ระเบียบการและข้อบังคบั กองทุนหมู่บ้าน ๑๘
ชุมนุมสูง
ระเบียบการและขอ้ บงั คบั
กองทนุ หมูบ่ า้ น
บ้านชมุ นมุ สูง
ม.๗ ต.ท่งุ ควายกนิ อ.แกลง จ.ระยอง
พ.ศ. ๒๕๔๔
ฉบบั แก้ไขและเพ่ิมเติมข้อบงั คบั
คร้ังท่ี ๑๕ พ.ศ. ๒๕๖๔
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๗
สูง
สารบัญ
หมวด หน้า
หมวด ๑ ข้อความทวั่ ไป ๑
หมวด ๒ วตั ถปุ ระสงค์ ๒
หมวด ๓ เงินและทรพั ยส์ ินของกองทนุ ๓
หมวด ๔ สมาชิกภาพและการขาดสมาชิกภาพ ๓
หมวด ๕ เงินค่าห้นุ ค่าธรรมเนียม และสจั จะออมทรพั ย์ ๕
หมวด ๖ สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก ๖
หมวด ๗ คณะกรรมการ ๖
หมวด ๘ การก้ยู ืมและหลกั ประกนั การก้ยู มื ๑๑
หมวด ๙ การเงิน การบญั ชี และการจดั สรรผลกาไรประจาปี ๑๔
หมวด ๑๐ การประชุมประจาปี ๑๕
บทเฉพาะกาล ๑๖
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑
สงู
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทุนหมบู่ า้ น
บา้ นชมุ นมุ สงู ม.๗ ต.ทงุ่ ควายกนิ อ.แกลง จ.ระยอง
พ.ศ. ๒๕๔๔
แก้ไขและเพิ่มเติมขอ้ บงั คบั ครงั้ ที่ ๑๕ พ.ศ. ๒๕๖๔
เพ่อื ให้การบรหิ ารจดั การกองทุนหมู่บ้านชุมนุมสูง ม.๗ ต.ทุ่งควายกนิ อ.แกลง จ.ระยอง ซ่งึ
จดั ตงั้ ขน้ึ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ และจดทะเบยี นเป็นนิตบิ ุคคลตามพระราชบญั ญตั กิ องทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมอื ง
แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ เลขท่ี ๐๕๗/๒๕๕๐ จดั ตงั้ ขน้ึ เพ่อื เป็นแหล่งเงนิ ทุนหมนุ เวยี นของหมบู่ า้ น บรกิ ารรบั ฝาก
เงนิ และบรกิ ารเงนิ กใู้ หแ้ ก่สมาชกิ และจดั สวสั ดกิ ารดา้ นต่างๆใหก้ บั สมาชกิ ในหมบู่ า้ นเป็นไปดว้ ยความคลอ่ งตวั มี
ประสิทธิภาพ และเป็นไปตามหลกั การของ พระราชบญั ญตั ิกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๗ / ระเบยี บคณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาตวิ ่าด้วยการจดั ตงั้ และบรหิ ารกองทุน
หม่บู า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ /ระเบยี บคณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแหง่ ชาติ
ว่าด้วยการจดั ตงั้ และบรหิ ารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาติ ( ฉบบั ท่ี ๒ )พ.ศ. ๒๕๕๒ / ระเบยี บ
คณะกรรมการกองทุนหมูบ่ ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาตวิ ่าด้วยการจดั ตงั้ และบรหิ ารกองทุนหมู่บ้านและชุมชน
เมอื งแห่งชาติ ( ฉบบั ท่ี ๓ )พ.ศ. ๒๕๕๓ จงึ เหน็ สมควรกาหนดระเบยี บเกย่ี วกบั การดาเนนิ งานของกองทนุ ดงั น้ี
หมวด ๑
ข้อความทวั่ ไป
ข้อ ๑. ระเบียบน้ีเรยี กว่า “ ระเบียบการและขอ้ บงั คบั กองทุนหมู่บ้านชุมนุมสูง ม.๗ ต.ทุ่งควายกนิ
อ.แกลง จ.ระยอง พ.ศ.๒๕๔๔ ฉบบั แกไ้ ขและเพม่ิ เตมิ ขอ้ บงั คบั ครงั้ ท่ี ๑๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ ”
ขอ้ ๒. สานกั งานกองทุน ตงั้ อย่เู ลขท่ี ๙๒/๓ หมทู่ ่ี ๗ ต.ทงุ่ ควายกนิ อ.แกลง จ.ระยอง ๒๑๑๑๐
ข้อ ๓. ระเบยี บน้ใี หใ้ ชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ท่ปี ระกาศ เป็นตน้ ไป จนกวา่ จะมกี ารเปลย่ี นแปลง
ขอ้ ๔. .ในระเบยี บน้ี
“ กองทนุ หมบู่ า้ น ” หมายความวา่ กองทุนหมบู่ า้ นชมุ นุมสงู
“ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการกองทนุ หมบู่ า้ นชุมนุมสงู
“ ประธานกรรมการ ” หมายความวา่ ประธานกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นชมุ นุมสงู
