The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานจัดประชุมสมนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จ๊ะเอ๋, 2021-08-09 21:17:39

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานจัดประชุมสมนา

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานจัดประชุมสมนา

การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในงานจัดประชุมสมั มนา



การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในงานจัดประชมุ สัมมนา

เสนอ
ครูปรยี า ปนธิยะ

นางสาวสุวกิ า อินทรสงวน
เลขที่ 20 สบจ. 63.1

สาขาวชิ าการจดั การสำนกั งาน

รายงานนเ้ี ปนสว นหน่ึงรายนวชิ า 30216-2101
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจดั การสาํ นกั งาน
สาขาวิชาการจัดการสำนกั งาน แผนกวิชาการจดั การสำนักงาน

คณะบริหารธุรกิจ
วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาลำปาง
ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปการศกึ ษา 2563



คำนำ

รายงานน้ี เปน สวนหน่งึ ของรายวชิ า 30216-2101 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การสํานกั งาน
ซง่ึ ไดรับการมอบหมายจากครูปรยี า ปน ธิยะ ใหศ กึ ษาเกี่ยวกับเรื่องการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในงานจดั ประชมุ
สมั มนา, โดยมเี น้ือหาสาระของรายงานเลมน้ีประกอบดว ย ความหมายของการจัดประชุมสมั มนา ความสำคญั
ของการสัมมนา จุดประสงคของการสมั มนา ประโยชนของการสมั มนา วัตถปุ ระสงคของการสัมมนา องคป ระกอบ
ของการสมั มนา รปู แบบของการจดั สมั มนา การนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยกุ ตในการจดั ประชมุ สมั มนา
อีกทั้งยงั เปน การฝกพิมพการจัดหนา และการเขาเลม รายงาน

ผูจัดทำไดทำการ คน ควา รวบรวม และเรียบเรียง เปน รายงานฉบับสมบรู ณ เพ่ือใหผ ูทีส่ นใจศกึ ษา
ความรู การพูดในโอกาสตาง ๆ เพ่ิมเติมจากรายงานเลมน้ี

ผูจัดทำหวงั เปนอยา งยิง่ วา ผูอ าน ผูทส่ี นใจ จะไดร ับประโยชน ละนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวนั ได

สวุ กิ า อนิ ทรสงวน
สาขาการจัดการสำนกั งาน

สารบญั ข

เรอ่ื ง หนา
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบญั รูป ค
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในงานจดั ประชมุ สมั มนา
1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1
ประชมุ สมั มนา 2
ความหมายของการจดั ประชุมสัมมนา 3
ความสำคัญของการสัมมนา 4
จุดประสงคของการสัมมนา 4
ประโยชนข องการสมั มนา 6
6
1. ประโยชนตอ ตนเอง 7
2. ประโยชนต อองคกร 9
วัตถปุ ระสงคของการสัมมนา 14
องคป ระกอบของการสมั มนา 15
รูปแบบของการจัดสมั มนา
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยกุ ตในการจดั ประชมุ สัมมนา

สารบัญรูป ค

ภาพที่ หนา
รูปที่ 1 การประชมุ สัมมนา 1
รปู ที่ 2 การแกปญ หา โดยอาศัยกระบวนการกลมุ 3
รูปที่ 3 แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 4
รปู ที่ 4 มคี วามเช่ือมัน่ ในตนเอง 6
รูปท่ี 5 เพิ่มผลผลิตในการบริหารจัดการ 7
รูปที่ 6 กระตนุ ใหผเู ขา รว มสัมมนา 8
รปู ท่ี 7 ช่อื โครงการทีน่ ำมาจัดสมั มนา 9
รูปท่ี 8 บุคลากรฝายจดั สมั มนา 10
รปู ที่ 9 วทิ ยากร 11
รูปที่ 10 ผเู ขารวมสัมมนา 11
รูปที่ 11 การอภปิ รายเปน คณะ 14
รปู ท่ี 12 การอภปิ รายแบบซมิ โพเซ่ยี ม 14
รูปท่ี 13 การอภิปรายแบบตอบกลบั 14

1

การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในงานจัดประชมุ สัมมนา

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื ไอที (อังกฤษ: information technology: IT) คือการประยุกตใช
คอมพิวเตอร และอุปกรณโ ทรคมนาคม เพ่ือจัดเก็บ คนหา สงผา น และจัดดำเนนิ การขอมูล ซึง่ มกั เกีย่ วของ
กับธรุ กจิ หน่งึ หรอื องคการอื่น ๆ ศัพทน้โี ดยปกตกิ ็ใชแทนความหมายของเครือ่ งคอมพิวเตอร และเครือขาย
คอมพวิ เตอร และยังรวมไปถึงเทคโนโลยกี ารกระจายสารสนเทศอยางอื่นดว ย เชน โทรทัศน และโทรศพั ท
อุตสาหกรรมหลายอยา งเก่ียวขอ งกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอยางเชน ฮารดแวร ซอฟตแวร อิเลก็ ทรอนิกส
อุปกรณก่งึ ตัวนำ อนิ เทอรเน็ต อุปกรณโทรคมนาคม การพาณิชยอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส และบรกิ ารทางคอมพิวเตอร

การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถงึ กระบวนการตา ง ๆ และระบบงานทช่ี วยใหไดส ารสนเทศ
หรือขา วสารท่ตี องการ โดยจะรวมถึง

1. เคร่อื งมือและอุปกรณต างๆ หมายถงึ เคร่ืองคอมพิวเตอร เคร่ืองใชสำนักงาน อุปกรณคมนาคม
ตาง ๆ รวมทง้ั ซอฟตแวรทง้ั ระบบสำเรจ็ รปู และพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะดาน

2. กระบวนการในการนำอุปกรณเคร่อื งมือตา งๆ ขางตนมาใชง าน รวบรวมขอมลู จัดเกบ็ ประมวลผล
และแสดงผลลพั ธเ ปนสารสนเทศในรูปแบบตา ง ๆ ทีส่ ามารถนำไปใชป ระโยชนไ ดต อไปในปจ จุบันการใชง าน
เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน ส่งิ จำเปน สำหรับทกุ องคกร การเช่ือมโยงสารสนเทศผา นทางคอมพวิ เตอร ทำใหส่งิ ท่ี
มคี ามากทสี่ ุดของระบบ คือ ขอมลู และสารสนเทศ อาจถูกจารกรรม ถกู ปรับเปลีย่ น ถกู เขาถึงโดยเจา ของไมร ูตัว
ถูกปด กนั้ ขดั ขวางใหไ มสามารถเขา ถึงขอมลู ได หรือถูกทำลายเสยี หายไป ซง่ึ สามารถเกดิ ขนึ้ ไดไมย ากบนโลก
ของเครือขา ย โดยเฉพาะเม่ือยบู นอินเทอรเนต็ ดงั นั้นการมีคุณธรรม และจริยธรรมในการใชเ ทคโนโลยจี งึ เปน
เรอ่ื งที่สำคัญไมแพกนั

ประชมุ สัมมนา

การประชมุ สัมมนา การสมั มนา หรือการประชมุ แบบสมั มนานเี้ ปนแบบของการประชมุ ท่ีใชกัน
คอ นขางแพรหลายมาก ในบริษทั ในองคการ หรือ หนว ยงานตา ง ๆ และจะปรากฏมมี ากเปน พิเศษ โดยเฉพาะ
ในสถานศึกษาชัน้ สูงระดับอุดมศกึ ษา หรอื ในมหาวิทยาลยั เปนการประชมุ แบบเปน ทางการ (Formal Meeting)
ท่ีสมาชกิ ผูมารวมการประชมุ เปน ผูท่มี คี วามรู มปี ระสบการณ มีความสนใจในเรื่องเดยี วกัน หรอื มคี วามสนใจ
ตรงกนั มาประชมุ รว มกนั มาดวยความต้ังใจจะมารวมใจกัน มาแลกเปลีย่ นประสบการณ รว มกันศึกษาคนควา
มารว มปรกึ ษาหารือกนั หรอื รวมกนั คิดเพือ่ ชว ยแกป ญหาในเรือ่ งทจ่ี ัดสัมมนาคร้งั นนั้ โดยทั่ว ไปมักจะมีการเชิญ
ผูเชี่ยวชาญ หรือผทู รงคณุ วุฒมิ ารวมดว ย ในฐานะผูใหความรูเสริม ชวยชแี้ นะ และใหค ำแนะนำปรกึ ษา

