตั รแสดงตนอ่ืนๆ ของผมู้ าขอรบั ใบรายงานผล
• หลกั ฐานการไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ป็นผรู้ บั ใบรายงานผล ไดแ้ ก่ ซองพลาสติกท่ีใชส้ าหรบั ขอรบั ใบรายงานผล
ทางหอ้ งปฏิบตั ิการของหน่วยงานขอตรวจในโรงพยาบาลศิรริ าช หรือบตั รเลก็ โรงพยาบาลของผปู้ ่วยหรอื ใบ
ขอรับผลท่ีออกให้โดยแพทย์/พยาบาล/หน่วยงานท่ีขอตรวจ (กรณีผู้ป่ วยหรือญาติ หรือ เจ้าหน้าท่ี
โรงพยาบาลอ่ืน มาขอรบั ใบรายงานผล)
2.4 เจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งปฏิบตั กิ าร คดั แยกใบรายงานผลตามหมายเลข Lab No ของใบรายงานผลท่ีจะสง่ มอบ และส่ง
มอบใบรายงานผลแบบปกปิดใหแ้ กผ่ มู้ าขอรบั ใบรายงานผล
2.5 ผมู้ าขอรบั ใบรายงานผล เขียนช่ือ-นามสกลุ (ตวั บรรจง) ในชอ่ งผรู้ บั ใบรายงานผลของแบบรบั ใบรายงานผล
3. การรายงานผลทางโทรศัพท์
ภาควชิ าปรสิตวิทยา มีนโยบายไม่รายงานผลทางโทรศพั ท์ ในกรณีระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลขดั ขอ้ ง
ทาใหไ้ ม่สามารถเรียกดผู ลการตรวจวิเคราะหผ์ ่านทางระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลได้ หอ้ งปฏิบตั ิการจะออกใบ
รายงานผลตามแบบฟอรม์ ใบรายงานผลปกติ โดยลงผลการทดสอบดว้ ยลายมือ และโทรศพั ทแ์ จง้ หน่วยงานตน้ ทางให้
มารบั ใบรายงานผล
4. การรายงานผลกรณขี อผลดว่ น
สาหรบั การตรวจวินิจฉัยวิเคราะหท์ ่ีขอผลด่วน เม่ือดาเนินการตรวจวินิจฉัย วิเคราะหเ์ สร็จสิน้ บุคลากรทาง
หอ้ งปฏิบตั ิการจะติดต่อแจง้ ใหผ้ ขู้ อตรวจทราบ ซ่งึ ผขู้ อตรวจสามารถเรียกดผู ลการตรวจวินิจฉัย วิเคราะหจ์ ากระบบ
สารสนเทศของโรงพยาบาลท่ีหอผปู้ ่วย/หอ้ งตรวจไดโ้ ดยตรง รวมทงั้ สามารถส่งั พิมพส์ าเนาใบรายงานผลจากระบบได้
ดว้ ย โดยไม่จาเป็นตอ้ งรอใบรายงานผลฉบบั จรงิ (ฉบบั ท่ีมลี ายมือช่ือของผรู้ บั รองผล) จากหอ้ งปฏิบตั ิการ
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
คู่มือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 16/41
5. การออกรายงานผลการตรวจวนิ ิจฉัย/วิเคราะหก์ รณีพบเชือ้ ปรสติ ทก่ี อ่ โรครุนแรง
ในกรณีท่ีพบเชือ้ ท่ีก่อโรครุนแรง บคุ ลากรทางหอ้ งปฏิบตั ิการแจง้ ใหแ้ พทยห์ รือหน่วยงานท่ีส่งตรวจทราบโดย
ทนั ที และใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีรบี ดผู ลการตรวจทางระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล หรอื มารบั ใบรายงานผลทนั ที
6. การรายงานผลกรณคี า่ วิกฤต
เน่ืองจากในปัจจบุ นั หอ้ งปฏิบตั ิการ ภาควิชาปรสิตวิทยาใหบ้ รกิ ารตรวจวินิจฉยั /วเิ คราะหก์ ารทดสอบ ซง่ึ ไม่มี
ผลการทดสอบใดท่ีเป็นค่าวิกฤตท่ีเป็นอนั ตรายต่อชีวิต ซ่ึงจาเป็นตอ้ งแจง้ แก่แพทย/์ บุคลากรทางการแพทยท์ ่ีดูแล
ผูป้ ่ วยทราบทางโทรศพั ทใ์ นทันที ดงั นั้นหอ้ งปฏิบตั ิการ ภาควิชาปรสิตวิทยาจึงไม่มีนโยบายในการรายงานผลทาง
โทรศพั ทใ์ นกรณีคา่ วิกฤต
7. การรายงานผลการตรวจวเิ คราะหล์ ่าชา้
เม่ือถึงกาหนดเวลาท่ีจะตอ้ งออกรายงานผลแลว้ แต่กระบวนการตรวจวินิจฉัย วิเคราะหย์ ังไม่แลว้ เสร็จ
หรือยงั ไม่สามารถรายงานผลได้ หวั หนา้ หอ้ งปฏิบัติการหรือบุคลากรทางหอ้ งปฏิบตั ิการท่ีปฏิบตั ิงานจะแจง้ ไปยงั ผู้
ขอตรวจหรอื หน่วยงานท่ีขอตรวจโดยดว่ น เพ่อื รายงานใหแ้ พทยท์ ราบวา่ สามารถรายงานผลไดเ้ ม่ือใด
การเก็บอุจจาระเพอื่ การตรวจวินิจฉัยทางปรสติ วิทยา
คาแนะนาในการเกบ็ อุจจาระเพอ่ื การตรวจวินิจฉัยทางปรสิตวทิ ยา
1. การเก็บตัวอยา่ งอุจจาระ
การเก็บอจุ จาระ แบง่ เป็น 2 วธิ ีหลกั ๆ ไดแ้ ก่
1.1 การเก็บอุจจาระครงั้ เดียว เพ่ือส่งตรวจหาเชือ้ ปรสิตว่ามีหรือไม่มีเท่านนั้ ปริมาณอุจจาระท่ีเก็บขึน้ กับวิธีการตรวจ
สาหรบั การตรวจในงานประจาควรเก็บอจุ จาระอย่างนอ้ ยประมาณ 1-5 กรมั (เทา่ กบั ขอ้ นิว้ ขอ้ แรกของนิว้ หวั แมม่ อื )
สว่ นอจุ จาระเหลวเก็บประมาณ 5-10 มล.
