The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บท11 ชีวะ

บท11 ชีวะ

UNIT 11

PHOTOSYNTHESIS

2020

PREPARED BY

JIRAWAT MEETHAMAYUT

PHOTOSYNTHESIS PAGE 01

LIGHT REACTION

ปฏิกิริยาแสง

ปฏิกิริยาทีพืชดูดกลืนแสงไว้
ในคลอโรพลาสต์และเปลียน
พลังงานแสงให้เปนพลังงาน

เคมีในรูปของ
ATP และ NADPH ทีพืช

สามารถนาํ ไปใช้ต่อได้

PHOTOSYNTHESIS PAGE 02

CARBOXYLATION

คาร์บอกซิเลชัน

เปนปฏิกิริยาการรวมตัวระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์กับRuBP

เกิดเปนPGAขึน 2 โมเลกุล

ปฏิกิริยาจะใช้เอนไซม์รูบิสโก (Rubisco enzyme) หรือ

RuBP Carboxylase เร่งเริมต้นด้วยสารตังต้น คือ RuBP ซึงเปนนาํ ตาลทีมี

คาร์บอน 5 อะตอม และหมู่ฟอสเฟต 2 หมู่

จะเข้ารวมตัวกับ CO2 ได้เปนสารประกอบใหม่ทีมีคาร์บอน 6 อะตอม

(Keto-acid) แต่สารนีจะไม่อยู่ตัวจะสลายไปเปน PGA

2 โมเลกุล ซึงแต่ละโมเลกุลของ PGA จะมีคาร์บอน

3 อะตอม และฟอสเฟต 1 หมู่

PGA นีจึงถือว่าเปนสารประกอบอินทรีย์ทีอยู่ตัวชนิดแรกในการตรึง

คาร์บอนไดออกไซด์

ถ้าเริมจาก RuBP 6 โมเลกุล รวมตัวกับ CO2 6 โมเลกุล

จะได้ PGA 12 โมเลกุล ดังสมการ 6RuBP + 6CO2 12PGAL

PHOTOSYNTHESIS PAGE 03

CARBON FIXATION

การตึงคาร์บอน

รู้จักกันในอีกชือหนึงว่า Calvin Cycle ซึงเปน
ปฏิกิริยาทีนาํ พลังงานจาก ATP และ NADPH ทีได้
จากปฏิกิริยาทีต้องใช้แสง มาใช้ในการสร้างโมเลกุล
ของสารอินทรีย์จากสารอนินทรีย์ สารอินทรีย์เหล่านี
เองเปนต้นกําเนิดให้เกิดการนาํ พลังงานทีเก็บไว้ใน
โมเลกุลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ของพืชต่อไป รวม
ทังการสร้างสารชนิดอืนๆ เกิดการเจริญเติบโต
ตลอดจนเปนแหล่งอาหารของผู้บริโภคลําดับถัดขึนไป

PHOTOSYNTHESIS PAGE 04

REDUCTION

การรีดิวซ์

เปนปฏิกิริยาทีมีการเปลียนแปลง หรือมีการรีดิวซ์
(Reduce) PGA ให้เปนPGAL (Phosphoglyceraldehyde)
โดยอาศัยสารทีให้พลังงานสูง ATP และตัวรีดิวซ์ (Reducer
หรือ Reductant) คือ NADPH + H+ ทีได้จากจากปฏิกิริยาที
ใช้แสง เรียกปฏิกิริยาขันตอนนีว่า รีดักชัน (Reduction)
PGAL 1 โมเลกุล ประกอบด้วยคาร์บอน 3 อะตอม และฟอสเฟต
หมู่ ดังนันเมือเริมจาก PGA 12 โมเลกุลจึงได้เปน PGAL 12
โมเลกุล ดังสมการ 12PGA + 12ATP + 12NADPH + H+
12PGAL + 12ADP + 12Pi + 12NADP+

PHOTOSYNTHESIS PAGE 05

CHLOROPHYLL

คลอโรฟลด์

เปนสารสีทีมีสีเขียว พบในพืช สาหร่าย และไซยาโน
แบคทีเรีย จาํ แนกได้หลายชนิดโดยชนิดทีพบในพืชและสาหร่าย
สีเขียว คือ คลอโรฟลล์เอ และคลอโรฟลล์บี

PHOTOSYNTHESIS PAGE 06

XANTHOPHYLL

เเซนโทฟลล์

เดิมเรียก ฟลโลแซนทิน (phylloxanthin)
เปนรงควัตถุสีเหลืองทีพบในธรรมชาติ เปนหนึงใน
สารกลุ่มแคโรทีนอยด์ มีสูตรเคมีคือ C40H56O2