รปู ที่ 1 การประชุมสัมมนา

2

ความหมายของการจดั ประชมุ สัมมนา

นิรนั ดร จลุ ทรัพย (2547 : 269) กลา ววา คำวา “สมั มนา” เปนศพั ทบญั ญตั ทิ างวิชาการ(Technical
Term) ท่ีคณะกรรมการบญั ญัติศพั ททางการศึกษาไดบ ัญญัติข้นึ เพื่อใชแ ทนศพั ทภ าษาอังกฤษวา “Seminar”
มาจากคำสมาสระหวา งคำวา ส(ํ รวม)+มน(ใจ) แปลตามรูปศัพทว า รวมใจ ซึ่งเปนคำศพั ทบัญญตั ทิ ี่มลี กั ษณะดมี าก
คอื มีเสียงไพเราะ นา ฟง และมีลกั ษณะใกลเ คียงกบั ศัพทที่ใชใ นภาษาองั กฤษ มากท้ังดา นเสยี ง และความหมาย
จึงทำใหค ำวา “สัมมนา” เปน คำที่คนทั่วไปรูจ ัก และเขา ใจอยา งแพรห ลายในเวลาอันรวดเร็ว

สำหรับความหมายตามหลักวิชาการไดม ผี ูรูอธบิ ายความหมายของสัมมนาไวด ังน้ี
พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน 2525 (2530 : 809-810) ไดอธบิ ายความหมายของการสมั มนา
วา หมายถงึ การประชุม เพื่อแลกเปลยี่ นความรู ความคดิ เห็นเพ่ือหาขอ สรปุ ในเร่ืองใดเรื่องหนึง่ ผลของการสัมมนา
ถอื วาเปนเพียงขอเสนอแนะผูเกย่ี วขอ งจะนำไปปฏิบตั ิตามหรือไมก็ได
หนังสือสารานกุ รม The New Encyclo paedia Britannica (1985 : 49) ไดใหค วามหมายการ
สมั มนาวา การประชมุ แลกเปลีย่ นทศั นะและความรรู ะหวา งนักศึกษาระดบั สงู เพ่ือประโยชนในการคนควา
และแลกเปลย่ี นผลที่ได จากการศึกษาคน ควา โดยมรผูทรงคณุ วุฒิเปน ผูคอยใหค ำแนะนำชวยเหลือ
สวนในหนังสอื Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary (1985 : 1069) ไดอธิบาย
ความหมายของการสมั มนาไว 3 ประการดงั น้ี

1. หมายถึง กลมุ ของนักศกึ ษาระดบั สูงทก่ี ำลังทำการศกึ ษาคนควาวิจยั เร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่
โดยเฉพาะ และหมายรว มถึงกลมุ ของนักศึกษาท่ีรวมกันอภิปรายผลท่ีไดจ ากการศึกษาคนควา โดยมผี ทู รงคณุ
วฒุ เปนผูดแู ลใหค ำแนะนำชวยเหลอื

2. หมายถงึ รายวิชาที่กลมุ ของนักศึกษาระดับสงู ตองศกึ ษา
3. หมายถึง หอ งทีใ่ ชใ นการประชุมปรึกษาหารือในการศึกษาเลาเรยี นดังกลาว
พฤฒิพงศ เล็กศิริรตั น (ม.ป.ป. : 5) ไดกลาวสรปุ ความหมายของการสัมมนา แบงออกเปน 2 นยั คอื
1. หมายถงึ การทคี่ ณะบุคคลซึ่งมีความสนใจรวมกันในเรือ่ งใดเร่ืองหนง่ึ มารว มประชมุ
ปรึกษาหารือแลกเปลยี่ นทัศนะ และคงวามรซู ่งึ กนั และกัน เพ่ือหาขอสรุปรว มกันในเรื่องใดเรอ่ื งหนึง่
2. หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนซึง่ จดั เปนกลุม มสี มาชิกในกลมุ ซึ่งโดยปกติมกั จะเปน
นกั ศกึ ษาทเี่ รียนในระดบั สูง มารวมปรึกษาหารือกนั และแลกเปลี่ยนทัศนะ และความรูซ ง่ึ กันและกันโดยมี
อาจารยผทู รงคุณวุฒคิ อยควบคุมดูแล และใหค ำแนะนำชว ยเหลอื
สมพร ปน ตระสูตร (2525 : 1) กลา ววา การสมั มนา หมายถึง การที่คณะบุคคลกลมุ ใดกลมุ หนึ่ง
หรือหลายกลมุ มีความสนใจในเรื่องใดเร่ืองหนง่ึ หรือหลายเร่ืองรวมกนั และมกี ารมารวมกลมุ เพื่อปรึกษาหารือ
แสดงความรู ความคดิ เห็น โดยใชเ หตุผล หลักการ ประสบการณความรูตา ง ๆ เพ่ือชวยแกป ญหาบางประการ
ใหล ุลว ง หรืออาจจะพอมองเหน็ แนวทางในการปฏิบัติได การแกปญหาในการสัมมนานัน้ อาศัยพฤติกรรม
หรอื กระบวนการกลุมเปน สำคญั

3

การสัมมนา คือ การแลกเปล่ียนความรู ความคิดเห็น และประสบการณซ่ึงกนั และกนั ในระหวา ง
ผเู ขา รวมสัมมนา ผลจากการสัมมนา จะชวยสรางความเขาใจทีด่ ี สรา งความชดั เจนและถูกตองแกผูเขารว ม
สมั มนา ซึ่งจะสง ผลให การปฏบิ ัติงานในเร่ืองทสี่ ัมมนากนั น้นั ๆ มีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน

จากความหมายของการสมั มนาดงั กลาวมาขางตน จะเหน็ ไดวา เปนท้งั รูปแบบของการประชมุ
รวมกันของคณะบุคคล และเปนกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนรปู แบบหนึ่ง ในการจัดการศึกษา
ระดับสูง ซง่ึ ไมว า จะเปน ความหมายในทศั นะใด ลักษณะสำคัญย่ิงของการสมั มนา คือกระบวนการเรียนรู
หรือการแกปญหา โดยอาศัยกระบวนการกลุม (Group Process) เปน สำคญั

รูปที่ 2 การแกปญหา โดยอาศัยกระบวนการกลุม

ความสำคญั ของการสมั มนา

1. เปน การตดิ ตอ สื่อสารทร่ี วดเร็ว เม่อื บุคลากรไดม าพบปะพูดคยุ แบบเผชิญหนา ประชมุ โตต อบกนั
ในทันทที นั ใด ทำความเขา ใจกนั ไดใ นเวลาอันสน้ั ไมต องเสียเวลาในการสื่อสารมาก

2. เปน การระดมความคดิ เหน็ แลกเปลี่ยนประสบการณ หาขอ สรปุ หรือแนวทางในการตัดสนิ ใจ
ใหบ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท่ีตงั้ ไวเปนอยา งดี

3. เปนสอ่ื กลางในการพบปะแลกเปล่ยี นขาวสาร ความรู ฯลฯ ซ่ึงผเู กีย่ วของจะมโี อกาสชีแ้ จง
ขอ ซักถามขอสงสัยได กอใหเกิดความรสู กึ รว มแรงรวมใจ มีความรสู กึ เปนสวนหน่งึ ของหนว ยงานนนั้ ๆ ทำให
เกดิ การเรียนรูถงึ วธิ ีการปรบั ตนเองใหเขากับผูอื่น และทราบขาวสารเร่ืองราวความเคล่อื นไหวในกิจการตาง ๆ
ในสงั คมที่เกย่ี วของ

4. เปนเทคนิคของการใหไดม าซ่ึงความรู แนวคดิ และประสบการณเพอื่ เปน แนวทางของการหาขอ สรุป
และนำไปใชแ กไขหรือพัฒนาใหมีประสิทธภิ าพยิง่ ขนึ้

5. เปน เคร่ืองมือสำคัญในการปฏิบัตหิ นาท่ี เอือ้ อำนวยในการปฏิบตั งิ าน และการถายทอดความรู
หรอื ขา วสารตา ง ๆ เชน การประชุมชีแ้ จงเกี่ยวกบั นโยบายตา ง ๆ ของหนวยงาน หรือการประชมุ ทางวชิ าการ

การสัมมนา มีความสำคญั ตอ การพฒั นาองคกร และการพัฒนาบุคลากร เพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพ
การทำงาน โดยการจดั กระบวนการสมั มนา เปนสว นสำคญั ทจี่ ะเสริมสรางประสิทธิภาพ ดานการบริหารจัดการ
ใหเกดิ รปู แบบการพัฒนาอยา งสรางสรรค ใหเ กดิ ความรู แนวคิด ประสบการณโ ดยการพูดคุย บรรยาย ซักถาม
อภปิ ราย ระดมความคดิ เหน็ ภายในกลมุ และวิทยากรผูท รงคณุ วุฒทิ งั้ ประสบการณ และความรูต อ องคกร
และบคุ ลากรตอ ไป