1.2 การเก็บอจุ จาระ 24 ช่วั โมง การเก็บอจุ จาระเรม่ิ เวลาใดก็ได้ โดยใหผ้ ปู้ ่ วยถ่ายอจุ จาระลงสว้ มก่อนและเร่มิ นบั เวลา
หลงั จากนั้นไป 24 ช่ัวโมง ในระหว่างนั้นใหเ้ ก็บอุจจาระทุกครงั้ ท่ีผูป้ ่ วยถ่ายออกมา โดยเก็บไวใ้ นภาชนะท่ีบรรจุ
ตวั อย่างอุจจาระใบเดียวกันจนครบ 24 ช่วั โมง ระวงั อย่าใหม้ ีปัสสาวะปนกับอุจจาระ เพราะจะทาใหน้ า้ หนักของ
อจุ จาระผดิ ไป
2. วิธีการเก็บอุจจาระท่ีถูกต้อง ควรเก็บอุจจาระท่ีถ่ายใหม่ๆ และถ่ายลงในกระโถนหรือบนกระดาษแลว้ จึงแบ่งลงใส่
ภาชนะสาหรบั เก็บอจุ จาระ หรอื ถ่ายใสภ่ าชนะท่ีเก็บอจุ จาระโดยตรง ไมเ่ ก็บอจุ จาระท่ีถา่ ยลงบนพนื้ ดิน เน่ืองจากอาจมีการ
ปนเปื้อนของหนอนชนิดตา่ งๆ หรือพยาธิท่ีอย่เู ป็นอสิ ระในพืน้ ดนิ ไมค่ วรใหป้ ัสสาวะปนมาในอจุ จาระ เพราะจะทาใหป้ รสิต
ระยะเคล่อื นไหวตายได้
การเก็บอุจจาระควรเลือกอุจจาระจากหลายๆ ท่ีใส่รวมมาในภาชนะเดียวกัน ถ้าอุจจาระมีความผิดปกติ เช่น
บรเิ วณท่ีมีมกู เลือดปน หรือสีดาคลา้ หรือส่วนท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยตวั หนอนหรือพยาธิปนอยู่ เป็นตน้ ควรเลือกเก็บจากส่วน
นนั้ ๆ ดว้ ย
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คมู่ ือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 17/41
3. ปริมาณของอุจจาระท่ีเก็บ เพ่ือส่งตรวจหาปรสิตดว้ ยวิธีเขม้ ขน้ ควรจะใหม้ ีปรมิ าณมากพอท่ีจะทาการตรวจได้ ถ้าเป็น
อจุ จาระเหลวควรเก็บประมาณ 20-30 มล. สว่ นอจุ จาระแข็งเก็บประมาณ 15-30 กรมั (เท่าผลมะนาว) ในกรณีท่ีส่งตรวจ
หลายวธิ ี ควรเก็บอจุ จาระปรมิ าณมากขนึ้
4. ภาชนะทบี่ รรจุตัวอย่างอุจจาระ ควรจะแหง้ สะอาด มีฝาปิดมิดชิด และมีขนาดท่ีเหมาะสม ภาชนะ 1 ใบ สาหรบั ผปู้ ่วย
1 คนเทา่ นนั้ เขียนช่ือ นามสกลุ อายุ เลขประจาตวั ผปู้ ่วย และเวลา วนั เดือนปีท่ีเก็บใหช้ ดั เจน
5. การเตรียมผู้ป่ วยในการเกบ็ อุจจาระ
5.1 กอ่ นเก็บอจุ จาระ 3 วนั แพทยค์ วรแนะนาใหผ้ ปู้ ่วยรบั ประทานอาหารท่ีย่อยง่าย ถา้ เป็นไปไดค้ วรใหง้ ดอาหารประเภท
ไขมนั ใหร้ บั ประทานอาหารออ่ น (light soft diet) หรือแนะนาใหร้ บั ประทานอาหารธรรมดา (regular diet)
แตค่ วรเคยี้ วใหล้ ะเอียดอาหารท่ีควรรบั ประทาน ไดแ้ ก่ ขา้ วบด มนั ตม้ บด ไขต่ นุ๋ ไข่ลวก นา้ ซปุ นมชง เป็นตน้ เพ่อื ให้
อจุ จาระท่ีถา่ ยออกมามีกากอาหารนอ้ ยท่ีสดุ และง่ายต่อการตรวจพบเชือ้ ปรสติ
5.2 ก่อนเก็บอจุ จาระ 3 วนั แพทยไ์ ม่ควรใหผ้ ปู้ ่วยรบั ประทานยาท่ีมีสารเหลา่ นีผ้ สมอยู่ ไดแ้ ก่ aluminium salts, barium,
bismuth, charcoal powder, kaopectin, นา้ มนั พืชท่ีเป็น insoluble oil หรือยาระบายท่ีเป็นนา้ มนั เน่ืองจากสาร
ดงั กลา่ วจะปะปนมาในอจุ จาระและมีการกระจายเป็นเม็ดเลก็ ๆ บดบงั ปรสิต ทาใหต้ รวจไม่พบปรสิต หรอื นา้ มนั พืช
แตกตวั อออกมีลกั ษณะคลา้ ย cyst ของโปรโตซวั ทาใหย้ ากตอ่ การวินิจฉยั
5.3 ในระหว่างรอเก็บอจุ จาระ ควรงดการรบั ประทานยาปฏิชีวนะท่ีออกฤทธิ์ท่ีลาไสโ้ ดยเฉพาะยากล่มุ sulfa ถา้ จาเป็น
ควรใหเ้ ป็นยาฉีดแทนช่วั คราวจนกวา่ จะเก็บอจุ จาระได้ เพราะเชือ้ ปรสิตอาจถกู ทาลายเม่ือสมั ผสั ยาท่ีมีความเข้มขน้
สงู โดยตรงได้ หรือยาบางชนิดทาใหจ้ านวนแบคทีเรียประจาถ่ินในลาไสล้ ดลง ซ่ึงแบคทีเรียเหล่านีเ้ ป็นอาหารของ
ปรสติ หรอื มผี ลทาใหก้ ารเพ่มิ จานวนของเชอื้ ปรสิตชะงกั ลง หรือไปรบกวนการออกไข่ของพยาธิ จงึ มโี อกาสตรวจพบ
ปรสิตไดน้ อ้ ยลง
5.4 ในกรณีส่งอจุ จาระตรวจหลายครงั้ โดยการถ่ายอุจจาระตามปกติ แลว้ ตรวจไม่พบเชือ้ อาจใหย้ าถ่ายประเภทเกลือ
เพ่ือกระตนุ้ ใหล้ าไสบ้ ีบตวั แรงขึน้ ปรสิตท่ียงั เหลือแทรกตามผนงั ลาไสจ้ ะถกู บีบไล่ออกมาในลาไสจ้ ึงมีโอกาสตรวจ
พบ trophozoite ของโปรโตซวั มากขนึ้ และยงั มกี ารเคล่อื นท่ีของปรสติ ทาใหง้ า่ ยตอ่ การวินิจฉยั
5.5 ในกรณีท่ีผปู้ ่ วยทอ้ งผกู ไม่ใชย้ าระบายท่ีเป็นนา้ มนั เช่น นา้ มนั ละห่งุ หรือสารผสม liquid paraffin อาจใหย้ าระบาย
อ่อนๆ หรือ sodium sulfate หรือ magnesium sulfate หรือสวนอุจจาระดว้ ยนา้ เกลือหรือนา้ อุ่น ไม่ใชน้ า้ สบู่สวน
อจุ จาระ
6. คาแนะนาเพมิ่ เตมิ
การสง่ อจุ จาระตรวจในครงั้ แรกแลว้ ไม่พบปรสิต อาจเน่ืองจากจานวนปรสิตท่ีปนออกมามีนอ้ ย หรอื เป็นช่วงเวลาท่ี
ปรสิตยงั ไม่เพ่ิมจานวนในวงจรชีวิต การตรวจอจุ จาระตอ่ เน่ืองทกุ วนั 3 ครงั้ วนั ละครงั้ หรอื สง่ ตรวจวนั เวน้ วนั 3 ครงั้ หรอื วนั
เวน้ 2 วนั จะเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจพบปรสิตมากขึน้ ในกรณีท่ีผลการตรวจยังไม่พบปรสิต แม้จะส่งตรวจ
3 ครั้งแล้ว แต่แพทยค์ าดว่าน่าจะมีการติดเชือ้ ปรสิตและต้องการตรวจซา้ มากกว่า 3 ครั้ง ให้ติดต่อกลับไปยัง
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ ร่วมพจิ ารณาว่าควรจะส่งตรวจวนิ ิจฉัยด้วยวิธใี ดทน่ี ่าจะเหมาะสมทส่ี ุด
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คู่มือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 18/41
7. การส่งอุจจาระเพอื่ การตรวจวินิจฉัยปรสติ
การตรวจอุจจาระท่ีเหมาะสมและใหผ้ ลดีท่ีสุด คือ การตรวจอุจจาระท่ีเก็บใหม่ๆ แมใ้ นทางปฏิบตั ิกระทาไดน้ อ้ ย
รายมาก จงึ ควรสง่ อจุ จาระไปหอ้ งปฏบิ ตั ใิ หเ้ รว็ ท่ีสดุ เท่าท่ีจะทาได้ อจุ จาระไมค่ วรคา้ งเกิน 1 วนั
การตรวจหาโปรโตซวั ระยะ trophozoite ควรส่งอุจจาระไปยังหอ้ งปฏิบัติการภายในเวลาไม่เกิน1 ช่ัวโมง ซ่ึงเป็น
เวลาท่ีระยะ trophozoite ยังมีการเคล่ือนไหวอยู่ จะทาใหก้ ารตรวจวินิจฉัยไดผ้ ลดีย่ิงขึน้ การตรวจหาระยะ cyst ของ
โปรโตซวั และไข่พยาธิ ควรส่งอจุ จาระตรวจภายในเวลา 3-4 ช่วั โมง หลงั การเก็บอุจจาระ ถา้ ไม่สามารถส่งอุจจาระตรวจ
ภายในเวลาดงั กลา่ วได้ หรอื การสง่ ตอ้ งใชเ้ วลานานควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
• เก็บอุจจาระไวใ้ นตูเ้ ย็นท่ีอุณหภูมิ 4-8 °C การเก็บไวใ้ นอณุ หภูมิดังกล่าว ปรสิตยงั ไม่ตาย แต่จะอยู่ไดน้ านเท่าไรนั้น
ขึน้ อยู่กับระยะของปรสิตนั้น เช่น Entamoeba histolytica ระยะ trophozoite ท่ีออกมากับอุจจาระท่ีเป็นมูกเลือด
ท่ีอุณหภูมิ 3 – 5 °C จะมีชีวิตอยู่ได้ 1 - 3 วัน ส่วนระยะ cyst จะมีชีวิตอยู่ไดป้ ระมาณ 4 สัปดาห์ และท่ีอุณหภูมิ
3 – 5 °C นี้ ไข่พยาธิต่างๆ นนั้ สามารถเก็บไดเ้ ป็นเดอื นๆ
• การเก็บดองอจุ จาระไวใ้ นนา้ ยาเคมี ซ่ึงสามารถเก็บไวไ้ ดเ้ ป็นปีๆ นา้ ยาท่ีนิยมใชค้ ือ นา้ ยาฟอรม์ าลิน 10% สามารถ
เก็บรกั ษาไข่พยาธิ ตวั อ่อนและตวั เต็มวยั ของพยาธิและโปรโตซวั ระยะ cyst โดยใชอ้ จุ จาระ 1 กรมั (ประมาณ 1 มล.)