“ สานกั งาน ” หมายความว่า สานกั งานกองทุนหมบู่ า้ นชุมนุมสงู
“ หุ้น ” หมายความว่า การออมทรพั ย์ในรูปแบบหน่ึงของรบั สมาชิกเข้ากองทุน ในกรณีท่ี
กองทุนมกี าไรสุทธจิ ากบญั ชที ่ี ๒ กองทุนมหี น้าทต่ี อ้ งจ่ายเงนิ ปันผลตามทก่ี าหนดไวใ้ นระเบยี บน้ใี หก้ บั
สมาชกิ ทถ่ี อื หนุ้ อยตู่ ามสดั สว่ นจานวนหนุ้ ทส่ี มาชกิ มี
“ เงินสจั จะ ” หมายความว่า เงนิ ท่ีสมาชิกตกลงท่ีจะฝากไว้กบั กองทุนเป็นรายเดือนตามท่ี
กาหนดไวใ้ นระเบยี บน้ี
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๒
สงู
“ เงนิ รบั ฝาก ” หมายความวา่ เงนิ รบั ฝากทก่ี องทนุ หรอื สถาบนั การเงนิ ชุมชนทก่ี องทุนจดั ตงั้ ขน้ึ
โดยกองทนุ มหี น้าทต่ี อ้ งจา่ ยดอกเบย้ี ใหก้ บั ผฝู้ ากตามทก่ี องทุนหรอื สถาบนั การเงนิ ชมุ ชนทก่ี องทนุ จดั ตงั้
ขน้ึ ประกาศไว้
“ บญั ชกี องทุนหมบู่ า้ น ” หมายความว่า บญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ยภ์ ายใตช้ ่อื กองทุนหมบู่ า้ นบา้ น
ชมุ นุมสงู ม.๗ หรอื เรยี กว่าบญั ชี ๑ ซง่ึ กองทนุ หมบู่ า้ นเปิดไวร้ องรบั เงนิ จดั สรรจากรฐั บาล
“ บญั ชเี งนิ สะสมหรอื เงนิ ออม ” หมายความวา่ บญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ยภ์ ายใตช้ ่อื เงนิ ค่าหนุ้ และ
การออมกองทุนหมู่บ้านบา้ นชุมนุมสูง ม.๗ หรอื เรยี กว่าบญั ชี ๒ ซ่งึ กองทุนหม่บู ้านเปิดไวร้ องรบั เงนิ
ฝากประเภทอ่นื ๆทน่ี อกเหนือจากเงนิ จดั สรรจากรฐั บาล
“ บญั ชเี งนิ กูย้ มื ” หมายความว่า บญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ย์ภายใต้ช่อื ....................................
หรอื เรยี กว่าบญั ชี ๓ ซง่ึ กองทุนหมบู่ า้ นเปิดไวร้ องรบั เงนิ ทก่ี องทนุ อาจกูย้ มื จากสถาบนั การเงนิ อน่ื
“ บัญชีสถาบันการเงินชุมชน ” หมายความว่า บัญชีเงินฝากออมทรพั ย์ภายใต้ช่อื สถาบัน
การเงนิ ชุมชนบา้ นชุมนุมสูง หรอื เรยี กว่าบญั ชี ๔ ซง่ึ กองทุนหมู่บา้ นเปิดไวร้ องรบั เงนิ ฝากทวั่ ไปในงาน
สว่ นของสถาบนั การเงนิ ชุมชน
“ บญั ชคี ่าใช้จ่ายทวั่ ไป ” หมายความว่า บญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ยภ์ ายใตช้ ่อื เงนิ ค่าสมาชกิ แรก
เข้ากองทุนหมู่บ้านบ้านชุมนุมสูง ม.๗ หรอื เรยี กว่าบญั ชี ๕ ซ่งึ กองทุนหมู่บ้านเปิดไว้รองรบั เงนิ เงนิ
อดุ หนุน เงนิ บรจิ าค ค่าธรรมเนยี ม หรอื เงนิ อน่ื ๆ ทก่ี องทนุ มี
“ มตเิ วยี น ” หมายความว่า วธิ เี สนอมตจิ ากสมาชกิ เพ่อื ขอคาวนิ ิจฉัยช้ขี าดจากสมาชกิ หรอื
กรรมการเป็นรายบคุ คลโดยไมต่ อ้ งประชมุ
“ สถาบันการเงินชุมชน ” หมายความว่า สถาบันการเงินชุมชนบ้านชุมนุมสูงท่ีตงั้ ข้นึ โดย
กองทุนหมู่บ้านชุมนุมสูง บรหิ ารโดยคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านชุมนุมสูง โดยการสนับสนุนจาก
กองทุนหมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแห่งชาติ
“ สวสั ดกิ าร ” หมายความว่า การดาเนินกจิ กรรมหรอื กจิ การเกย่ี วกบั การจดั หาหรอื การใหแ้ ก่
สมาชกิ ในยาม เกดิ แก่ เจบ็ ตาย โดยไมไ่ ดม้ ุง่ แสวงหาผลประโยชน์หรอื แสวงหากาไร
หมวด ๒
วตั ถปุ ระสงค์
ข้อ ๕. วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั ตงั้ กองทุน
( ๑ ) เป็นแหลง่ เงนิ ทุนหมุนเวยี นสาหรบั การลงทุนเพอ่ื การพฒั นาอาชพี สรา้ งงาน สรา้ งรายได้