PHOTOSYNTHESIS PAGE 07

CAROTENOID

แคโรทีนอยด์

เปนสารสีทีมีสีเหลืองส้มจนถึงส้มเเดง
พบในสิงมีชีวิตทุกชนิดทีสังคราะห์ด้วยแสงได้
จาํ แนกได้เปน 2 ชนิด คือ แคโรทีน และแซนโทฟลล์

PHOTOSYNTHESIS PAGE 08

CAROTENE

แคโรทีน

แคโรทีนเปนสารโมเลกุลใหญ่มีสูตรทางเคมี
C40H56 และมีคุณสมบัติเปนโปรวิตามินเอ
(provitaminA) คือเมือแคโรทีนแตกตัวจะได้
วิตามินเอ ปฏิกิริยานีจะเกิดขึนภายในตับ

PHOTOSYNTHESIS PAGE 09

OUTER MEMBRANE

เยือหุ้มชันนอก

บทบาทหน้าทีของ outer membrane
คือ ช่วยปองกันเซลล์แบคทีเรียโดยเฉพาะแบคทีเรียก่อ
โรคจากกระบวนการฟาโกไซโทซิสของเซลล์ให้อาศัย รวม
ถึงมีส่วนช่วยให้เซลล์ทนต่อการทําลายโดยสารปฏิชีวนะ
(antibiotics) สารซักฟอก (detergents) โลหะหนัก
(heavy metals) สี (dyes) และ
digestive enzymes

PHOTOSYNTHESIS PAGE 10

INNER MEMBRANE

เยือหุ้มชันใน

เยือหุ้มชันใน (innermembrane) ผนังเยือ
หุ้มจะพับเปนรอยจีบยืนเข้าไปข้างใน เรียกว่า
คริสตี (cristae) ห่อหุ้มของเหลวทีเรียกว่า
แมทริกซ์ (matrix)ไว้

PHOTOSYNTHESIS PAGE 11

STROMA

สโตรมา

คลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยเยือหุ้ม
2ชัน ภายในมีของเหลวเรียกว่า สโตรมา
มีเอนไซม์ทีจาํ เปนสาํ หรับกระบวนการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์ด้วยแสง

PHOTOSYNTHESIS PAGE 12

GRANUM

กรานุม

ไทลาคอยด์จาํ นวนมากมีการ
จัดเรียงตัวโดยวางซ้อนกันเปนตัง
เรียกว่า กรานุม (Granum) แต่ละ
คลอโรพลาสต์มี 40-60 การนุม

PHOTOSYNTHESIS PAGE 13

THYLAKOIDS

ไทลาคอยด์

เปนโครงสร้างทีใช้รับพลังงานจากแสงเพือ
ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง เปนอวัยวะย่อยที
สร้างขึนจากส่วนหนึงของเยือหุ้มชันในของคลอ
โรพลาสต์

PHOTOSYNTHESIS PAGE 14

STROMA LAMELLA

สโตรมา ลาเมลลา

ระหว่างกรานุมมีเยือทีเชือมโยง
แต่ละกรานุมไว้ เรียกว่าสโตรมาลา
เมลลา (Stroma lamella)

PHOTOSYNTHESIS PAGE 15

LUMEN

ลูเมน

ไทลาคอยด์มีลักษณะ
เปนถุงมีช่องว่างเล็กๆ เรียก
ว่า ลูเมน (lumen)

E-BOOK OF JIRAWAT

BIOLOGY HOMEWORK

It would be impossible to In 1782 it was demonstrated that the
overestimate the importance of combustion-supporting gas (oxygen)
photosynthesis in the maintenance of was formed at the expense of another
life on Earth. If photosynthesis gas, or “fixed air,” which had been
ceased, there would soon be little identified the year before as carbon
food or other organic matter on Earth. dioxide. Gas-exchange experiments in
Most organisms would disappear, and 1804 showed that the gain in weight of
in time Earth’s atmosphere would a plant grown in a carefully weighed
become nearly devoid of gaseous pot resulted from the uptake of
oxygen. The only organisms able to carbon, which came entirely from
exist under such conditions would be absorbed carbon dioxide, and water
the chemosynthetic bacteria, which taken up by plant roots; the balance is
can utilize the chemical energy of oxygen, released back to the
certain inorganic compounds and thus atmosphere. Almost half a century
are not dependent on the conversion passed before the concept of chemical
of light energy. energy had developed sufficiently to
permit the discovery (in 1845) that
light energy from the sun is stored as
chemical energy in products formed
during photosynthesis.


Click to View FlipBook Version