ต่อนา้ ยาฟอรม์ าลิน 8-10 มล. คนใหเ้ ขา้ กนั ดี เก็บไวใ้ นภาชนะปิดฝาใหแ้ น่น สง่ ไปหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ตรวจต่อไป
8. เกณฑก์ ารปฏเิ สธการตรวจอจุ จาระ
นอกเหนือจากเกณฑก์ ารปฏิเสธสง่ิ สง่ ตรวจท่ีระบไุ วใ้ นหนา้ ท่ี 14 แลว้ สาหรบั ตวั อย่างอจุ จาระ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
จะปฏิเสธการตรวจในกรณีท่ีสิ่งสง่ ตรวจมีการปนเปื้อนของปัสสาวะ
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 19/41
การตรวจอจุ จาระ
Stool examination
1. Direct wet smear technique
เป็นวิธีตรวจอุจจาระอย่างง่ายๆ ใชเ้ ป็นการตรวจในงานประจา ตรวจไดท้ งั้ หนอนพยาธิและโปรโตซวั มีขอ้ ดีคือ
วธิ ีการตรวจง่าย ใชอ้ จุ จาระปรมิ าณนอ้ ย ไดผ้ ลเรว็ แตอ่ ตั ราการพบไม่สงู โดยเฉพาะในรายท่ีมปี รสิตนอ้ ย
วตั ถุประสงค์
ใชใ้ นการตรวจวินิจฉยั การตดิ เชือ้ หนอนพยาธิและโปรโตซวั ท่อี าศยั อยใู่ นทางเดนิ อาหาร
สิ่งส่งตรวจ : อจุ จาระ ปรมิ าณ 1-5 กรมั
วิธีการเกบ็ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง 30 นาที**
หมายเหตุ : อจุ จาระไมค่ วรคา้ งเกิน 1 วนั ถา้ ตอ้ งการหา trophozoite ของ อะมีบา ควรรบี
สง่ ไปยงั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภายใน 30 นาที
2. Concentration technique : Modified formalin-ethyl acetate concentration
วตั ถุประสงค์
เป็นการตรวจหาปรสิตในอุจจาระแบบเขม้ ขน้ โดยใชป้ ริมาณอุจจาระมากกว่าวิธี direct saline smear ทาใหม้ ี
อตั ราการพบปรสิตเพิ่มมากขึน้ หลกั การของวีธีนีโ้ ดยแยกสารท่ีเป็นส่วนประกอบของอุจจาระออกใหม้ ากท่ีสดุ ดว้ ย ethyl
acetate และเรง่ การตกตะกอนดว้ ยการป่ัน
สิง่ ส่งตรวจ : อจุ จาระ ปรมิ าณ 15-30 กรมั หรอื อจุ จาระ 24 ช่วั โมง
วธิ ีการเกบ็ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 2 ช่วั โมง***
3. Simple sedimentation
วัตถปุ ระสงค์
เป็นการตรวจหาปรสิตในอจุ จาระแบบเขม้ ขน้ ดว้ ยการตกตะกอน
สง่ิ ส่งตรวจ : อจุ จาระ ปรมิ าณ 15-30 กรมั หรืออจุ จาระ 24 ช่วั โมง
วธิ กี ารเก็บ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 2 ช่วั โมง
หมายเหตุ : ถา้ เป็น simple sedimentation for Capillaria philippinensis ส่งิ สง่ ตรวจอจุ จาระ
24 ช่วั โมง และรายงานผลในเวลา 1 วนั
หมายเหตุ : ** วนั เสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วันหยดุ นักขตั ฤกษแ์ ละวนั หยุดคลนิ ิกพเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
*** วนั เสาร์ – อาทติ ย,์ วนั หยุดนักขตั ฤกษแ์ ละวนั หยุดคลินิกพเิ ศษ ไม่รับส่งิ ส่งตรวจ
ปรับปรุงข้อมลู วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
คูม่ ือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 20/41
4. Occult blood in stool มี 2 วิธี
4.1 วิธี Occult blood in stool (Guaiac test)
4.2 วธิ ี Fecal Immunochromatographic Test (FIT, for occult blood)
สงิ่ ส่งตรวจ : อจุ จาระ ปรมิ าณ 1-5 กรมั
วิธีการเกบ็ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง ทงั้ 2 วธิ ี **
การเลือกใช้วธิ ีการตรวจ
สาเหตุของการส่งตรวจ เมอื่ สงสัยภาวะ Test ทค่ี วรเลอื กใช้
เลือดออกของทางเดินอาหารสว่ นตน้ (Upper GI bleeding) Occult blood in stool (Guaiac test)
เลือดออกของทางเดนิ อาหารสว่ นปลาย (Lower GI bleeding) Fecal Immunochromatographic Test
(FIT, for occult blood)
คดั กรองภาวะเนือ้ งอก หรือมะเรง็ ลาไสใ้ หญ่ Fecal Immunochromatographic Test
(Colorectal cancer screening : colorectal cancer or adenoma) (FIT, for occult blood)
ตรวจหาสาเหตขุ องภาวะซีดท่ีไม่ไดเ้ กิดจากเลอื ดออกในทางเดินอาหาร Occult blood in stool (Guaiac test)
เช่น Hookworm infection
หมายเหตุ ถา้ ผปู้ ่วยไมไ่ ดง้ ดอาหารหรอื ยาท่ีอาจมีผลตอ่ การทดสอบดว้ ยวิธี Occult blood in stool (Guaiac test) แนะนาให้
ตรวจดว้ ยวิธี Fecal Immunochromatographic Test (FIT, for occult blood)
คาแนะนาเม่อื ผลการทดสอบ FOBT ดว้ ยวธิ ี 2 วิธี ใหผ้ ลตรวจท่ีต่างกนั
Occult blood in stool Fecal Immunochromatographic Test การแปลผล
(Guaiac test) (FIT, for occult blood)
- อาจมเี ลือดออกจากทางเดนิ อาหารสว่ นบน
+ - - อาจเป็นผลบวกปลอมของวธิ ี guaiac จากอาหารหรอื ยาท่ี
รบั ประทาน
- มเี ลอื ดออกจากทางเดนิ อาหารสว่ นปลายปรมิ าณเลก็ นอ้ ย
- + ( ซง่ึ นอ้ ยกวา่ ปรมิ าณท่ีตรวจพบไดโ้ ดยวธิ ี guaiac )
- อาจเป็นผลลบปลอมของวธิ ี guaiac จากรบั ประทานวติ ามินซี
หรอื สาร antioxidant
5. Fat in stool
เป็นการตรวจหา fat globule ในอจุ จาระโดยการยอ้ มดว้ ยสี Sudan
สง่ิ ส่งตรวจ : อจุ จาระ ปรมิ าณ 1-5 กรมั
วธิ ีการเกบ็ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง **
หมายเหตุ : ** วนั เสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วันหยุดนักขตั ฤกษแ์ ละวนั หยดุ คลินิกพเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 21/41
6. Staining techniques for stool examination
6.1 Modified acid fast stain
เป็นการตรวจแบบยอ้ มสีท่ีดดั แปลงมาเพ่อื ตรวจวนิ จิ ฉยั oocyst ของ Cryptosporidium spp.และสามารถใช้
ตรวจวนิ ิจฉยั oocyst ของ Cystoisospora belli และ Cyclospora cayetanensis
สิง่ ส่งตรวจ : อจุ จาระปรมิ าณ 1-5 กรมั
วธิ กี ารเกบ็ : ใสก่ ระบอกพลาสตกิ สง่ ตรวจกอ่ นเวลา 15.00 น.