เพม่ิ รายได้ และลดรายจ่าย หรอื สาหรบั การสง่ เสรมิ และพฒั นาไปสกู่ ารสรา้ งสวสั ดภิ าพ สวสั ดกิ ารหรอื
ประโยชน์สว่ นรวมอน่ื ใดใหแ้ กป่ ระชาชนในหมบู่ า้ น
( ๒ ) เป็นแหล่งเงนิ ทุนหมุนเวยี นเพ่อื บรรเทาความเดือดร้อนเร่งด่วนสาหรบั ประชาชนใน
หมบู่ า้ น
( ๓ ) รบั ฝากเงนิ จากสมาชกิ และจดั หาทนุ จากแหลง่ เงนิ ทนุ อน่ื เพอ่ื ดาเนินการตามวตั ถปุ ระสงค์
( ๔ ) ใหก้ ูย้ มื เงนิ แก่กองทุนหมบู่ า้ นอน่ื เพอ่ื ประโยชน์ในการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกจิ
ของหมบู่ า้ น
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๓
สงู
( ๕ ) กระทาการใดๆเพอ่ื พฒั นาองคค์ วามรู้ คุณภาพชวี ติ สวสั ดภิ าพ และสวสั ดกิ ารของสมาชกิ
หรือประชาชนในหมู่บ้าน รวมทงั้ เสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางด้านเศรษฐกิจและสงั คมของกองทุน
หมบู่ า้ นตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกองทนุ หมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแห่งชาตกิ าหนด
หมวด ๓
เงินและทรพั ยส์ ินของกองทุน
ขอ้ ๖. กองทนุ อาจประกอบดว้ ยเงนิ และทรพั ยส์ นิ ดงั น้ี
( ๑ ) เงนิ ทค่ี ณะกรรมการกองทนุ หมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาตจิ ดั สรรให้
( ๒ ) เงนิ อุดหนุนจากรฐั บาล
( ๓ ) เงินท่ีสมาชิกนามาลงหุ้นหรอื ฝากไว้กบั กองทุนหมู่บ้านตามระเบียบท่ีคณะกรรมการ
กาหนด
( ๔ ) เงนิ หรอื ทรพั ย์สนิ อ่นื ทก่ี องทุนหมู่บา้ นไดร้ บั บรจิ าคโดยปราศจากเง่อื นไขหรอื ขอ้ ผูกพนั
ใดๆ
( ๕ ) ดอกผล รายได้ หรอื ผลประโยชน์ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ของกองทนุ หมบู่ า้ น
หมวด ๔
สมาชิกภาพและการขาดสมาชิกภาพ
ขอ้ ๗. คุณสมบตั ขิ องสมาชกิ
( ๑ ) ต้องเป็นผมู้ สี ญั ชาตไิ ทย มชี ่อื อยู่ในทะเบยี นบา้ น ม. ๗ ต.ทุ่งควายกนิ อ.แกลง จ.ระยอง
มาอยา่ งน้อยไมต่ ่ากว่า ๑ ปี
( ๒ ) มอี ายุไมต่ ่ากวา่ ๒๐ ปีและมอี ายุไมเ่ กนิ ๗๐ ปีในวนั ทส่ี มคั รเขา้ เป็นสมาชกิ
( ๓ ) ตอ้ งเป็นผมู้ นี ิสยั อนั ดงี าม มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เหน็ ชอบดว้ ยกบั หลกั การของกองทุนและ
สนใจทจ่ี ะเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมของกองทุน
( ๔ ) ตอ้ งเป็นผมู้ คี วามพรอ้ มทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ของกองทนุ
( ๕ ) ตอ้ งเป็นผทู้ ค่ี ณะกรรมการกองทนุ มมี ตเิ หน็ ชอบใหร้ บั เขา้ เป็นสมาชกิ
( ๖ ) ตอ้ งเป็นผมู้ คี วามเสยี สละ เหน็ แก่ประโยชน์ของกองทนุ เป็นหลกั
( ๗ ) เมอ่ื เขา้ เป็นสมาชกิ ตอ้ งถอื หนุ้ กบั กองทนุ ไมน่ ้อยกวา่ ๕ หุน้ ( ๑๐๐ บาท )
( ๘ ) เมอ่ื เป็นสมาชกิ ตอ้ งสง่ เงนิ ฝากสจั จะออมทรพั ยอ์ ย่างสม่าเสมอตามระเบยี บของกองทนุ
( ๙ ) บุคคลใดท่ฝี ากเงนิ กบั กองทุนแต่มไิ ดถ้ อื หุ้น ไม่ถอื ว่าเป็นสมาชกิ ของกองทุน เป็นเพยี ง
ผใู้ ชบ้ รกิ ารสถาบนั การเงนิ ชุมชนของกองทนุ เท่านนั้
ขอ้ ๘. การสมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ
( ๑ ) ผมู้ คี ุณสมบตั คิ รบและพรอ้ มทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขอ้ ๗ ใหย้ ่นื ความจานงขอสมคั รเขา้
เป็นสมาชกิ ของกองทุนต่อคณะกรรมการกองทุน
( ๒ ) กองทนุ จะเปิดรบั สมคั รในทุกวนั ทาการ
( ๓ ) ใหผ้ สู้ มคั รชาระเงนิ ค่าหุน้ และคา่ ธรรมเนียมอ่นื ๆทท่ี างกองทุนเรยี กเกบ็ โดยใหช้ าระเงนิ
ใหก้ องทุนในวนั ทส่ี มคั รเขา้ เป็นสมาชกิ