4

จดุ ประสงคข องการสมั มนา

1. อบรม ฝกฝน ชีแ้ จง แนะนำ ส่ังสอน ปลูกฝง ทัศนะคติ และใหคำปรึกษา ในเร่ืองท่ีเก่ียวของ
2. พิจารณา สำรวจ ตรวจสอบปญ หา หรอื ประเด็นตา ง ๆ ทหี่ ยิบยกข้นึ มา เพื่อทำความเขาใจ
ในเร่ืองท่ีตองการรู
3. เสนอสาระนารู นาสนใจ ท่ีทันสมัย และเหมาะสมกบั สถานการณ
4. แสวงหาขอ ตกลง ดวยวธิ ีการอภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเห็นอยา งเสรี ซกั -ถาม ถกเถยี ง
ปรกึ ษาหารือ ภายใตห ัวขอ ทกี่ ำหนด
5. การตดั สนิ ใจ หรือกำหนดนโยบาย หรอื แนวทำงสำหรับนำไปปฏิบตั ิ
6. ใหไ ดข อสรปุ ผลของการนำเสนอหวั ขอ หรือการวิจยั

รปู ท่ี 3 แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น

ประโยชนของการสมั มนา

ผลของการจัดสัมมนา หรอื การจดั การเรยี นการสอนสมั มนา กอ ใหเ กดิ ความเจริญกาวหนา ทางวชิ าการ
อันเปน ผลมาจากการศึกษา คนควา เพ่ือเสนอบทความทางวชิ าการ และการประมวลขอเท็จจริงทางวชิ าการใหม ๆ
เพ่อื นำเสนอในรูปของเอกสารประกอบการสัมมนา สามารถนำไปเปน แนวทางในการปรับปรงุ แกปญหา
หรือสรา งสรรค การทำงาน ดังไดม นี ักวชิ าการกลาวถึงประโยชนของการสัมมนา ดังตอไปนี้

เกษกานดา สภุ าพจน (2549 หนา3) ไดกลาวถงึ ประโยชนข องการสัมมนา ดังนี้
1. ผูจัดสัมมนา หรือผูเรยี นสามารถจัดสมั มนาไดอยา งมีประสิทธภิ าพ
2. ผเู ขา รวมสมั มนา ไดรบั ความรู แนวคิดจากการสมั มนา สามารถนำไปปรบั ใชใ นการทำงาน

และชีวิตสวนตัวได
3. ผลจากการทผ่ี ูเขา รวมสัมมนาไดร บั ความรู และความสามารถมากข้นึ จากการสมั มนา

ชวยทำใหระบบ และวธิ ีการทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
4. การจัดสมั มนาจะชวยแบงเบาภาระการปฏิบัตงิ านของผบู งั คับบัญชา เพราะผูไ ดบังคบั บัญชา

ไดรบั การสัมมนา ทำใหเขา ใจถึงวธิ ีการปฏบิ ัตงิ านตลอดจนปญ หาตาง ๆ และวิธีการแกไขปรบั ปรุง และพฒั นา
งานใหไดผ ลดี

5. เปนการพัฒนาผูป ฏิบตั ิงานใหพ รอมอยเู สมอ ท่จี ะกา วไปรับตำแหนง ท่ีสงู กวา เดิม หรืองาน
ทจี่ ำเปน ตองอาศยั ความรูทางดานเทคโนโลยีใหม ๆ ซ่ึงผปู ฏบิ ตั ิงานจะไมร ูส ึกลำบากในการปรับตัว เพราะไดรับ
ความรใู หม ๆ ตลอดเวลา

6. เปน การสง เสรมิ ความกาวหนา ของผปู ฏบิ ัตงิ าน เพราะโดยปกติแลวการพิจารณา
เล่ือนตำแหนง ผทู ี่ไดรับการสัมมนายอ มมโี อกาสไดรับการพิจารณากอน

5

7. เกดิ ความคิดริเร่ิมสรางสรรค เปน ผลใหเ กดิ แรงบนั ดาลใจมุงกระทำกจิ กรรมอนั ดงี าม
ใหส งั คม

8. สามารถสรางความเขา ใจอันดงี ามตอเพ่ือนรว มงาน มีมนุษยส มั พนั ธ เกดิ ความรว มมือรวม
ใจในการทำงาน สามารทำงานเปนทีมไดเปน อยา งดี

9. เกิดความกระตือรือรน กลาคดิ กลา ทำ กลา ตดั สนิ ใจ มคี วามรับผดิ ชอบ รูจักยอมรับความ
คิดเห็นของผูอ่ืน รูจักใชดุลยพินิจวเิ คราะหปญ หา สามารถแกป ญ หาในการทำงาน และเกิดภาวะผนู ำ

ผล ยาวชิ ยั (2553 หนา 5) ไดกลาวถงึ ประโยชนข องการสมั มนาไวดังน้ี
1. เปนการแลกเปล่ยี นขอมูล ขาวสารระหวา งผเู ขา สัมมนา ท าใหมีความเขาใจขอเท็จจรงิ

ตา ง ๆ ดขี ้นึ ซึ่งจะทำใหเกดิ ความรวมมอื เพื่อความสำเรจ็ ตอไป
2. เปน การรว มกนั แกป ญ หาโดยผนกึ ความคิด ความรู และประสบการณของคนหลายคน

เขา ดว ยกนั ซง่ึ ยอมไดผลดกี วาคน ๆ เดียว และเปนการชักจูงใหหลายคนเขามามีสว นรว มในการรับผดิ ชอบ
3. กอใหเกิดความรสู ึกรว มแรงรว มใจ มคี วามรสู กึ เปนสว นหนง่ึ ของกิจกรรมนนั้ ๆ เพราะได

รบั ทราบเร่อื งราว และมีสวนเปน ผูก ำหนดเก่ียวกับความเคล่ือนไหวเหลานัน้ อยูด ว ย
4. เปน การชวยผอนผนั หรือทเุ ลาปญ หาท่ียงั ไมส ามารถแกไขได เพราะผูเขา สมั มนาทมี่ ีปญหา

ไดมโี อกาสระบายความอัดอัน้ ตนั ใจบางแลว
5. เปนการชวยใหผ ูเ ขา สมั มนาไดฟ งความคดิ เห็นของผอู ื่น ซ่ึงจะทำใหมที ัศนะทีก่ วา งขวางขึน้

และเกิดแนวคดิ ของตนเอง
6. ชว ยในการประสานงานไดดี ถาผูเขา สมั มนาจากสถานท่ีหลายแหง ดวยกัน ความสัมพันธ

ที่เกิดขึ้นในระหวา งประชมุ กลุมยอยจะชวยใหม ีความเขาอกเขาใจเหน็ อกเห็นใจกันยิง่ ข้ึน
ไพโรจน เนียมนา ไดกลา วไวว า การสมั มนาและการฝกอบรมเปนกิจกรรมทส่ี ำคัญยิ่ง ในการทำงาน

รว มกนั ซึ่งตองอาศัยความคดิ รวมกันดวย ผลท่ีไดจ ากการสัมมนา และฝกอบรมทุกคนจะไดรบั เชนเดียวกนั
ไมอยางใดกอ็ ยางหนึ่ง ซ่งึ สามารถสรปุ ประโยชนของการสมั มนา และฝกอบรมทว่ั ไป มีดงั น้ี

1. เปดโอกาสใหส มาชกิ มีการรบั ผดิ ชอบรวมกันในการดำเนินงานเพราะถาผูห นงึ่ ผใู ด
ไดต ดั สินใจตามลำพัง และเกิดผดิ พลาดขึน้ ผูนั้นจะตองรบั ผดิ ชอบทงั้ หมด แตถา เปน มติของท่ีประชมุ ทุกคน
จะตองรบั ผดิ ชอบรวมกัน

2. เปนเครอื่ งมือสำคัญในการกระจายขาวสารตาง ๆ ไปไดทุกทิศทาง โดยแจงใหผูเขาประชุม
ทราบแลวนำไป ถา ยทอดตอไป นับวาเปนการประชาสมั พนั ธขา วสารทีด่ อี กี วธิ ีหน่งึ

3. ชวยใหการตัดสนิ ใจรอบคอบยง่ิ ขน้ึ เพราะการวินจิ ฉยั คนเดียวอาจทำใหเ กดิ ความผิดพลาด
เน่ืองจากขอ จำกดั ทางความรู ความคิด ประสบการณ และอ่ืน ๆ