รายงานผลในเวลา : 3 ช่วั โมง หากสง่ หลงั 15.00 น. จะไดผ้ ลในวนั รุง่ ขนึ้
6.2 Trichrome stain
เป็นวธิ ีการยอ้ มสีเพ่อื ใชใ้ นการตรวจหาเชือ้ โปรโตซวั ทงั้ ระยะ trophozoite และ cyst
ส่งิ ส่งตรวจ : อจุ จาระ ปรมิ าณ 1-5 กรมั
วิธกี ารเก็บ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 1 วนั
6.3 Trichrome-methylene blue stain (Modified-trichrome stain)
เป็นวธิ ีการยอ้ มสเี พ่อื ตรวจหาเชือ้ microsporidia
สิ่งส่งตรวจ : อจุ จาระปรมิ าณ 1-5 กรมั และ สิ่งสง่ ตรวจอ่ืนๆ ปรมิ าณ 1-5 มล.
วธิ กี ารเก็บ : ใสก่ ระบอกพลาสติก สง่ ตรวจภายใน 1 วนั
รายงานผลในเวลา : 1 วนั
ปรับปรุงข้อมูล วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 22/41
การตรวจวนิ ิจฉัยโรคปรสิตดว้ ยวธิ ีอิมมูโนวทิ ยา
(Immunodiagnosis for parasitic infections)
1. Enzyme-linked immunosorbent assay for detection of Entamoeba histolytica antibodies
(ELISA for Entamoeba histolytica Ab)
วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื การวินิจฉยั โรค amoebiasis โดยการตรวจหา Entamoeba histolytica antibody จากซีรมั ของผปู้ ่วยดว้ ย
วธิ ีทางอิมมโู นวทิ ยา
สิง่ ส่งตรวจ
Clotted blood ปรมิ าตร 5 มล.
วธิ กี ารเกบ็ และส่งสง่ิ ส่งตรวจ
เจาะเลอื ดจากเสน้ โลหิตดา โดยตอ้ งระวงั การแตกของเม็ดเลือดระหว่างขนั้ ตอนการเจาะ เม่ือเก็บตวั อย่างเลือด
จากผู้ป่ วยแลว้ ต้องรีบนาส่งยังห้องปฏิบัติการ โดยปกติไม่ควรใช้เวลามากกว่า 45 นาที ในการนาส่งตัวอย่างต้อง
ระมดั ระวงั เรอ่ื งระยะเวลาท่ีใช้ อณุ หภมู ิระหว่างการนาสง่ ตลอดจนตอ้ งปอ้ งกนั การแตกชารุดของหลอดบรรจตุ วั อย่าง ควร
ตงั้ หลอดบรรจเุ ลือดในแนวตงั้ ตรงเสมอระหวา่ งนาสง่ เพ่ือเรง่ ใหก้ ระบวนการแข็งตวั ของเลอื ด (clotting process) เสรจ็ สิน้
โดยเรว็ และลดอตั ราเส่ียงของการแตกของเม็ดเลือดแดง ปา้ ยฉลากตดิ ขา้ งหลอดตอ้ งชดั เจนและมขี อ้ มลู ครบถ้วน ไดแ้ ก่ ช่ือ
นามสกุล เพศ อายุ เลขท่ีท่ัวไป (HN) ใบขอตรวจต้องชัดเจนและถูกต้องตรงกับฉลากบนหลอดตัวอย่างส่งตรวจ
หลอดบรรจตุ วั อย่างเลือด จะตอ้ งสง่ ไปพรอ้ มกบั ใบขอตรวจ ไม่ควรนาใบขอตรวจพนั รอบหลอดบรรจเุ ลอื ด เน่ืองจากจะทา
ใหเ้ กิดการปนเปื้อนและแพรเ่ ชือ้ ได้
ในกรณี ท่ี ไม่ สาม ารถส่งตรวจได้ทันที ให้แยกซีรัม จากส่วนเม็ ดเลือดแล้วเก็บ ท่ี ตู้เย็นอุณ หภูมิ
4-8 °C ไมค่ วรเกิน 24 ช่วั โมง
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์ (ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี)
ปรับปรุงข้อมลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
คู่มอื การส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 23/41
2. Enzyme linked immunosorbent assay for detection of Cysticercus antibodies
(ELISA for Cysticercus Ab)
วัตถุประสงค์
เพ่อื การวนิ ิจฉยั โรค Cysticercosis cellulosae โดยการตรวจหา Cysticercus Ab จากซรี มั ของผปู้ ่วยดว้ ยวิธี ELISA
ส่งิ ส่งตรวจ
- Clotted blood ปรมิ าตร 5 มล.
วธิ กี ารเกบ็ และส่งส่งิ ส่งตรวจ
- Clotted blood ดใู นหวั ขอ้ ELISA for Entamoeba histolytica Ab
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์ (ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี)
3. Enzyme linked immunosorbent assay for detection of Angiostrongylus cantonensis antibodies (ELISA for of
Angiostrongylus cantonensis Ab)
วตั ถุประสงค์
เพ่ือการวินิจฉัยโรค angiostrongylosis หรือโรค meningoencephalitis โดยการตรวจหา Angiostrongylus
cantonensis Ab จากซีรมั หรอื นา้ ไขสนั หลงั (Cerebrospinal fluid ; CSF) ของผปู้ ่วยดว้ ยวธิ ี ELISA
ส่งิ ส่งตรวจ
- Clotted blood ปรมิ าตร 5 มล.
- CSF ปรมิ าตร 1 - 3 มล.
วธิ ีการเกบ็ และส่งส่ิงส่งตรวจ
- Clotted blood ดใู นหวั ขอ้ ELISA for Entamoeba histolytica Ab
- CSF ดใู นหวั ขอ้ CSF examination
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์ (ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี)
ปรับปรุงข้อมลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 24/41
4. Immunoblot analysis for detection of Gnathostoma spinigerum specific antibody
(Immunoblot for Gnathostoma spinigerum Ab)
วัตถุประสงค์
เพ่อื การวนิ ิจฉยั โรค gnathostomiasis โดย ตรวจหา G. spinigerum specific antibody จากซรี มั หรอื นา้ ไข
สนั หลงั ของผปู้ ่วย ดว้ ยวธิ ี immunoblot ซง่ึ วิธีนีม้ คี วามจาเพาะสงู จงึ เหมาะสาหรบั ใชเ้ ป็นการทดสอบยนื ยนั ผล
ส่งิ ส่งตรวจ
- Clotted blood ปรมิ าตร 5 มล.