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๔
( ๔ ) คณะกรรมการกองทุนจะเป็นผพู้ จิ ารณาร่วมกนั ว่าจะเหน็ ควรรบั ผใู้ ดเขา้ เป็นสมาชกิ สดูงว้ ย
ความโปรง่ ใส บรสิ ทุ ธิ ์ ยุตธิ รรม
( ๕ ) หากผูใ้ ดท่คี ณะกรรมการกองทุนพจิ ารณาแลว้ เหน็ ว่าไม่ควรให้รบั เขา้ เป็นสมาชกิ ทาง
คณะกรรมการกองทนุ จะแจง้ ใหผ้ นู้ ัน้ ทราบถงึ เหตุผลทไ่ี มร่ บั เขา้ เป็นสมาชกิ ของกองทุนและใหม้ ารบั เงนิ
ทท่ี างกองทุนเรยี กเกบ็ ไวใ้ นวนั ทส่ี มคั รคนื ภายใน ๗ วนั
ข้อ ๙. การขาด หรอื พน้ จากสมาชกิ ภาพของสมาชกิ ดว้ ยเหตุตา่ งๆดงั น้ี
( ๑ ) ตาย
( ๒ ) ลาออก และไดร้ บั การอนุมตั ใิ หล้ าออกจากคณะกรรมการของกองทนุ
( ๓ ) วกิ ลจรติ จติ ฟัน่ เฟือน หรอื ถกู ศาลสงั ่ ใหเ้ ป็นคนไรค้ วามสามารถ
( ๔ ) ทป่ี ระชมุ ใหญ่สมาชกิ มมี ตใิ หอ้ อกดว้ ยคะแนนเสยี งเกนิ กว่า ๒ ใน ๓ ของสมาชกิ ทเ่ี ขา้ ร่วม
ประชมุ
( ๕ ) จงใจฝ่ าฝืนระเบียบของกองทุน หรอื แสดงตนเป็นปฏปิ ักษ์ ไม่ให้ความช่วยเหลอื หรอื
รว่ มมอื กบั กองทนุ ไมว่ า่ ดว้ ยเหตใุ ด
( ๖ ) มเี จตนา จงใจปิดบงั ขอ้ เทจ็ จรงิ ต่างๆ อนั สมควรเปิดเผยแกค่ ณะกรรมการกองทุน
( ๗ ) นาเงนิ ทุนหรอื ทรพั ย์สนิ ท่กี องทุนให้ยมื หรอื ใช้เพ่อื การลงทุนไปใช้ในหนทางท่ผี ดิ หรอื
ละเมดิ จุดประสงคท์ ร่ี ะบุไวใ้ นสญั ญากบั กองทนุ
( ๘ ) ไมช่ าระคนื เงนิ กูแ้ ก่กองทนุ ตามเวลาทต่ี กลงในสญั ญา และคณะกรรมการมมี ตใิ หอ้ อกจาก
การเป็นสมาชกิ
( ๙ ) ไมต่ ดิ ตอ่ หรอื ไมร่ ว่ มมอื ในกจิ กรรมต่างๆของกองทุนตดิ ต่อกนั เกนิ ๕ ปีขน้ึ ไป โดยนบั จาก
วนั ท่สี ่งเงนิ สจั จะงวดหลงั สุด การเขา้ ร่วมประชุมครงั้ หลงั สุดหรอื การหลุดพน้ ภาระหน้ีสนิ หรอื การค้า
ประกนั ครงั้ หลงั สดุ โดยใหเ้ รมิ่ นบั จากวนั ทส่ี มาชกิ มาตดิ ตอ่ กบั กองทุนครงั้ สุดทา้ ยหรอื มกี จิ กรรมร่วมกบั
กองทุนครงั้ สดุ ทา้ ย ( ใหค้ ณะกรรมการแจง้ เป็นหนงั สอื ใหส้ มาชกิ ทราบลว่ งหน้าอย่างน้อย ๙๐ วนั กอ่ น
มมี ตใิ หอ้ อก )
( ๑๐ ) ย้ายท่อี ยู่หรอื ย้ายสาเนาทะเบยี นบ้านออกนอกเขตพ้นื ทห่ี มู่บ้าน ม. ๗ ต.ทุ่งควายกนิ
อ.แกลง จ.ระยอง
( ๑๑ ) ขาดคณุ สมบตั ติ ามระเบยี บขอ้ ๗ วา่ ดว้ ยคุณสมบตั ขิ องสมาชกิ
ข้อ ๑๐. สมาชกิ ผู้ไม่มหี น้ีสนิ หรอื ภาระผูกพนั ใดๆกบั กองทุน ทงั้ ในฐานะผูก้ ู้หรอื ผู้ค้าประกนั อาจขอ
ลาออกจากการเป็นสมาชกิ ของกองทุนได้ โดยแสดงความจานงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการกองทุนเพ่อื
พจิ ารณาอนุมตั ิ และใหข้ าดจากสมาชกิ ภาพในวนั ทค่ี ณะกรรมการกองทนุ ดาเนนิ การอนุมตั ิ
ข้อ ๑๑. ใหค้ ณะกรรมการจดั การคนื เงนิ ค่าหนุ้ เงนิ สจั จะออมทรพั ย์ หรอื ผลประโยชน์อน่ื ใดทส่ี มาชกิ
ผลู้ าออกมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ภายใน ๓๐ วนั นบั จากวนั ทไ่ี ดร้ บั อนุมตั ใิ ห้ลาออก
ข้อ ๑๒. หากสมาชกิ พน้ จากสมาชกิ ภาพดว้ ยประการใดๆกต็ าม ใหค้ ณะกรรมการจดั การคนื เงนิ ค่าหนุ้
เงนิ สจั จะออมทรพั ย์ หรอื ผลประโยชน์อ่นื ใดทส่ี มาชกิ สมควรไดร้ บั คนื ใหแ้ ก่ตวั สมาชกิ หรอื ค่สู มรสหรอื ทายาท
หรอื ผรู้ บั สทิ ธปิ ระโยชน์แตท่ งั้ น้ตี อ้ งภายหลงั จากทไ่ี มม่ หี น้สี นิ หรอื ภาระผกู พนั ใดๆกบั กองทนุ แลว้
เมอ่ื พน้ ภาระผกู พนั ใดๆกบั ทางกองทุนแลว้ ปรากฏว่าไม่มผี ใู้ ดแสดงตนเขา้ รบั สทิ ธปิ ระโยชน์คนื ภายใน
๑๘๐ วนั นบั แต่วนั ทพ่ี น้ ภาระผกู พนั ใหท้ รพั ยส์ นิ นนั้ ตกเป็นของกองทนุ หรอื เป็นไปตามทค่ี ณะกรรมการเหน็ ควร