4. ผูเขาสมั มนา หรือฝกอบรมไดมีโอกาสรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผูอืน่ ทำใหตนเองมีทศั นะ
ทกี่ วางขวางข้ึน

5. เปนโอกาสดีทผ่ี เู ขารว มการสมั มนา และฝก อบรมจะไดพบปะสงั สรรค แลกเปลยี่ น
ความคดิ เหน็ ในเร่ืองตา ง ๆ ทั้งเรอ่ื งสวนตวั และเรื่องหนาท่ีการงาน จะกอใหเ กิดความรูสกึ รว มแรงรว มใจ
สรางความรูส กึ เปน สวนหน่งึ ของหนวยงาน และชว ยใหเกดิ การประสานงานที่ดีในโอกาสตอไป

6

6. ชวยเพิ่มผลผลิตทง้ั ปรมิ าณ และคณุ ภาพ
7. ชวยแกปญ หาในการปฏิบตั ิงาน ลดภาระในการควบคุม รวมถงึ ชวยลดอบุ ตั เิ หตุ
8. ชวยสงเสริมทศั นคตติ อองคการ
9. ชวยลดการสนิ้ เปลอื งตาง ๆ ลดตน ทุน
10. ชว ยใหพนักงานมีขวัญ และกำลงั ใจดีขึน้
11. ชวยพัฒนาบุคลากรใหม ีคุณภาพสูงข้ึน
นอกจากประโยชนท่ีไดจ ากการสมั มนา และการฝกอบรมดังกลาวขา งตน ซ่งึ ลว นแตเปน
กระบวนการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลใหมีคุณภาพ อนั จะนำไปสกู ารทำงานทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ องคก าร
เจรญิ กา วหนา สามารถจะแบงตามภารกจิ ของประโยชนแ ตล ะดา น แบง ไดดงั นี้
1. ประโยชนตอตนเอง ไดแ ก
1.1. ชว ยเพม่ิ ทักษะ ความรคู วามสามารถ นำไปสูการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน
1.2. ชวยใหส ามารถปรบั ตวั ใหทนั กบั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมเทคโนโลยี
และการเปลยี่ นแปลงอน่ื ๆ
1.3. ชวยพฒั นาบคุ ลิกภาพของตนเอง และปรับปรุงวธิ ีการปฏิบัติงานใหเ หมาะสมกบั งาน
ทป่ี ฏบิ ัติ
1.4. ชวยใหมีความเช่อื มัน่ ในตนเอง พรอมท่ีจะทำงาน กลาเผชิญปญหา

รูปท่ี 4 มีความเชอ่ื มั่นในตนเอง
1.5. ชวยใหเปน ผรู จู ักศึกษาเรียนรูต ลอดชวี ติ เปน ทรพั ยากรบคุ คลท่มี ีคา ขององคกร
และประเทศชาติ
1.6. ชว ยใหรูจักบุคคลหรือมิตรมากขนึ้ อนั จะเปนประโยชนตอการประสานการทำงาน
ใหพ ฒั นากา วหนา ตอไปได
2. ประโยชนตอองคกร ไดแ ก
2.1. ชวยเสริมสรางทัศนคตทิ ี่ถูกตองในการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากร และเปนที่พึงประสงค
ของหนว ยงาน
2.2. ชว ยเสรมิ สรา งขวญั กำลงั ใจในการทำงานแกผ ปู ฏบิ ัตงิ าน
2.3. ชว ยแกปญ หาการขาดแคลนผูปฏิบตั ิงาน โดยการเพ่ิมคณุ ภาพของผูปฏิบตั ิงานท่มี ีอยู
จำกดั แทนการเพิ่มงบประมาณ หรือเพ่ิมจำนวนผูปฏบิ ตั งิ าน
2.4. ชว ยยกระดบั ความสามารถของบุคลากรในการปฏบิ ตั ิงานใหเ ปนไปตามทศิ ทางเปาหมาย
และนโยบายขององคการ
2.5. ชว ยเสริมสรา งความรคู วามเขาใจ เพื่อหลีกเลี่ยงปญ หาทเี่ กิดขน้ึ ได

7

2.6. ชวยประหยดั งบประมาณรายจาย
2.7. ชว ยใหบคุ ลากรเกิดการเรียนรู และมีประสบการณโดยมผี ลกระทบตองานทป่ี ฏบิ ัติ
2.8 ทำใหเ กิดความสามัคคใี นหนว ยงาน การสมั มนา และการฝก อบรมจะทำใหบุคลากร
มโี อกาสไดแลกเปลีย่ นประสบการณซงึ่ กนั ละกนั ชว ยใหเกดิ ความเขาใจกนั มากยิ่งขนึ้
2.9. ชวยเพิม่ ผลผลติ ในการบรหิ ารจัดการ

รปู ที่ 5 เพมิ่ ผลผลิตในการบริหารจดั การ
สรุปไดวา ประโยชนท ่ไี ดรับจากการสัมมนา และการฝก อบรมนั้น จะมีความครอบคลมุ ท้ังในสว น
ผูบริหาร เจา หนา ที่ในการดำเนินการจดั การฝกอบรม และแมแ ตผ ูเขา รับการฝก อบรม เพ่ือใหท ราบวาควรจะตอ ง
จดั เตรยี มสิง่ ใดกอนเขา อบรมสัมมนา และรวมถึงผลประโยชนทีท่ กุ ฝาย ควรจะไดรับภายหลงั ที่สิน้ สดุ สัมมนา
และการฝกอบรม เปน ตน นอกจากประโยชนด งั กลาวแลว ผลของการจัดสัมมนา หรอื การจัดการเรียนการสอน
สมั มนา ยงั กอใหเ กิดความเจริญกาวหนา ทางวชิ าการ อันเปนผลมาจากการศึกษา คน ควา เพ่ือเสนอบทความ
ทางวชิ าการ และการประมวลขอเท็จจรงิ ทางวิชาการใหม ๆ เพ่อื นำเสนอในรปู ของเอกสารประกอบการสมั มนา
รวมท้ังสรปุ ผลรายงานสัมมนาท่ไี ดห ลังจากการสมั มนาเสร็จสน้ิ สามารถนำไปเปนแนวทางในการปรบั ปรุง
แกป ญ หา หรือสรา งสรรคก ารทำงาน นอกจากน้ียงั เปน หนทางใหบ รรลขุ อ ตกลง เกิดการประนีประนอมกนั
ในระหวา งหนวยงานเดียวกนั หรือตา งหนวยงาน และเกดิ การพฒั นาตน พฒั นาคน พัฒนางาน และสังคม
โดยสว นรวม

วัตถุประสงคของการสัมมนา

วตั ถุประสงค หรือความมุงหมายในการสมั มนา นอกจากจะไดเ พ่ิมทักษะ ความรใู หแกผูเขารบั
สมั มนาแลว ยังมวี ตั ถปุ ระสงคทส่ี ำคญั หลายประการ ดงั นักวชิ าการไดก ลาวไว ดงั นี้

สุทธนู ศรีไสย ไดก ลาวถึง วตั ถปุ ระสงคของการสัมมนาไวด ังนี้
1. เพื่อการศกึ ษา และเรียนรูประเด็นตา ง ๆ ของปญหาเพ่ือนำไปสูการแกปญ หา
2. เพอ่ื คน ควาหาคำตอบ ขอเสนอแนะ หรือหาขอยตุ ทิ ีจ่ ะใชแ กป ญ หารว มกนั
3. เพื่อนำผลของการสัมมนาเปน เครื่องมอื ในการตดั สนิ ใจหรือกำหนดนโยบาย
4. เพื่อการพฒั นาและการปฏิบตั งิ านใหบ รรลุตามเปา ประสงค

สมจิตร เกิดปรางค และนตุ ประวีณ เลิศกาญจนวัต ไดก ลา ววา การสัมมนาโดยทั่วไปมีวัตถุประสงค
ทส่ี ำคัญดังน้ี คือ

1. เพอื่ เพิม่ พนู ความรู ความสามารถ และประสบการณแกผูเขา รว มสัมมนา
2. เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นซง่ึ กนั และกัน ระหวางผูเขา สัมมนาดวยกัน และผเู ขา สัมมนา
กบั วทิ ยากร