- CSF ประมาตร 1 - 3 มล.
วิธีการเก็บและส่งส่ิงส่งตรวจ
- Clotted blood ดใู นหวั ขอ้ ELISA for Entamoeba histolytica Ab
- CSF ดใู นหวั ขอ้ CSF examination
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์ (ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บดี)
5. Immunofluorescent antibody test for detection of Pneumocystis jirovecii antigen
(IFA for Pneumocystis jirovecii)
วตั ถุประสงค์
เพ่อื การวนิ ิจฉยั โรค Pneumocystis pneumonia (PCP) โดยตรวจหา P. jirovecii Ag จาก sputum, induced
sputum, bronchial washing หรือ bronchoalveolar lavage ของผปู้ ่วย เป็นตน้
สิ่งส่งตรวจ
- Bronchial washing หรือ bronchoalveolar lavage /gastric washing ปรมิ าตร 1 - 5 มล.
- เสมหะ/ Induced sputum/ pleural fluid ปรมิ าตร 1 - 5 มล.
- nasotracheal suction/ transbronchial /lung biopsy ปรมิ าตร 1 - 5 มล.
วธิ ีการเก็บและส่งส่งิ ส่งตรวจ
- ใหเ้ ก็บสิ่งสง่ ตรวจ เช่น Bronchial washing, bronchoalveolar lavage เป็นตน้ ใสใ่ นภาชนะท่ีสะอาดแหง้
และมฝี าปิดมดิ ชดิ
- เสมหะ ดใู นหวั ขอ้ Sputum for simple sedimentation technique
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์ (ทาการทดสอบทกุ วนั พธุ และวนั ศกุ ร)์
ปรับปรุงข้อมูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คมู่ ือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 25/41
6. Malaria antigen (rapid test)
วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื การตรวจวนิ ิจฉยั มาลาเรยี โดยการตรวจหาแอนติเจน
สง่ิ ส่งตรวจ
EDTA blood ปรมิ าตร 2-3 มล.
วิธกี ารเกบ็ และส่งสิง่ ส่งตรวจ
- EDTA blood ดใู นหวั ขอ้ Thin and Thick blood film for identification of malaria
- เวลาสง่ สง่ิ สง่ ตรวจ วนั จนั ทร์ – วนั ศกุ ร์ เวลา 8.00 – 20.00 น.
วนั เสาร์ – วนั อาทติ ย์ เวลา 9.00 – 15.30 น.
วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ เวลา 8.00 – 12.30 น.
- นอกเวลาใหบ้ รกิ ารของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ภาควชิ าปรสิตวิทยาใหส้ ง่ สงิ่ ตรวจท่ี หอ้ งปฏิบตั กิ ารภาควชิ าพยาธิ
วิทยาคลนิ ิก อาคารนวมนิ ทรบพติ ร ชนั้ 1 หอ้ งเจาะเลือด
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง
7. ELISA for Filaria IgG4 Ab
วตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื การวนิ ิจฉยั โรค Filaria โดยการตรวจหา Filaria IgG4 Ab จากซรี มั หรอื พลาสมาของผปู้ ่วยดว้ ยวธิ ี ELISA
สง่ิ ส่งตรวจ
- Clotted blood ปรมิ าตร 5 มล.
- EDTA blood ปรมิ าตร 2 – 3 มล.
วิธีการเกบ็ และส่งสิ่งส่งตรวจ
- Clotted blood ดใู นหวั ขอ้ ELISA for Entamoeba histolytica Ab
- EDTA blood ดใู นหวั ขอ้ Thin and thick blood film for identification of malaria
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์ (ทาการทดสอบทกุ วนั พฤหสั บด)ี
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คูม่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 26/41
การตรวจ Fecal Calprotectin
วตั ถุประสงค์
เป็นการตรวจหาคา่ Calprotectin ในอจุ จาระ ซง่ึ เป็น protein ท่ีหล่งั ออกมาจาก granulocytes จะพบปรมิ าณมาก ใน
กรณีท่ีมี inflammation ใชเ้ ป็น marker ของ intestinal inflammation ในผปู้ ่วย Inflammation Bowel Diseases (IBD) ทาให้
สามารถแยกโรคลาไสอ้ กั เสบเรอื้ รงั (IBD) ไดแ้ ก่ Crohn's disease, ulcerative colitis ออกจากโรค ลาไสอ้ กั เสบชนิดแปรปรวน
Irritable Bowel Syndrome (IBS) หรือ Functional Bowel Disorders (BD) ได้
สงิ่ ส่งตรวจ
อจุ จาระปรมิ าณ 5-10 กรมั (1/4 ของกระปกุ เก็บอจุ จาระ)
วธิ กี ารเก็บและส่งส่งิ ส่งตรวจ
อจุ จาระท่ีเก็บมาแลว้ ควรนาสง่ หอ้ งปฏบิ ตั ิการใหเ้ รว็ สดุ เทา่ ท่ีจะทาได้ อจุ จาระไมค่ วรคา้ งเกิน 3 วนั ณ อณุ หภมู หิ อ้ ง
เก็บอจุ จาระในตเู้ ยน็ อณุ หภมู ิ 4 °C ไดไ้ มเ่ กิน 7 วนั
การรายงานผล
Negative ( Reference range ≤ 50 mg/kg feces )
Positive ( Panic range > 50 mg/kg feces )
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
ปรับปรุงข้อมลู วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 27/41
การตรวจฟิ ลม์ เลอื ด
(Blood film examination)
1. Thin and thick blood film for identification of malaria
วตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื การตรวจวนิ ิจฉยั มาลาเรยี โดยการยอ้ มสีฟิลม์ เลอื ด
ส่ิงส่งตรวจ
EDTA blood ปรมิ าตร 2-3 มล.
วธิ กี ารเก็บและส่งส่งิ ส่งตรวจ
เลือดท่ีเจาะจากเสน้ เลือดดา ตอ้ งใสใ่ นขวดท่ีมีสารกนั เลอื ดแข็งชนิด EDTA แลว้ เขยา่ ขวดใสเ่ ลือดเบาๆ นาน
ประมาณ 10 วินาที เพ่อื ใหเ้ ลอื ดกบั สารกนั เลือดแขง็ ผสมกนั ปอ้ งกนั การแขง็ ตวั ของเลือด จากนนั้ นาสง่ หอ้ งปฏิบตั กิ าร
ทนั ทีในกรณีท่ีไม่สามารถสง่ ไปยงั หอ้ งปฏิบตั ิการไดท้ นั ที ควรเก็บขวดเลอื ดไวใ้ นตเู้ ย็นท่ีอณุ หภมู ิ 4-8 °C แตไ่ มค่ วรเกิน 24
ช่วั โมง
รายงานผลในเวลา : 3 ช่วั โมง
2. Thick blood film for identification of filaria
วัตถปุ ระสงค์
เพ่อื การวินิจฉยั การติดเชือ้ ฟิลาเรยี โดยการยอ้ มสีฟิลม์ เลอื ดเพ่อื ตรวจหาเชอื้ ไมโครฟิลาเรยี
ส่งิ ส่งตรวจ
EDTA blood ปรมิ าตร 2-3 มล.
วิธกี ารเกบ็ และส่งสิ่งส่งตรวจ
ดใู นหวั ขอ้ Thin and thick blood film for identification of malaria
รายงานผลในเวลา : 1 วนั
ปรับปรุงข้อมลู วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 28/41
การเพาะเชือ้ จากนา้ ไขสันหลัง
(Cerebrospinal fluid culture)
วัตถุประสงค์
สง่ ตรวจเม่ือสงสยั วา่ ผปู้ ่วยตดิ เชือ้ จาก Naegleria fowleri, Acanthamoeba spp.
สง่ิ ส่งตรวจ
CSF ปรมิ าตร 1-3 มล.