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๕
สมาชกิ ทถ่ี ูกไล่โดยเน่ืองจากทท่ี าความเสยี หายดา้ นการเงนิ ใหก้ บั กองทุน กองทุนไม่จาเป็นตอ้ งเสงนิ งู คา่
หุ้น เงนิ สจั จะออมทรพั ย์ หรอื ผลประโยชน์อ่นื ใดคนื ใหก้ บั สมาชกิ ท่ที าท่ถี ูกไล่ออกให้ทรพั ยส์ นิ นัน้ ตกเป็นของ
กองทุนหรอื เป็นไปตามทค่ี ณะกรรมการเหน็ ควร
ข้อ ๑๓. หากสมาชกิ ท่ลี าออกประสงคท์ ่จี ะกลบั เข้ามาเป็นสมาชกิ ใหม่อกี ให้เว้นระยะไว้อย่างน้อย
๒ ปี นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั อนุมตั ใิ หล้ าออก และขนั้ ตอนการสมคั รใหก้ ระทาเช่นสมาชกิ ใหมท่ วั่ ไป
ข้อ ๑๔. หากสมาชกิ ขาดจากสมาชกิ ภาพดว้ ยเหตุตามระเบยี บขอ้ ๙ ( ๔ ) ( ๕ ) ( ๖ ) ( ๗ ) ( ๘ ) ทาง
กองทุนจะไมอ่ นุญาตใหเ้ ขา้ เป็นสมาชกิ อกี เป็นระยะเวลาอย่างน้อย ๒ ปี และการรบั เขา้ เป็นสมาชกิ ครงั้ ใหม่
จะต้องขอมติเห็นชอบจากท่ปี ระชุมใหญ่คะแนนเสยี งเกินกว่า ๒ ใน ๓ ของสมาชกิ ท่ีเข้าร่วมประชุม จึงจะ
สามารถเขา้ เป็นสมาชกิ ได้
หมวด ๕
เงินค่าห้นุ ค่าธรรมเนียม และสจั จะออมทรพั ย์
ข้อ ๑๕. การคดิ ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ คณะกรรมการกองทุนจะคดิ ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ กบั ผทู้ ส่ี มคั ร
เป็นสมาชกิ รายละ ๕๐ บาท โดยคณะกรรมการจะต้องจดั ให้สมาชกิ ใหม่ได้รบั สมุดสจั จะออมทรพั ย์ ๑ เล่ม
และระเบยี บการและขอ้ บงั คบั ของกองทนุ จานวน ๑ ฉบบั
ข้อ ๑๖. การคดิ ค่าหุน้ หุน้ ๆ หน่ึงมมี ลู ค่า ๒๐ บาท สมาชกิ แรกเขา้ จะต้องถอื หุน้ อย่างน้อย ๑๐๐ บาท
( ๕ หุน้ )และสามารถเพมิ่ หุน้ ไดป้ ีละ ๑ ครงั้ ในช่วงเดอื นมกราคมของทุกปี แต่การถอื หุน้ ของสมาชกิ แต่ละราย
จะถอื หนุ้ เกนิ กวา่ ๕ % ของจานวนหนุ้ ทงั้ หมดของกองทนุ ไมไ่ ด้ ยกเวน้ กรณีตามระเบยี บขอ้ ๑๗
กรณสี มาชกิ สมคั รใหม่ หากสมคั รในชว่ งเดอื นมกราคมของทกุ ปี ใหม้ สี ทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั เงนิ ปันผลจากกาไร
สทุ ธใิ นวนั สน้ิ ปีนนั้ ๆ หากพน้ กาหนดแลว้ ใหถ้ อื ว่าสมาชกิ ถอื หนุ้ ไมค่ รบ ๑ ปีไมม่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั เงนิ ปันผลในวนั สน้ิ ปี
ข้อ ๑๗. หากในภายหลงั ปรากฏว่าหุน้ ของกองทุนเคลอ่ื นไหวลดลงจนเป็นเหตใุ หอ้ าจมหี ุน้ ของสมาชกิ
รายหน่ึงรายใดมเี กนิ กว่า ๕ % ของจานวนหุน้ ทงั้ หมดของกองทุนโดยมไิ ดเ้ จตนา ใหส้ มาชกิ ผนู้ นั้ ถอื หุน้ ตอ่ ไป
ไดโ้ ดยมติ อ้ งทาการถอนหนุ้ ออก และไมถ่ อื วา่ การถอื หนุ้ นนั้ ขดั กบั ระเบยี บขอ้ ๑๖ โดยอนุโลม
ข้อ ๑๘. วธิ กี ารชาระค่าหนุ้ ใหส้ มาชกิ ชาระคา่ หนุ้ เป็นเงนิ เทา่ นนั้
ข้อ ๑๙. การฝากเงนิ สจั จะออมทรพั ยใ์ หส้ มาชกิ นาฝากกบั เหรญั ญกิ ของกองทุนทุกปี ปีละไม่น้อยกว่า
๖๐๐ บาท โดยสมาชกิ จะแบง่ ฝากปีละหลายครงั้ กไ็ ด้ แตต่ อ้ งฝากไมน่ ้อยกว่าครงั้ ละ ๕๐ บาท
ข้อ ๒๐. ดอกเบ้ยี เงนิ สจั จะออมทรพั ย์ ให้กองทุนจ่ายในอตั รารอ้ ยละ ๑ ต่อปี และดอกเบ้ยี ท่เี กดิ ขน้ึ
กองทุนจะคิดให้ในวนั ส้นิ ปีทางบญั ชขี องแต่ละรอบปี และกองทุนจะจ่ายดอกเบ้ียเป็นเงนิ สดให้กบั สมาชกิ
ภายใน ๓๐ วนั นบั จากสน้ิ ปีทางบญั ชี
ข้อ ๒๑. การถอนหุน้ ออกเพยี งบางส่วนหรอื ทงั้ หมดจะกระทาไดต้ ่อเม่อื สมาชกิ ขาดจากสมาชกิ ภาพ
และไมม่ ภี าระผกู พนั ใดๆกบั กองทนุ ทงั้ ในฐานะผกู้ หู้ รอื ผคู้ า้ ประกนั แลว้ เท่านนั้