8

3. เพื่อคน หาวิธกี ารแกป ญหา หรือแนวทางปฏบิ ัติรว มกนั
4. เพือ่ ใหไดแ นวทางประกอบการตดั สนิ ใจ หรอื กำหนดนโยบายบางประการ
5. เพือ่ กระตนุ ใหผรู ว มเขาสมั มนานำหลักวิธกี ารที่ไดเ รยี นรูไปใชใหเ ปนประโยชนการสัมมนา
แตละครง้ั จะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคม ากนอ ยเพียงใดนอกเหนือจากกระบวนการจัดสมั มนา และวทิ ยาการแลว
สมาชิกผูเขา รว มสมั มนา มคี วามสำคัญมากเชนเดยี วกนั เพราะเปา หมายที่เดน ชัดของการสัมมนาก็คือผเู ขา รว ม
สัมมนาทกุ คนตองทำหนาทเี่ ปนท้งั ผูให และผูร บั คือเปนผฟู งความคิดเห็นจากผูเ ขา รว มสัมมนาดวยกัน
และในขณะเดียวกันก็เปนผูเ สนอความคิดเห็นใหแกก ลมุ ดวย ดังน้ันหัวใจของการสมั มนาจึงอยทู ่วี าสมาชกิ ทกุ คน
ไดม สี ว นรวม ไดแ สดงความคิดเหน็ และไดเสนอแนวคิดใหแกกลมุ เปน ประการสำคัญ
ไพพรรณ เกยี รติโชติชัย ไดก ลาววา การสัมมนา มวี ัตถุประสงคเพ่ือยกระดับประสทิ ธิภาพ
ทม่ี ลี ักษณะเดนอยางหน่งึ หรอื มากกวาหนึ่งขนึ้ ไป เพื่อใหเ กิดผลสำเรจ็ ทง้ั ความรใู หม และขอมูลทีใ่ ชในการ
ปฏบิ ัตงิ าน โดยการสอนทักษะใหมใ หห รือโดยการสรางใหแตล ะคนมีเจตคตใิ หม คา นยิ ม มแี รงจูงใจ พรอมทั้ง
มคี ณุ สมบัติของบคุ ลิกภาพทีด่ ี การสมั มนาโดยท่ัวไป มักจะจัดเปน หลกั สตู รเฉพาะสำหรับกลมุ งาน หรอื กลุม
บริหาร มคี วามมุง หมายเพ่ือเปนการพัฒนาบทบาทพฤติกรรม และใหมีความเขาใจในการปฏบิ ตั ิงาน เพอื่ ใหเกิด
ประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานของทุกคน การใชโอกาสในการสัมมนา เพ่อื ฝกอบรม หรือพัฒนาใหม ีประสิทธิภาพ
และใหมีผลสมั ฤทธใ์ิ นการทำงาน
นิรนั ดร จลุ ทรัพย ไดกลาววา การสัมมนาโดยทั่วไปมวี ตั ถปุ ระสงคท่สี ำคญั ดงั นี้
1. เพือ่ เพิม่ พูน และเติมเตม็ ความรูความสามารถ ทกั ษะประสบการณทัง้ ดานวชิ าการ
หรือดานวิชาชพี แกผ ูเ ขา รว มสมั มนาโดยตรง
2. เพือ่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวา งกนั และกนั ของผูเขารวมสมั มนากับวทิ ยากร
หรือผเู ชยี วชาญในเร่ืองหรอื สาขาวิชาเฉพาะทางนั้น ๆ
3. เพ่อื คน หาคำตอบ วธิ ีการแกปญหา หรือแนวทางการแกปญ หาในทางปฏบิ ตั ิรว มกนั
4. เพื่อใหไดแนวทางสรุป ประกอบการตัดสินใจ หรอื หาแนวทางการแกป ญหา หรอื กำหนด
นโยบายของหนว ยงาน องคก รบางประการ
5. เพ่ือสรา งความตระหนัก หรอื กระตุนใหผ ูเขารวมสมั มนา นำหลักการวธิ ีการเรียนรู
หรอื แนวทางปฏบิ ัติไปใชใหเกิดประโยชนตอ หนา ท่ี และภาระงานท่ีปฏบิ ัตหิ รือรบั ผดิ ชอบตอไป

รูปท่ี 6 กระตนุ ใหผเู ขารวมสัมมนา
จากความหมายขางตน สรุปไดวา วตั ถปุ ระสงคข องการสัมมนาการ คือการเพมิ่ พูนความรทู ักษะ
และประสบการณ แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นระหวางผูเ ขารวมสมั มนา คน หาแนวทางวิธใี นการปฏิบตั ิรวมกัน
เพื่อแกไขปญ หา หรือกำหนดนโยบายบางประการ และเพ่ือฝกอบรมหรอื พัฒนาใหผ เู ขารวมใหม ีประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั งิ านท่สี ูงขน้ึ ท้งั น้ียอมข้นึ อยกู บั กระบวนการจดั การสัมมานาทดี่ ีควบคูกนั ไปดวย

9

องคป ระกอบของการสัมมนา

การสมั มนาเปนวธิ กี ารประชุม และการสอนรปู แบบหนึ่ง ที่มกี ลุม บุคคลมารวมแสดงความคดิ เห็น
โดยใชห ลกั การ เหตุผล ประสบการณ และความรูตา ง ๆ นำมาเสนอแนะแลกเปล่ียนเพ่ิมพูนหาประโยชนร ว มกนั
ในการแกปญ หานั้น ๆ ใหสำเร็จลุลวงดวยดี หรือนำแนวทางทไี่ ดร ับจากการสัมมนาไปปรับปรุงแกไข พฒั นาการ
ดำเนินการสัมมนา แตละครงั้ มอี งคป ระกอบสำคญั 5 ดาน

1. องคประกอบดานเนอื้ หา องคประกอบดานเนื้อหาของการสัมมนาไดแกส าระของเร่ืองราว
ทนี่ ำมาจัดลำดบั กอนหลังอยา งเปนระบบประกอบดว ยรายละเอยี ด ดังนี้

1.1 ชอื่ เรื่อง หรอื ชื่อโครงการทน่ี ำมาจดั สมั มนานับวา เปน ปจจยั สำคญั อยา งหน่ึงทผ่ี จู ดั
สัมมนา ควรจะไดพจิ ารณาวา จะเลอื กเรื่องอะไร ทีจ่ ะนำมาจัดสมั มนาจึงจะไดรบั ประโยชนคุมคา สิ่งที่ควร
คำนึงถงึ ในการพิจารณาเกีย่ วกบั ชอ่ื เร่ือง ในการจัดสมั มนา ไดแก

1.1.1 ควรเปนเรอื่ งที่ตองการศกึ ษาปญหา หาแนวทางแกไขท่เี กี่ยวของกับงาน
หรอื เรือ่ งที่กำลังศึกษาอยู และเปนเรือ่ งท่ตี นเองถนัด รูแ จง รลู ึกซ้ึงเปน อยางดี

1.1.2 มคี วามทันสมัยสอดคลองกบั สถานการณปจจุบนั
1.1.3 สามารถกำหนดปญหา หาแนวทางการแกไขปญ หาไดอยางเปน ระบบ
1.1.4 เปน เรอื่ งที่ไมก วา ง ไมแ คบจนเกนิ ไป ควรเปน เร่อื งทีม่ ีขอบเขตเฉพาะเรื่อง
สามารถกำหนดปญ หา และแนวทางการดำเนนิ การจดั สัมมนาไดชดั เจน

รูปท่ี 7 ชอ่ื โครงการท่นี ำมาจดั สมั มนา
1.2 จุดมงุ หมายของการจดั สัมมนา โดยปกตแิ ลวการจัดสัมมนากเ็ พ่ือเปนการฝก ผูเขารวม
สัมมนา หรอื นักศึกษาที่นอกจากเพื่อใหไดเกิดการเรียนรู แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ แลว ยังทำใหเกิดการเพิ่มพนู
ความรปู ระสบการณ ไดร บั แนวความคดิ ใหม ๆ สามารถนำไปปรับปรุงแกไข และพฒั นาตนเอง หนวยงานท่ี
รับผิดชอบเปน การสรางสรรคตอ สว นรวม และสงั คมอยางไรกต็ ามในการสัมมนาจำเปน ที่จะตอ งมี
หรอื เขยี นจดุ มุงหมายของการสัมมนาไวใ หช ดั เจน เพื่อคณะกรรมการผูดำเนินการจดั สมั มนา ผูเขา รวมสมั มนา
วทิ ยากร และบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของจะไดเขาใจ และดำเนินการสัมมนาใหเปน ไปตามจุดมงุ หมายท่ีตัง้ ไว
การเขยี นจดุ มุงหมายมักจะกำหนดเพ่ือใหบ รรลุเปา หมาย หรอื ไดร ับสาระตามตองการอยางใดอยางหน่ึง ไดแก