วธิ กี ารเกบ็ และส่งสิ่งส่งตรวจ
เจาะนา้ ไขสนั หลงั แลว้ ใสใ่ นภาชนะท่ีสะอาด มีฝาปิดมิดชิด นาสง่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนั ทีเพ่อื ทาการเพาะเชือ้ ในกรณีท่ีไม่
สามารถสง่ ไปยงั หอ้ งปฏิบตั ิการไดท้ นั ทีควรเก็บไวท้ ่ีอณุ หภมู ิหอ้ ง แตไ่ มค่ วรเกิน 24 ช่วั โมง และไมค่ วรเก็บในตเู้ ย็น
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
การเพาะเชอื้ จาก Corneal swab
(Corneal swab culture)
วตั ถปุ ระสงค์
สง่ ตรวจเม่ือสงสยั วา่ ผปู้ ่วยตดิ เชือ้ จาก Acanthamoeba spp.
สง่ิ ส่งตรวจ
Corneal swab ท่ีเก็บไดท้ งั้ หมด
วธิ ีการเก็บและส่งส่งิ ส่งตรวจ
นาสิง่ สง่ ตรวจท่ีไดจ้ ากการทา corneal ulcer scraping หรอื corneal biopsy ใสใ่ นหลอดแกว้ ท่ีสะอาด ปราศจากเชอื้
ซง่ึ มี sterile normal saline บรรจอุ ยู่ โดยใหป้ รมิ าณนา้ เกลอื ทว่ มส่ิงสง่ ตรวจรบี สง่ ไปยงั หอ้ งปฏบิ ตั ิการทนั ที เพ่อื ทาการเพาะเชือ้
ใน NNE medium
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
ค่มู อื การส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 29/41
การตรวจเสมหะ
(Sputum examination)
Sputum for simple direct wet smear technique
วัตถปุ ระสงค์
ส่งตรวจในกรณีสงสยั ว่าผูป้ ่ วยมีการติดเชือ้ พยาธิใบไมป้ อด (Paragonimus spp.) แต่ขอ้ ควรระวงั คือ ในบาง
กรณีไข่พยาธิอาจถกู กลืนลงสรู่ ะบบทางเดินอาหารและตรวจพบไดใ้ นอจุ จาระ ดงั นนั้ การตรวจวินิจฉยั โรคพยาธิใบไมป้ อด
ควรตรวจทั้งเสมหะและอุจจาระ นอกจากนี้การตรวจเสมหะยังใช้ในกรณี ท่ีสงสัยว่ามีการติดเชื้อ ตัวอ่อนของ
Strongyloides stercoralis, Ascaris lumbricoides หรอื hookworm ในปอด และ Entamoeba histolytica
สงิ่ ส่งตรวจ
เสมหะ ประมาณ 1-5 มล.
วิธีเก็บและส่งส่งิ ส่งตรวจ
เสมหะท่ีจะนามาตรวจ ควรเก็บหลงั ผูป้ ่ วยต่ืนนอนตอนเชา้ โดยเป็นเสมหะท่ีขับออกจากหลอดลมและใหม้ ี
นา้ ลายปนอยู่นอ้ ยท่ีสุด ภาชนะท่ีใส่ควรเป็นขวดปากกวา้ ง ท่ีสะอาดและมีฝาปิดมิดชิด เสมหะท่ีเก็บมาแลว้ ควรนาส่ง
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนั ที ถา้ ไม่สามารถสง่ ตรวจไดท้ นั ที ควรเก็บไวใ้ นตเู้ ย็นท่ีอณุ ภมู ิ 4 – 8 ๐C แตไ่ มค่ วรเกิน 24 ช่วั โมง
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง
Specimen for Gomori methenamine silver stain (GMS stain)
วตั ถุประสงค์
สง่ ตรวจในกรณีสงสยั วา่ ผปู้ ่วยมีการตดิ เชือ้ Pneumocystis jirovecii (P.carinii) ดว้ ยสี GMS
สงิ่ ส่งตรวจ
เสมหะ หรอื Induced sputum, bronchial/ gastric washing, nasotracheal suction/ transbronchial /lung biopsy/
pleural fluid ประมาณ 1-5 มล.
วธิ ีการเก็บและส่งส่ิงส่งตรวจ
การเก็บเสมหะดใู นหวั ขอ้ Sputum for direct wet smear technique
รายงานผลในเวลา : 1 วนั
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คมู่ ือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 30/41
Specimen for Giemsa stain
วัตถุประสงค์
สง่ ตรวจในกรณีสงสยั วา่ ผปู้ ่วยมีการตดิ เชือ้ Pneumocystis jirovecii (P.carinii) ดว้ ยสี Giemsa
สงิ่ ส่งตรวจ
เสมหะหรือ Induced sputum, bronchial/ gastric washing, nasotracheal suction/ transbronchial /lung
biopsy/ pleural fluid ประมาณ 1-5 มล.
วธิ กี ารเกบ็ และส่งสิ่งส่งตรวจ
ดใู นหวั ขอ้ Sputum for direct wet smear technique
รายงานผลในเวลา : 1 วนั
การตรวจหนองจากตบั
(Liver abscess examination)
วตั ถปุ ระสงค์
สง่ ตรวจเพ่อื วินจิ ฉยั โรคตบั amoebic liver abscess ท่ีเกิดจาก Entamoeba histolytica
สง่ิ ส่งตรวจ
จานวนตวั อยา่ งท่ีเก็บไดท้ งั้ หมด
วธิ ีการเกบ็ และส่งส่งิ ส่งตรวจ
เจาะหนองจากตับใส่ภาชนะท่ีสะอาด หนองซ่ึงเจาะจากตับ ถ้านามาตรวจทันทีจะสามารถตรวจหาระยะ
เคล่อื นไหว (trophozoite) ของปรสิตไดง้ ่ายขนึ้ จงึ ควรรบี สง่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารทนั ที
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง 30 นาที
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 31/41
การตรวจปัสสาวะ
(Urine examination)
วตั ถปุ ระสงค์
สง่ ตรวจเพ่อื วนิ จิ ฉยั โรค trichomoniasis หรือโรค filariasis ชนิด Wuchereria bancrofti หรือโรค schistosomiasis
ชนิด Schistosoma haematobium
สง่ิ ส่งตรวจ
ปัสสาวะปรมิ าตรอยา่ งนอ้ ย 10 มล.
วธิ ีการเกบ็ และส่งส่งิ ส่งตรวจ
กรณีท่ีตอ้ งการตรวจหา T. vaginalis ควรเป็นปัสสาวะท่ีเก็บใหม่ๆ และนาส่งหอ้ งปฏิบตั ิการทนั ที มิฉะนนั้ ปรสิตจะ
ตาย ซ่ึงทาให้แยกรูปร่างลักษณะของปรสิตจากเม็ดเลือดขาวไดย้ าก สาหรบั การตรวจเพ่ือวินิจฉัยโรค filariasis และโรค
schistosomiasis จะมีโอกาสตรวจพบพยาธิไดม้ ากท่ีสดุ ในปัสสาวะท่ีเก็บหลงั ต่นื นอนตอนเชา้ จงึ ควรเก็บปัสสาวะหลงั ต่ืนนอน
ตอนเชา้
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง 30 นาที
การตรวจตกขาว และ Urethral discharge
(Vaginal and urethral discharge examination)
วตั ถปุ ระสงค์
สง่ ตรวจเพ่อื วินิจฉยั โรค trichomoniasis
สิ่งส่งตรวจ
ตวั อยา่ งปรมิ าตร 1-5 มล.