ขอ้ ๒๒. สมาชกิ ถอนเงนิ สจั จะออมทรพั ยจ์ ะกระทาไดต้ อ่ เมอ่ื สมาชกิ ขาดจากสมาชกิ ภาพและไมม่ ภี าระ
ผูกพนั ใดๆกบั กองทุนทงั้ ในฐานะผูก้ ู้หรอื ผูค้ ้าประกนั แลว้ เท่านัน้ หรอื กองทุนอาจถอนออกเพ่อื ชาระหน้ีของ
สมาชกิ ตามมลู หน้ีทส่ี มาชกิ ผนู้ นั้ ตดิ คา้ งอย่กู บั กองทุน
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๖
สูง
หมวด ๖
สิทธิและหน้าท่ีของสมาชิก
ข้อ ๒๓. สมาชกิ มสี ทิ ธดิ งั ต่อไปน้ี
( ๑ ) ทาหนงั สอื รอ้ งขอตอ่ คณะกรรมการกองทุนใหเ้ รยี กประชุมใหญว่ สิ ามญั เพ่อื การใดการ
หน่ึงเมอ่ื ใดกไ็ ด้ โดยมสี มาชกิ อน่ื ร่วมลงชอ่ื ดว้ ยไมน่ ้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจานวนสมาชกิ ทงั้ หมด
( ๒ ) ขอตรวจสอบบญั ชแี ละเอกสารของกองทุน เพอ่ื ทราบการดาเนินงานของกองทนุ
( ๓ ) เขา้ ร่วมประชุมใหญ่ของกองทุนทุกครงั้ และมสี ทิ ธใิ นการลงคะแนนเสยี ง ๑ คะแนนเสยี ง
เทา่ กนั ทุกคนในการจดั ประชมุ ในแตล่ ะครงั้
( ๔ ) แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั กจิ กรรมและการดาเนินงานต่อคณะกรรมการกองทุนและ
มสี ทิ ธิเรยี กร้องให้ต่อคณะกรรมการกองทุนกระทาหรอื งดการกระทาในกิจกรรมอย่างหน่ึงอย่างใด
เพ่อื ประโยชน์ของกองทุนหรอื ป้องกนั ความเสยี หายอนั อาจเกดิ ขน้ึ กบั กองทุน แต่ทงั้ น้ีการร้องขอนนั้
จะต้องไม่ขดั กบั กฎหมาย ระเบยี บหรอื บงั บงั คบั อน่ื ใดของทางราชการ หรอื ระเบยี บหรอื บงั บงั คบั อน่ื ใด
ของคณะกรรมการกองทนุ หมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแห่งชาตกิ าหนดขน้ึ ในขณะนนั้
ขอ้ ๒๔. สมาชกิ มหี น้าทด่ี งั ตอ่ ไปน้ี
( ๑ ) ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื คาสงั ่ ของกองทนุ
( ๒ ) การยา้ ยทอ่ี ยู่ เปลย่ี นชอ่ื เปลย่ี นนามสกุลของสมาชกิ ให้แจง้ ต่อคณะกรรมการของกองทนุ
ภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วนั ยา้ ย เปลย่ี น หรอื แกไ้ ข เพอ่ื ทท่ี างกองทนุ จะไดแ้ กไ้ ขหลกั ฐานตา่ งๆในทะเบยี น
ใหถ้ ูกตอ้ ง
หมวด ๗
คณะกรรมการ
ข้อ ๒๕. ใหก้ องทุนหมบู่ า้ น มคี ณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นซง่ึ มาจากสมาชกิ โดยการคดั เลอื กกนั เองจาก
บุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถและมีความรับผิดชอบท่ีจะบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านเป็นท่ียอมรบั ของ
ประชาชนในหมบู่ า้ น ภายใตร้ ะบอบประชาธปิ ไตยจานวนไมน่ ้อยกว่า ๙ คน แตไ่ มเ่ กนิ ๑๕ คน
ขอ้ ๒๖. คุณสมบตั ขิ องคณะกรรมการกองทนุ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั แิ ละไมม่ ลี กั ษณะตอ้ งหา้ มดงั น้ี
( ๑ ) เป็นผู้ท่ีอาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ม.๗ ต.ทุ่งควายกิน อ.แกลง จ.ระยอง ติดต่อกันเป็น
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ก่อนวนั ทไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื ก และในวนั ได้รบั เลอื กต้องมชี ่อื อยู่ในทะเบยี น
บา้ นในเขต ม.๗ ต.ทงุ่ ควายกนิ อ.แกลง จ.ระยอง
( ๒ ) เป็นผู้บรรลุนิติภาวะโดยมีอายุ ๒๐ ปีบริบูรณ์หรือบรรลุนิติภาวะโดยการสมรสตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
( ๓ ) ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นหลกั ศาสนา มคี วามรบั ผดิ ชอบ เสยี สละ มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมชุมชน ไม่