1.2.1 เพ่ือศึกษา และสำรวจปญ หาเรื่องใดเรอ่ื งหนึ่งทีอ่ ยูในความสนใจ
1.2.2 เพอื่ ใหไดวิธกี าร หรอื แนวทางในการแกป ญหาเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง
1.2.3 เพ่ือศึกษาคน ควาวจิ ยั ในเรื่องท่มี ีความจำเปน เรงดว น
1.2.4 เพ่ือเรียนรู และมกี ารแลกเปลีย่ นผลของการศึกษาคนควาวิจัยระหวางผเู รยี น
ท่ีเรยี นรว มกนั

10

1.2.5 เพอื่ รว มพิจารณาหาขอสรุปผลรายงานการศึกษาคนควา ในเรื่องท่สี นใจ
1.3 กำหนดการสัมมนา นบั วาเปนเร่ืองท่จี ำเปนประการหนึ่ง ท่ผี จู ดั สัมมนาควรจะตอ งมี
การวางแผนกำหนด และจัดทำเพราะจะทำใหท ราบชวงเวลาของการดำเนนิ การแตล ะรายการของการสัมมนา
ซึง่ กำหนดการสมั มนาควรระบุสง่ิ ตอ ไปนี้

1.3.1 ชอ่ื กลมุ สาระวชิ า กลมุ บุคคลผูดำเนินการ หรือผรู บั ผดิ ชอบจดั สัมมนา
1.3.2 ชื่อเรือ่ งสมั มนา
1.3.3 วนั เดือน ป ที่จัดสมั มนา
1.3.4 สถานทจ่ี ัดสมั มนา
1.4 ผลที่ไดจ ากการสัมมนา เปนสงิ่ ทผี่ ูจัดสัมมนาไดคาดหวังวาการจดั สมั มนาจะทำให
ผเู ขารวมสัมมนาไดร ับผลประโยชนท ้งั เชิงปริมาณ และคณุ ภาพ จึงเปน เร่ืองทผี่ ูจดั สมั มนาจะตอ งมีการกำหนด
ผลทีค่ าดวาจะไดร บั จากการสัมมนาไวด วย ตวั อยางเชน ผลที่ไดจ ากการสมั มนาผเู ขา รวมสมั มนา จำนวน 90คน
ไดรบั ความรู และสามารถนำเอาความรูที่ไดจ ากการสัมมนาไปพฒั นางานทต่ี นปฏิบตั ิอยไู ดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. องคป ระกอบดานบคุ ลากร องคป ระกอบดา นบุคลากร หมายถงึ บคุ คลท่เี กยี่ วของในการ
จัดสมั มนาแตล ะครงั้ จะประกอบไปดว ยบุคลากร ดงั น้ี
2.1 บคุ ลากรฝา ยจดั สัมมนา หรือคณะกรรมการจัดสัมมนาใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีตงั้ ไว
คณะกรรมการอาจแบง ออกเปนฝา ยตา ง ๆ ไดแก ประธาน รองประธาน เลขานุการ ฝา ยทะเบยี น ฝายเอกสาร
ฝา ยเหรัญญิก ฝายพิธีการ ฝา ยอาคารสถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ ส่ือทัศนูปกรณ ฝายอาหารและเครื่องดม่ื
ฝายประชาสมั พันธ ฝา ยปฏิคม และฝายประเมนิ ผล คณะกรรมการแตละฝา ยทกี่ ำหนดข้ึน อาจจะมีการผนวก
รวมกับบางฝา ยงานเขาดวยกัน สวนจำนวนบุคลากรท่ีจดั ใหรบั ผดิ ชอบแตละฝายอาจมีจำนวนทีไ่ มเ ทากนั ขึน้ อยู
กบั ความจำเปน ความสามารถของบุคคล เพราะวา บางงานบางฝา ยบุคลากรมีความสามารถหลายดาน กส็ ามารถ
ปฏบิ ตั ิงานไดห ลายอยางในเวลาเดียวกัน แตอ ยางไรก็ตามการออกคำส่ังแตง ตงั้ คณะกรรมการตอ งลงนามคำสงั่
แตงต้งั โดยผูบงั คบั บัญชาสงู สุดของหนว ยงาน หรือองคก รนั้น ๆ

รปู ท่ี 8 บุคลากรฝา ยจดั สมั มนา

11

2.2 วิทยากร คอื บุคคลที่ทำหนา ท่เี ปนผูบรรยาย ผูนำอภิปราย และเปนผูถ า ยทอดความรู
ประสบการณโ ดยนำเสนอผานสอื่ ตา ง ๆ นำเสนอใหก บั ผูเ ขารว มสมั มนาดว ยความมุงหวังท่ีจะใหผ ูเขารวม
สัมมนาไดรับความรู และประสบการณอ ยางเต็มที่ ดังนนั้ วิทยากรจึงเปน บุคคลที่มคี วามรู มีความสามารถ
มปี ระสบการณ มีความเชีย่ วชาญเฉพาะทางดา นใดดา นหนึ่ง หรอื เปนบุคคลท่ีมีชอื่ เสียงเปนทมี่ คี วามรู
ความสามารถเก่ียวของกับหวั ขอเร่ืองท่ีใชใ นการสมั มนา นั้น ๆ

รูปท่ี 9 วิทยากร
2.3 ผเู ขารวมสมั มนา ไดแกบุคคลทีม่ ีความสนใจใฝร ูในปญหา หรอื ประสบปญหาตองการ
แสวงหาแนวความคิดใหม ๆ หรือมคี วามมงุ หมาย ตองการแลกเปลี่ยนเรยี นรูซ ่งึ กนั และกัน ผเู ขา รวมสวนใหญ
เปน ผทู ี่มีพน้ื ฐานความรแู ละมีปญหาทส่ี นใจจะศกึ ษาคลายคลึงกัน

รูปท่ี 10 ผเู ขา รว มสัมมนา
3. องคป ระกอบดา นสถานที่ สถานที่ เครอื่ งมือ และอุปกรณตา ง ๆ ที่ใชสัมมนาควรมดี งั นี้

3.1 หองประชมุ ใหญ หมายถึง หอ งประชมุ ขนาดใหญที่ใชใ นการสัมมนา กำหนดทน่ี ่งั
สามารถบรรจุผูเขารว มสัมมนาไดจ ำนวนมาก ควรระบุสถานที่ตั้ง และการเดนิ ทางเขาถึง สถานท่จี ดั สัมมนา

3.2 หองประชุมขนาดกลาง หรอื ขนาดเล็ก อาจตองมีมากกวาหน่งึ หอ ง ควรอยใู นพนื้ ที่ใกล
หรือบริเวณเดียวกันกับหองประชมุ ใหญท งั้ น้ี เพ่ือความสะดวกในการรวมกจิ กรรม หรอื ประสานงานหากมปี ญ หา
และเพื่อความสะดวกในการเดนิ ทางมายงั หองประชุมใหญ

3.3 หอ งรบั รอง เปนหองท่ีใชสำหรับรบั รองวิทยากร แขกพิเศษ เพ่ือใหพักผอน หรอื เตรยี ม
ตวั กอนการสัมมนา แตถา สถานทมี่ พี นื้ ท่ีจำกดั อาจใชส วนหนาของหองประชุมจดั วางโตะ รับแขก สามารถใช
ประโยชนบนพ้นื ทีด่ งั กลาวได

3.4 หอ งรบั ประทานอาหารวางมุมพักผอ นนองหอง หรอื หนาหองประชมุ เปนพ้นื ทจี่ ดั ไว
สำหรับใหผ ูเขารวมสมั มนา ไดมาพักรวมท้งั เปนจดุ พักรบั ประทานอาหารวา ง

3.5 อุปกรณโ สตทัศนูปกรณ ไดแ ก ชดุ ไมโครโฟนชนิดตั้งโตะไมโครโฟนชนดิ ตง้ั พ้นื
ไมโครโฟนไรสาย ไมโครโฟนชนดิ เล็กใชหนบี ติดปกคอเสื้อ เคร่ืองขยายเสยี ง เครื่องฉาย โปรเจกเตอร โนตบุค
และอปุ กรณไฟฟาเกย่ี วกับเคร่ืองเสียง สี แสง และอนื่ ๆ

12

3.6 หองรับประทานอาหาร เปนหองที่อำนวยความสะดวก จัดไวสำหรบั ให ผูเขา รว ม
สมั มนาไดรว มรบั ประทานอาหารอาจเปน ทง้ั หองรับประทานอาหารเชา กลางวัน และอาหารเย็นในพน้ื ที่เดยี วกนั

3.7 อปุ กรณเคร่ืองมือ ประเภทเครื่องคอมพวิ เตอร เคร่ืองปร้ินเตอร และวสั ดุอ่ืน ๆ
ทีจ่ ำเปน ในการจัดทำเอกสารประกอบคำบรรยายเอกสารสรุปการจดั สมั มนา ตลอดจนเอกสาร และแบบฟอรม
อืน่ ๆ ท่ีใชใ นการสัมมนา