วธิ ีการเก็บและส่งสิง่ ส่งตรวจ
ส่งิ สง่ ตรวจซง่ึ ปา้ ยหรอื ขดู ออกจากอวยั วะสืบพนั ธุ์ ควรใสใ่ นหลอดแกว้ ท่ีปราศจากเชอื้ (sterile tube) ซง่ึ มนี า้ เกลืออยู่
เลก็ นอ้ ย เพ่อื ไม่ใหต้ วั อยา่ งแหง้ จงึ ควรรบี สง่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนั ที
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง 30 นาที
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คมู่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 32/41
การตรวจไขกระดูก และ aspirate จากม้าม
(Spleen and bone marrow aspirate examination)
วัตถปุ ระสงค์
สง่ ตรวจเม่ือสงสยั วา่ ผปู้ ่วยเป็นโรค Visceral leishmaniasis
สิ่งส่งตรวจ
จานวนสิ่งสง่ ตรวจท่ีเก็บไดท้ งั้ หมด
วิธกี ารเกบ็ และส่งสง่ิ ส่งตรวจ
การเก็บ aspirate โดยการเจาะ bone marrow เพ่อื การวนิ ิจฉยั โรคพยาธิ Leishmania spp. นนั้ สว่ นของ bone
marrow มกั จะเป็น flat bone เช่น sternum และ iliac crest ในผใู้ หญ่ สว่ นในเดก็ ควรเจาะสว่ น tibia ควรหลกี เล่ยี งการเจาะ
sternum เพราะ อาจเกิดอนั ตรายกบั mediastinal organ และ เกิด cardiac perforation ตาแหน่งท่ีดที ่ีสดุ คอื posterior
superior iliac crest สาหรบั การตรวจ spleen aspirate นนั้ แมว้ า่ จะใหผ้ ลบวกสงู แตก่ ารทา spleenic aspiration เป็นวิธีท่ีมี
ความเส่ยี งสงู และไมส่ ามารถทาไดใ้ นผปู้ ่วยท่ีมเี กรด็ เลอื ดต่ากวา่ 40,000 / dl หรือมีคา่ prothrombin time นานกวา่ คา่ ปกติ
Aspirate ท่ีไดจ้ าก spleen หรือ bone marrow ใหน้ าสว่ นหน่ึงมาใสใ่ น culture media คือ NNN media ซง่ึ ไดต้ งั้ ทงิ้ ไว้
ท่ีอณุ หภมู หิ อ้ ง และอีกสว่ นหนง่ึ นามาปา้ ยบนสไลด์ จากนนั้ นาสไลดแ์ ละขวด NNN culture ท่ีใสเ่ ชือ้ ไวส้ ง่ ไปยงั หอ้ งปฏิบตั ิการ
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
การตรวจชนิ้ เนือ้
(Skin biopsy examination)
วัตถปุ ระสงค์
สง่ ตรวจเม่ือสงสยั วา่ ผปู้ ่วยเป็นโรค Cutaneous leishmaniasis โดยเฉพาะผปู้ ่วยท่มี าจากประเทศซง่ึ เป็นแหลง่ ท่ีพบ
เชือ้ Leishmania spp. เชน่ ประเทศแถบตะวนั ออกกลาง
สิ่งส่งตรวจ
จานวนสิง่ สง่ ตรวจท่ีเก็บไดท้ งั้ หมด
วธิ ีการเก็บและส่งสิง่ ส่งตรวจ
ในการทา skin biopsy ใหเ้ ช็ดผิวหนงั บริเวณนนั้ ดว้ ย alcohol 70% แลว้ ทิง้ ใหแ้ หง้ ไม่ควรใชน้ า้ ยาฆ่าเชือ้ ท่ีมีฤทธิ์แรง
โดยเฉพาะนา้ ยาท่ีมีสว่ นผสมของไอโอดีนหรือปรอท เชน่ povidine เพราะอาจมผี ลต่อการเติบโตของพยาธิเม่ือนามาเพาะเลีย้ ง
ในขนั้ ตอนการตดั ใหด้ ึงส่วนของขอบแผลดว้ ย forceps แลว้ ใช้ scalped blade ท่ี sterile ตดั สว่ นผิว (superficial slit) ใหบ้ ีบ
ผวิ หนงั ไวใ้ หแ้ น่นเพ่ือไม่ใหเ้ ลือดออก แลว้ ขดู สว่ นผิวบนหรอื ดดู exudate ดว้ ย syringe นาสว่ นท่ีขดู หรอื ดดู จากแผล มาปา้ ยบน
สไลดห์ รอื ใสใ่ นขวดท่ีสะอาด ปราศจากเชอื้ เพ่อื สง่ ไปเพาะเลยี้ งท่ีหอ้ งปฏิบตั กิ าร
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
ค่มู ือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 33/41
Scotch tape technique
วัตถุประสงค์ ใชต้ รวจหาไขพ่ ยาธิ Enterobius vermicularis โดยเฉพาะ
เครื่องมือทใี่ ช้
1. เทปกาวใสดา้ นเดียว (Sticky tape) ขนาด 1 x 3 นิว้ ปิดบนกระจกสไลด์ (รูป 1)
2. ไมก้ ดลนิ้
วิธกี ารเก็บ
1. ประกบกระจกสไลดใ์ หอ้ ยดู่ า้ นบนไมก้ ดลนิ้ โดยใหป้ ลายไมก้ ดลนิ้ ย่ืนหา่ งจากขอบกระจกประมาณ 1 นิว้
2. ดงึ เทปกาวใสดา้ นท่ีไมเ่ หนียวพนั ปลายไมก้ ดลนิ้ จะมีดา้ นเหนียวอย่ดู า้ นนอก (ดงั รูป 2-4)
3. นาดา้ นเหนียวไปแตะบรเิ วณรอบๆ ทวารหนกั ผปู้ ่วย (รูป 5) แลว้ ดงึ เทปกาวใสกลบั มา (รูป 6) มาติดบนกระจกสไลดแ์ กว้
เขียนช่ือ-นามสกลุ และ HN ผปู้ ่วย
4. สง่ ตรวจพรอ้ ม slide ภายใน 24 ช่วั โมง
รายงานผลในเวลา : 1 ช่วั โมง **
หมายเหตุ ควรเก็บตวั อย่างตรวจในตอนเชา้ ทนั ทีหลงั ต่ืนนอนหรอื ก่อนผปู้ ่วยอาบนา้ หรือถา่ ยอจุ จาระ
รูป 1 รูป 2 รูป 3
รูป 4 รูป 5 รูป 6
Source : Cheesbrough M. Medical Laboratory Manual for Tropical Countries, Volume 1, 2nd ed. 1987.
หมายเหตุ : ** วนั เสาร์ – อาทติ ย์ รายงานผลภายในเวลา 16.00 น.
วนั หยุดนักขตั ฤกษแ์ ละวนั หยุดคลนิ ิกพเิ ศษ รายงานผลภายในเวลา 13.00 น.