ตดิ การพนนั ไม่เกย่ี วขอ้ งกบั สงิ่ เสพตดิ และไม่มปี ระวตั เิ สยี หายทางดา้ นการเงนิ ตลอดจนยดึ มนั่ ในการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมุข
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๗
( ๔ ) ไมเ่ ป็นบุคคลวกิ ลจรติ ทศ่ี าลสงั่ ใหเ้ ป็นคนไรค้ วามสามารถ หรอื เสมอื นคนไรค้ วามสาสมาูงรถ
หรอื บคุ คลลม้ ละลาย
( ๕ ) ไมเ่ คยไดร้ บั โทษจาคกุ โดยคาพพิ ากษาถงึ ทส่ี ุดใหจ้ าคุก เวน้ แตเ่ ป็นโทษสาหรบั ความผดิ
ทไ่ี ดก้ ระทาโดยประมาท หรอื ความผดิ ลหโุ ทษ
( ๖ ) ไม่เคยต้องคาพิพากษาถึงท่ีสุดว่ามคี วามผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการ ความผดิ ต่อ
ทรพั ยส์ นิ เวน้ ความผดิ ฐานทาใหเ้ สยี ทรพั ย์ หรอื บุกรกุ
( ๗ ) ไม่เคยถูกใหอ้ อก ปลดออก หรอื ไล่ออกจากราชการ องคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ หรอื
หน่วยงานรฐั วสิ าหกจิ เพราะกระทาความผดิ วนิ ัยร้ายแรงฐานทุจรติ ต่อหน้าท่ี หรอื สรา้ งความเสยี หาย
อยา่ งรา้ ยแรงแกท่ างราชการ องคก์ ร หรอื หน่วยงานทส่ี งั กดั
( ๘ ) ไมเ่ ป็นผทู้ เ่ี คยพน้ ตาแหน่งคณะกรรมการกองทนุ ตามระเบยี บขอ้ ๒๙ ( ๖ ) ( ๗ )
ข้อ ๒๗. คณะกรรมการกองทุนมวี าระการดารงตาแหน่งคราวละ ๒ ปี กรรมการกองทุนซ่งึ พน้ จาก
ตาแหน่งตามวาระอาจไดร้ บั การคดั เลอื กอกี ได้
เมอ่ื ครบกาหนดภายในระยะเวลาหน่งึ ปีนบั แตว่ นั ทค่ี ณะกรรมการกองทุนชุดแรกเขา้ รบั ตาแหน่ง
ใหก้ รรมการกองทุนจบั ฉลากออกเสยี จานวนกง่ึ หน่ึงของจานวนกรรมการทงั้ หมด
ในกรณีท่ีกรรมการกองทุนพ้นตาแหน่งตามวาระ ให้คณะกรรมการกองทุนประกอบด้วย
กรรมการทงั้ หมดเท่าทม่ี อี ยู่ ใหค้ ณะกรรมการกองทุนจดั ประชุมสมาชกิ เพอ่ื ใหม้ กี ารคดั เลอื กบุคคลจากสมาชกิ
เขา้ ดารงตาแหน่งแทนกรรมการกองทนุ ซง่ึ พน้ ตาแหน่งตามวาระภายในเวลา ๑๕ วนั
ข้อ ๒๘. วธิ กี ารเลอื กตงั้ กรรมการตามระเบยี บขอ้ ๒๕ ใหส้ มาชกิ ในทป่ี ระชมุ ใหญ่ยกมอื เสนอช่อื สมาชกิ
ทส่ี มควรไดร้ บั การเลอื กตงั้ และใหม้ สี มาชกิ อ่นื ในท่ปี ระชุมรบั รองอย่างน้อยสองคน โดยใหเ้ สนอช่อื ไปจนครบ
ตามจานวนตาแหน่งกรรมการท่วี ่าง หากไม่มสี มาชกิ ผูใ้ ดเสนอช่อื เพม่ิ เตมิ อกี ก็ให้ถือเป็นมตทิ ่ปี ระชุมใหญ่
รบั รองคณะกรรมการชุดทถ่ี ูกเสนอช่อื ดารงตาแหน่งเป็นคณะกรรมการกองทุน
ในกรณีท่ีสมาชิกเสนอช่อื กรรมการมากกว่าตาแหน่งท่ีว่าง ให้ประธานในท่ีประชุมขอมตทิ ่ี
ประชุม โดยการลงคะแนนเสยี ง การวนิ ิจฉัยช้ขี าดให้ถอื เสยี งขา้ งมากให้เป็นกรรมการกองทุนเรยี งลงไปหา
จานวนเสยี งทน่ี ้อยกวา่ จนครบตาแหน่งทว่ี า่ ง
เมอ่ื ทป่ี ระชุมใหญ่ไดค้ ณะกรรมการแลว้ ใหม้ อบอานาจใหค้ ณะกรรมการเลอื กตงั้ กนั เองในการ
ดารงตาแหน่งตา่ งๆ ในการทาหน้าทต่ี ามทร่ี ะบุไวร้ ะเบยี บการ
ข้อ ๒๙. คณะกรรมการกองทนุ มอี านาจหน้าทด่ี งั น้ี
( ๑ ) บริหารกองทุนหมู่บ้าน รวมทัง้ ตรวจสอบ กากับ ดูแล จัดสรรดอกผลรายได้หรือ
ผลประโยชน์ทเ่ี กดิ จากเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ของกองทนุ หมบู่ า้ น
( ๒ ) ออกประกาศ ระเบยี บ หรอื ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การบรหิ ารกองทุนหมบู่ า้ น
( ๓ ) จดั ตงั้ สานกั งานกองทนุ หมบู่ า้ น
( ๔ ) รบั สมาชกิ และจดั ทาทะเบยี นสมาชกิ
( ๕ ) จดั หาทุนจากแหล่งเงนิ ทุนตามประกาศทค่ี ณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมอื ง
แห่งชาตกิ าหนด