3.8 อุปกรณดา นเครื่องเขยี นเคร่อื งใชส ำนักงานที่มีความจำเปน มไี วใช ไดแ ก ดนิ สอ
ปากกา ปากกาสำหรับเขียนกระดานไวทบ อรด น้ำยาลบคำผดิ กระดาษถายเอกสาร กระดาษใชพิมพงาน
เครื่องเขียน ไมบ รรทดั คลปิ เสยี บ ปายช่ือตดิ หนาอกผูเ ขารวมสัมมนา คณะกรรมการแตละฝา ย ฯลฯ อุปกรณ
เหลา นค้ี วรตดิ ไวใ หพ รอมทีจ่ ะใชง านไดทันทที ่ีตองการ

4. องคป ระกอบดา นเวลา การกำหนดเวลาสำหรบั การสัมมนา เปน องคประกอบทส่ี ำคญั
ประการหนงึ่ ผูจดั การสัมมนาควรวางแผนใหดีวา ควรจะใชว ันใดเวลาใด ดำเนินการจดั การสมั มนาจึงจะเหมาะสม
เพอื่ ใหเกดิ ความสะดวกแกท ุกฝาย ไมวาจะเปน ผูจัดสมั มนา จะไดมเี วลาสำหรบั การเตรียมการ วิทยากร
และผูเ ขารว มสัมมนาสะดวกท่ีจะมาสัมมนาจึงควรคำนึงถึงในเร่อื ง ดงั ตอไปน้ี

4.1 ระยะเวลาสำหรับการเตรียมการ ผูจัดสมั มนาควรวางแผนปฏบิ ตั งิ านใหชดั เจนวา งาน
แตละอยางแตละประเภททตี่ องทำน้นั จะใชเวลานานเทาใดจึงจะแลวเสร็จ จนถงึ วันที่จะตองจดั สัมมนา
เพราะงานบางอยา งตองทำลว งหนากอ น เชน การประชมุ วางแผนจดั ทำโครงการ การวางแผนศกึ ษาดูงานนอก
สถานทปี่ ระกอบการสมั มนา วางแผนเกี่ยวกบั วทิ ยากร การจดั สถานที่ งบประมาณ และการวางแผนการ
ประเมินผล เปน ตน ระยะเวลาสำหรบั การดำเนนิ การบางเร่ือง อาจใชเ วลามาก บางเรื่องอาจใชเวลานอย
บางเรอ่ื งตองทำอยางตอ เน่ือง ผูจดั ทำสมั มนาจงึ ควรที่จะไดวางแผนไวอยางรอบคอบ มีการคาดคะเนสถานการณ
ใหด จี ะสามารถเตรยี มการใหทนั ตามกำหนดได

4.2 การเชิญวิทยากร เปนเรื่องสำคญั อีกเรือ่ งหนึง่ ที่ผจู ัดสมั มนา ควรจะวางแผนใหดี
เพราะวทิ ยากรบางทา นเปน ผูท่ีมชี ่ือเสียงมากมักจะไมว างบางทา นตองติดตอลว งหนาในบางครัง้ ถึงกบั ตอง
เล่อื นวนั จัดสมั มนาออกไป เพื่อจะใหต รงกับวนั ท่ีวิทยากรวาง เพราะหวังวา จะไดว ทิ ยากรทมี่ ีคุณภาพมาบรรยาย
กรณเี ชน น้ี เกดิ นอยคร้งั มาก เพราะไมจำเปน จรงิ ๆ กจ็ ะไมเ ปลย่ี นวนั เวลา ท่กี ำหนดจดั สมั มนาไว หากไดออก
หนงั สือเชิญผูเ ขารวมสมั มนาไดทราบวันเวลาแลว เพราะเปนการยุงยากสิ้นเปลืองคาใชจ าย รวมทั้งยงั เสียเวลา
ในการแจง ใหผูร ว มสมั มนาไดทราบวันเวลาใหม หากวิทยากรทไี่ ดเชิญไปไมม า ควรเปลี่ยน วิทยากรทมี่ ี
คณุ สมบัติใกลเ คียงแทน

4.3 วนั เวลา ท่ีใชในการสมั มนาจะใชกว่ี นั ขน้ึ อยูอบั เร่ืองที่สมั มนาวามีขอบเขตกวา ง
มานอยเพยี งใดอาจเพียงวนั เดียว บางเรื่องใชเ วลาสามวนั บางเรอ่ื งใชเวลาถึงหาวนั หรืออาจมากกวา นนั้
ท้ังนี้ข้ึนอยกู บั ความนา สนใจ ความจำเปนของเร่ืองทต่ี องการรู หรอื ขึน้ อยูกบั ปญ หางานท่ีประสบอยูพอดี
บางเรื่องอาจตองมีกจิ กรรมเสริม เชน การศึกษาดงู านประกอบการสมั มนาในเรื่องที่เก่ียวของ

5. องคประกอบดา นงบประมาณ การดำเนนิ งานจัดสมั มนายอยมคี าใชจ า ยเก่ยี วกับการ
ดำเนินงานคอนขางมาก คณะผูดำเนนิ งานจดั ทำสัมมนาตอ งวางแผนงานดานคา ใชจายใหดีดวยความรอบคอบ
เพ่ือใหก ารประมาณคา ใชจ า ยอยูใ นภาวะเพียงพอไมขาด หรือติดขัดในคา ใชจา ยฉุกเฉนิ ซึ่งอาจเกิดภายหลังได

13

ขอควรคำนงึ ถึงการจัดทำงบประมาณคาใชจายในการดำเนินงานจดั สมั มนาที่เรียกวา การจดั ทำงบประมาณ
ไดแก

5.1 จดั ประมาณการคาใชจ าย แตละฝายท่ที ำหนาทรี่ ับผดิ ชอบงาน จัดประมาณ
การคาใชจ ายท่ีตอ งใชจายทงั้ หมดของฝา ยตนเองออกมาในรูปของบญั ชีคาใชจ า ย นำเสนอฝา ยเหรญั ญกิ
และที่ประชุม เพื่อพิจารณาถงึ ความเหมาะสมสำหรบั คา ใชจ ายแตละรายการของแตละฝายกอ น
โดยใหม ีรายละเอียดใหมากที่สดุ อยาใหตองตกหลนในรายการใดรายการหนึ่งไป

5.2 คา ใชจายตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วของกับวสั ดุอุปกรณทจี่ ำเปนตองจัดซอื้ ควรมรี ายการราคา
ตามทองตลาด หรอื อาจใชวิธสี บื ราคาวัสดอุ ุปกรณเหลา น้ันกอน เพอื่ การประมาณคาใชจ ายจะไมเ กิดขอผิดพลาด
การวางแผนคา ใชจายจึงควรคำนงึ ถึงคา ใชจา ยทีค่ าดวาจะเพ่ิมขน้ึ ไดโดยอาจนำไปใสใ นคาใชจ า ยอื่น ๆ

5.3 จดั ทำงบประมาณรวม การวางแผนเกย่ี วกบั คา ใชจ า ยของแตละฝา ยเหน็ ชอบจากที่
ประชุม แลว จึงจดั ทำงบประมาณรวมทงั้ โครงการ แลว เสนอผูร ับผิดชอบ หรือเสนอฝายบริหารอนมุ ัติกรณีที่เปน
การสัมมนาเพอื่ พฒั นาองคกร ขอ สังเกตในการวางแผนงบประมาณคา ใชจ า ยของการจดั สัมมนาควรดำเนินการ
ดังน้ี

5.3.1 จดั ประชุมแตละฝา ยที่รับผดิ ชอบ มอบหมายงานในหนา ท่ีตาง ๆ จัดทำแผน
งบประมาณคา ใชจา ยของฝายตนขน้ึ มา นำเสนอตอ ทปี่ ระชุมเพ่ือพจิ ารณารวมกนั

5.3.2 เม่ืองบประมาณแตล ะฝายไดร บั การเหน็ ชอบแลว ตอ งนำงบคา ใชจา ยของ
แตล ะฝา ยมาลงในโครงการ โดยแยกคาใชจายทีต่ องใชจายที่ตองจายจรงิ เปนเงินเทาใด