ปรับปรุงข้อมูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
คู่มือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 34/41
การตรวจวนิ ิจฉัยชนิดของแมลงและสัตวข์ าข้อชนิดอน่ื ๆ
(Arthropod identification)
วัตถุประสงค์ เพ่ือตรวจวินิจฉัยชนิดของแมลง หรือสัตวข์ าขอ้ ชนิดอ่ืนๆ ท่ีอาจเป็นสาเหตุของการเกิดโรค หรือ อาการ
บาดเจบ็ ของผปู้ ่วย หรอื ปนเปื้อนในอาหาร โดยอาศยั รูปรา่ งลกั ษณะภายนอก
สิ่งส่งตรวจ ตวั อย่างแมลง หรือสตั วข์ าขอ้ ชนิดอ่ืนๆ และ / หรือ วสั ดทุ ่ีมีแมลงหรือสตั วข์ าขอ้ นนั้ ปะปนอยู่
วธิ กี ารเกบ็ และส่งสงิ่ ส่งตรวจ
หากเป็นแมลงหรือสตั วข์ าขอ้ ชนิดอ่นื ๆ ท่ียงั มชี ีวิตอยู่ ใหใ้ สใ่ นภาชนะท่ีมฝี าปิดมิดชดิ เชน่ ขวด หรือกลอ่ งพลาสตกิ เพ่ือ
ป้องกันการหลุดรอดออกมาได้ แลว้ นาส่งหอ้ งปฏิบตั ิการภายในวนั ทาการ หากไม่สามารถนาส่งไดใ้ นวนั ทาการนัน้ ใหใ้ ส่
ภาชนะไวใ้ นตเู้ ยน็ ท่ีอณุ หภมู ิ 4-8°C แลว้ จงึ นาสง่ หอ้ งปฏิบตั ิการในวนั ถดั มา
หากเป็นแมลงหรอื สตั วข์ าขอ้ ท่ีตายแลว้ ใหด้ องตวั อยา่ งไวใ้ นแอลกอฮอล์ 70% ในภาชนะท่ีมีฝาปิด หรือถงุ พลาสติกท่ีมี
ยางรดั ปากถงุ แลว้ จงึ นาสง่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
ใหร้ ะบสุ ถานท่ีท่ีเก็บ และวนั เวลาท่ีเก็บตวั อย่างแมลง หรือสตั วข์ าขอ้ นนั้ ในใบคาขอตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารดว้ ย เพ่ือ
เป็นขอ้ มลู สนบั สนนุ ในการตรวจวินิจฉยั
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
ปรับปรุงข้อมูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
คูม่ อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 35/41
การตรวจวินิจฉัยชนิดของปรสิต
(Parasite identification)
วตั ถุประสงค์ เพ่อื ตรวจวินิจฉยั ชนิดของปรสติ จากตวั อย่างพยาธิหรือชิน้ สว่ นของพยาธิ ไดแ้ ก่ ปลอ้ ง สว่ นหวั หรือ วสั ดทุ ่ี
มีพยาธินั้นปะปนอยู่ เป็นต้น ท่ีอาจเป็นสาเหตุของการเกิดโรค หรือ อาการบาดเจ็บของผู้ป่ วย หรือ
ปนเปื้อนในอาหารโดยอาศยั รูปรา่ งลกั ษณะภายนอก
ส่ิงส่งตรวจ ตวั อยา่ งพยาธิ (gross specimen) หรอื ชิน้ สว่ นของพยาธิ และ / หรือ วสั ดทุ ่ีมีพยาธินนั้
วธิ ีการเก็บและส่งสิง่ ส่งตรวจ
หากเป็นตวั อยา่ งพยาธิท่ียงั มีชีวิตอยู่ ใหใ้ สใ่ นภาชนะท่ีมีฝาปิดมิดชิด เชน่ ขวด หรอื กลอ่ งพลาสติกซง่ึ มี normal saline
บรรจอุ ยู่ โดยใหป้ ริมาณนา้ เกลือท่วมตวั อย่างพยาธินนั้ รีบส่งไปยงั หอ้ ง ปฏิบตั ิการทนั ทีในวนั ทาการ หากไม่สามารถนาส่งได้
ในวนั ทาการนนั้ ใหใ้ สภ่ าชนะไวใ้ นตเู้ ย็นท่ีอณุ หภมู ิ 4-8°C แลว้ จงึ นาสง่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารในวนั ถดั มา
หากเป็นพยาธิท่ีตายแลว้ หรือชิน้ ส่วนของพยาธิ ใหด้ องตัวอย่างไวใ้ นนา้ ยาแอลกอฮอล์ 70% ในภาชนะท่ีมีฝาปิด
หรือถงุ พลาสตกิ ท่ีมียางรดั ปากถงุ แลว้ จงึ นาสง่ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ
ใหร้ ะบตุ าแหน่ง หรอื อวยั วะท่ีเก็บ หรือสถานท่ีท่ีเก็บตวั อย่างพยาธิได้ และวนั เวลาท่ีเก็บตัวอย่างนนั้ ในใบคาขอตรวจ
ทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการดว้ ย เพ่อื เป็นขอ้ มลู สนบั สนนุ ในการตรวจวินิจฉยั
รายงานผลในเวลา : 1 สปั ดาห์
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ที่ 11 มีนาคม 2565
ค่มู ือการส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 36/41
เอกสารอ้างองิ
1. พนอจิตร จรยิ า. การเก็บตวั อย่างอจุ จาระ. ใน : ธงชยั ปภสั ราทร, มนญู ไพบลู ย,์ วิฑรู ย์ ไวยนนั ท,์ บรรณาธิการ. คมู่ ือการ
ตรวจอจุ จาระเพ่อื หาปาราสิตและแบคทีเรยี . กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พก์ ราฟฟิค อารต์ , 2524 : 5-15.
2. วิฑูรย์ ไวยนนั ท.์ มาตรฐานการเก็บตวั อย่างเลือดเพ่ือสง่ ตรวจทางปรสิตวิทยา. ใน : กลุ นารี สิรสิ าลี, สดุ ารตั น์ มโนเช่ียว
พินิจ, จารสั พรอ้ มมาศ, บรรณาธิการ. การประกนั คณุ ภาพ : มาตรฐานการเก็บตวั อย่างเลือด. กรุงเทพมหานคร : เอช.
ที. พี. เพรส จากดั , 2541 : 109-14.
3. สดุ ารตั น์ มโนเช่ียวพินิจ, กลุ นารี สริ สิ าลี, ปานทพิ ย์ วฒั นวบิ ลู ย,์ จารสั พรอ้ มมาศ, การประกนั คณุ ภาพ: การบรหิ ารความ
ปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารชนั สตู รโรค. กรุงเทพมหานคร: เอช ที พี เพรส จากดั , 2544.
4. Cheesbrough M. Medical laboratory manual for tropical countries, Volume 1, 2nd ed. Cambridge : Butterworth
& Co Ltd, 1987.
5. Garcia LS. Diagnostic medical parasitology . 4th ed. Washington D.C. : ASM Press, 2001.
6. Kumari S. Guidelines on standard operating procedures for laboratory diagnosis of HIV-opportunistic
infection. WHO, SEARO, 2001. (available from http://w3. whosea.org)
7. World Health Organization. Basic laboratory methods in medical parasitology. WHO : Geneva, 1991.
8. World Health Organization. Bench aids for the diagnosis of intestinal parasites. WHO: Geneva, 1994.
ปรับปรุงข้อมูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 37/41
ภาคผนวกท่ี 1
อตั ราค่าบริการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา
รหสั ชอ่ื รายการทดสอบ อัตราคา่ บริการ
(บาท)
251001 Direct wet smear 100
251002 Occult blood in stool (Guaiac test) 100
251003 Formalin-ethyl acetate concentration 250
251004 Fat in stool 100
251005 Simple sedimentation 200
251006 Scotch tape technique 100
251007 Fecal Immunochromatographic Test (FIT, for occult blood) 150
252001 Giemsa for malaria 200
252002 Giemsa for Filaria 200
252003 Malaria Ag (rapid test) 375
253001 Trichrome for protozoa 200
253002 Modified acid fast for Cryptosporidium 200
253003 Gomori’ s methanamine silver stain for Pneumocystis 200
253004 Giemsa stain for Pneumocystis 200
253005 Trichrome methyl-blue stain for microsporidia 200
254001 NNE culture for Naegleria / Acanthamoeba 400
254002 NNN culture for Leishmania 600
255001 E.histolytica Ab 850
255002 Cysticercus Ab 1,500
255005 Gnathostoma Ab 1,000
255006 Angiostrongylus Ab 850
255007 IFA for Pneumocystis 1,000
255008 IgG4 Ab for filaria 525
255009 Fecal calprotectin 1,500
256001 Parasite identification 300
256002 Arthropod identification 300
ปรับปรุงข้อมลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 38/41
ตัวอยา่ งใบขอตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วิทยา
ดา้ นหน้า
ปรับปรุงขอ้ มูล วนั ที่ 11 มนี าคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 39/41
ดา้ นหลัง
ปรับปรุงข้อมลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
ค่มู ือการสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 40/41
ตัวอย่าง
ใบรายงานผลทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร
ภาควชิ าปรสติ วทิ ยา
ปรับปรุงขอ้ มลู วนั ท่ี 11 มีนาคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาควิชาปรสติ วิทยา คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15) หน้า 41/41
ตวั อย่าง
สาเนาใบรายงานผลทสี่ ่ังพมิ พจ์ ากระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลศริ ริ าช
ปรับปรุงข้อมูล วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565
ค่มู อื การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร ภาควิชาปรสติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล (M-PR-00-4-001-15)
หน้า 9/41