5.3.3 อาจแนบรายละเอียดคาใชจ ายของแตละฝา ยไปพรอมโครงการ เพ่ือใหฝ าย
บรหิ าร หรอื ผูบังคบั บัญชาพิจารณาอนุมตั ิ ในกรณที ่ีแตล ะฝายตอ งการเบกิ เงินจากเหรญั ญิก เพื่อนำไปใชจ าย
ในฝา ยของตน เหรัญญิกตองจัดทำบญั ชรี ายรับรายจายรวมทั้งมเี อกสารการเบกิ จา ยเงนิ และลายเซ็นของผูร บั
เงินดว ย ทง้ั นเ้ี พ่ือเปนหลักฐานในการปฏบิ ัตหิ นาท่ี ทรี่ บั ผิดชอบ

สรุปไดว า องคป ระกอบของการสัมมนามี 5 ดาน ประกอบดว ย องคป ระกอบดานเนื้อหา
องคประกอบดานบุคลากร องคประกอบดา นสถานที่ องคป ระกอบดานเวลา องคประกอบดานงบประมาณ
ลวนเปน สงิ่ ทมี่ คี วามสำคัญเปนอยา งยิ่ง เพราะไมว า จะเปน องคป ระกอบดานเนื้อหา องคประกอบดานบุคลากร
องคป ระกอบดานสถานท่ี เครื่องมือ และอุปกรณตา ง ๆ องคประกอบดานเวลา องคประกอบดา นงบประมาณ
ใชประกอบในการจดั สมั มนาเพ่ือเปนกรอบแนวคิดในการดำเนนิ การจดั สัมมนาใหสมบรู ณแ บบ และตอเนื่อง
จนบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค

14

รูปแบบของการจัดสัมมนา

รปู แบบของการสมั มนานั้น มีหลากหลายโดยสามารถแบงเปน หัวขอ ดงั ตอไปนี้
1. รูปแบบการจดั สัมมนาโดยใชเทคนคิ การอภิปราย แบงเปน
1.1 การอภิปรายเปนคณะ (Panel Discussion) จะตองใชก ลุม ของผทู รงคุณวุฒติ ั้งแต

3 คนข้ึนไป จนถงึ 10 คน

รปู ท่ี 11 การอภปิ รายเปนคณะ
1.2 การอภปิ รายแบบซิมโพเซี่ยม (Symposium) เหมาะสำหรบั การสมั มนาวิชาการ

รปู ท่ี 12 การอภิปรายแบบซิมโพเซ่ียม
1.3 การอภิปรายแบบบุซเซสสน่ั (Buzz Session) เปน การประชุมท่เี ปดโอกาสใหผ ูรวม
มีโอกาสแสดงความคิดเหน็ ในระยะสั้น ๆ
1.4 การอภิปรายแบบบทบาทสมมติ (Role Playing) ผูเขา ประชุมมโี อกาสแสดงบทบาท
สมมติในสถานการณใ ดสถานการณห น่งึ เหมือนสถานการณจริง
1.5 การอภิปรายแบบตอบกลบั (Circular Response) กลมุ สมาชกิ ประมาณ 8 – 15 คน
โดยจดั ท่ีนง่ั เปนรปู วงกลม

รปู ที่ 13 การอภปิ รายแบบตอบกลับ
1.6 การอภปิ รายโตะกลม (Round Table) เหมาะสำหรับการประชมุ ผูบรหิ าร
และนักธุรกจิ ทีส่ นิทสนม และตอ งการความเปน สวนตวั
1.7 การอภปิ รายแบบถาม – ตอบ (Dialogue)
1.8การอภปิ รายแบบฟอรมั (Forum) เปน การสัมมนาทเ่ี นนการต้งั คำถาม และตอบคำถาม
1.9 การอภปิ รายก่ึงสัมภาษณ (Colloquy Method) ลกั ษณะคลายการโตวาที
ระหวางผรู วม กับผวู ทิ ยการ

15

1.10 การอภิปรายกลมุ ยอย (Group Discussion) เปนการสัมมนาต้ังแต 6 – 20 คน
ในเรอื่ งทสี่ นใจรว มกัน เพื่อสรุปผล และหาแนวทางการแกป ญหา

2. รูปแบบการจดั สัมมนาโดยใชเทคนคิ การประชุม แบงเปน
2.1 การประชมุ แบบระดมสมอง (Brainstorming) เปด โอกาสใหท กุ คนแสดงความคดิ เห็น

และไดมีเสรีภาพในการพูดอยางกวา งขวาง
2.2 การประชมุ แบบรวมโครงการ (Joint–Venture Meeting) ใชใ นการประชมุ ตกลงทาง

ธุรกิจรัฐวิสาหากจิ หรือองคการคา ระหวางประเทศ
2.3 การประชุมแบบรบั ชวง (Sub Contract Meeting) นยิ มใชใ นการประชุมตกลง

ของหนวยงานภาคเอกชน หรอื หนว ยงานของรัฐวิสาหกจิ
2.4 การประชมุ แบบคอนเวนชน่ั (Convention)
2.5 การประชุมแบบเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) เปนการสัมมนาที่มีผูเขา ประชุมสามารถ

มสี ว นรว มไดเตม็ ท่ี
2.6 การประชมุ ปรึกษา หรอื การประชุมอภปิ ราย (Training Meeting) เปน การสมั มนา

ทม่ี กี ารสอน หรอื ใหความรูในสาขาวิชาเฉพาะผูเขา สัมมนา
3. รปู แบบการจดั สัมมนาโดยใชเทคนคิ อนื่ ๆ แบงเปน
3.1 การบรรยาย (Lecture of Speech) ใชผ ูทรงคุณวุฒเิ พียงรายเดียวตอผฟู งจำนวนมาก
3.2 การอบรมระยะส้ัน (Short Courses) เปน การสมั มนา หรือการเรยี นบางวิชา

อยา งเรง รัด ภายในระยะเวลาอันส้นั
3.3 การปฐมนเิ ทศ (Orientation Training) เปนการสมั มนาใหความรูเกย่ี วกับองคก ร

แกสมาชกิ ใหม
3.4 การสาธติ (Demonstration)
3.5 สถานการณจำลอง (Simulation)
3.6 การแบงกลุมเล็ก (Knee Group) เปนการสัมมนากลมุ ยอ ย ต้ังแต 3 – 5 คน

ในเร่ืองท่ผี ูส มั มนาสนใจรว มกัน

การนำเทคโนโลยสี ารสนเทศไปประยกุ ตใ นการจดั ประชุมสัมมนา

1. ตองเปรยี บเทียบเทคโนโลยีสารสนเทศทมี่ ีอยูก อนกบั เทคโนโลยใี หม วาจะชว ยเพิม่ ความสามารถ
ในการเรยี นรูของพนักงานไดม้ัย แลวนำเทคโนโลยใี หมไ ปเติมเตม็ ในสว นไหนไดบาง

2. ขอมลู ตา ง ๆ ท่ีเราไดมาจากการจดั การพฒั นาพนกั งาน จะเปน การชวยผบู ริหารในการตัดสินใจ
ในการลงทนุ เพอื่ พฒั นาพนักงาน คือจะเปนคา ใชจ ายในการลงทุนขององคกร ถาเราเขา ใจและนำไปพัฒนา
ก็จะเหน็ คุณคาของประโยชนท ่จี ะนำมาใช สามารถบอกใหองคกรทราบในเร่ืองการพฒั นาพนกั งานไดอยา งไร

3. การวางแผนท่ีจะสรางและพัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสทิ ธภิ าพ เราตอ งคำนงึ ถงึ วัตถปุ ระสงค
ในการเรยี น งบประมาณ ระยะเวลา และเพ่ือประโยชนสูงสุดของการพัฒนาพนักงาน สามารถท่จี ะทำใหเ ทคโนโลยี
แตล ะประเภทสามารถนำไปปรับใชไดเหมาะสมกบั องคกร

แหลงอางองิ

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B
8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8
%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

https://sites.google.com/site/kanoishi074/kar-chi-thekhnoloyi-sarsnthes
https://sites.google.com/site/karsammna/khana/sarbay/bth-thi-1-khwam-ru-thawpi-
keiyw-kab-kar-sammna/khwam-hmay-khxng-kar-sammna
http://elearning.psru.ac.th/courses/185/Lesson1.pdf
https://fineart.msu.ac.th/edocuments/myfile/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E
0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0
%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B2.pdf
http://www.elfar.ssru.ac.th/panuwad_ka/pluginfile.php/30/course/summary/%E0%B8%8
1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B1
%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B2.pdf
https://www.stou.ac.th/study/sumrit/3-60/page4-3-
60.html?fbclid=IwAR3BNu3P5huB6R2SWZFe_3JnfXFJh09e5rTqKIpITg9WoyOmWYiEHv5AY_I

จดั ทำโดย
นางสาวสุวกิ า อนิ ทรสงวน
แผนกการจัดการสำนกั งาน


Click to View FlipBook Version