( ๖ ) พจิ ารณาเงนิ กูย้ มื ใหแ้ กส่ มาชกิ หรอื กองทุนหมบู่ า้ นอน่ื ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไข
ทค่ี ณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแห่งชาตกิ าหนด
( ๗ ) ทานิตกิ รรม สญั ญา หรอื ดาเนนิ การเกย่ี วกบั ภาระผกู พนั ของกองทนุ หมบู่ า้ น
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๘
( ๘ ) จดั ทาบญั ชีของกองทุนหมู่บ้านตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขท่ีคณะกรรมสกงู าร
กองทนุ หมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาตกิ าหนด
( ๙ ) สารวจ และจดั ทาขอ้ มูลเกย่ี วกบั การประกอบอาชพี อุตสาหกรรมครวั เรอื น และวสิ าหกจิ
ชุมชนในเขตพน้ื ทห่ี มบู่ า้ น ตลอดจนขอ้ มลู และการดาเนนิ การเกย่ี วกบั กองทนุ อน่ื ๆทม่ี อี ย่แู ลว้ ในหมบู่ า้ น
( ๑๐ ) พจิ ารณาดาเนินการใดๆเพ่อื สวสั ดิภาพ สวสั ดกิ ารหรอื ประโยชน์ส่วนรวมอ่นื ใดของ
สมาชกิ และหมบู่ า้ น
( ๑๑ ) ดาเนนิ การอ่นื ใดเพอ่ื ใหส้ อดรบั และเกอ้ื กูลกบั กองทุนอน่ื ๆทม่ี อี ย่แู ลว้ ในหมบู่ า้ น
( ๑๒ ) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ การของกองทุนหมบู่ า้ น
( ๑๓ ) รายงานผลกรดาเนินการ ปัญหาและอุปสรรค รวมทงั้ ฐานะการเงนิ ของกองทุนหมบู่ า้ น
ใหค้ ณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาตทิ ราบอย่างน้อยปีละ ๑ ครงั้ ตลอดจนรายงาน
เร่อื งดงั กล่าวใหส้ มาชกิ ทราบตามทก่ี าหนด
( ๑๔ ) ปฏิบตั ิหน้าท่ีให้เป็นไปตามประกาศ ระเบียบ ข้อบังคบั หรือคาสงั ่ ท่ีคณะกรรมการ
กองทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแห่งชาตกิ าหนดหรอื มอบหมาย
การดาเนินการใดๆตาม ( ๑๐ ) ใหใ้ ชจ้ ่ายจากเงนิ รายไดข้ องกองทุนหมบู่ า้ น ซ่งึ มิใช่เงนิ ทไ่ี ดร้ บั
จดั สรรจากกองทุนหมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแหง่ ชาติ
ข้อ ๓๐. การพน้ ตาแหน่งของกรรมการกองทุนประกอบดว้ ยเหตุตา่ งๆดงั น้ี
( ๑ ) ครบกาหนดตามวาระ
( ๒ ) ตาย
( ๓ ) ลาออก โดยแจง้ ความจานงเป็นหนังสอื ต่อประธานกรรมการกองทุน เม่อื ประธานไดร้ บั
หนังสอื ลาออกวนั ใด ให้กรรมการผูน้ ัน้ พน้ จากตาแหน่งในวนั นัน้ และให้ประธานนาเร่อื งมาแจ้งใหท้ ่ี
ประชุมคณะกรรมการรบั ทราบต่อไป
( ๔ ) ขาดสมาชกิ ภาพ
( ๕ ) คณะกรรมการใหอ้ อก เน่ืองจากมหี ลกั ฐานอนั ควรเช่ือไดว้ ่าขาดคุณสมบตั หิ รอื มลี กั ษณะ
ตอ้ งหา้ มตามขอ้ ๒๖
( ๖ ) คณะกรรมการกองทุนมมี ตใิ หอ้ อกดว้ ยคะแนนเสยี งเกนิ กว่า ๒ ใน ๓ ของจานวนกรรมการ
ทงั้ หมดเทา่ ทม่ี อี ยู่
( ๗ ) ท่ปี ระชุมใหญ่สมาชกิ มมี ตใิ ห้ออกดว้ ยคะแนนเสยี งเกนิ กว่า ๒ ใน ๓ ของจานวนสมาชกิ
ทงั้ หมด
( ๘ ) ขาดคณุ สมบตั ติ ามระเบยี บขอ้ ๗ ว่าดว้ ยคุณสมบตั ขิ องสมาชกิ ตามระเบยี บน้ี
( ๙ ) ไม่เขา้ ร่วมประชุมหรอื ร่วมปฏบิ ตั งิ านตดิ ต่อกนั ๓ เดอื นโดยไม่มเี หตุอนั ควร ให้ส้นิ สุด
สภาพการเป็นคณะกรรมการโดยทนั ทโ่ี ดยไมต่ อ้ งมกี ารลงมตจิ ากคณะกรรมการ
ข้อ ๓๑. ในกรณีทก่ี รรมการกองทุนว่างลงเพราะเหตุทไ่ี มใ่ ช่ออกตามวาระ และคณะกรรมการกองทนุ ท่ี
เหลอื อยู่ยงั มไี มน่ ้อยกว่า ๙ คน ใหค้ ณะกรรมการสามารถบรหิ ารงานต่อไปได้ หากคณะกรรมการคงเหลอื น้อย
กว่า ๙ คน ให้คณะกรรมการกองทุนจดั ให้มกี ารคดั เลือกบุคคลจากสมาชกิ เขา้ ดารงตาแหน่งแทนกรรมการ
กองทนุ ทว่ี า่ งอย่นู นั้ และใหก้ รรมการทไ่ี ดร้ บั เลอื กนนั้ อย่ใู นตาแหน่งตามวาระของผทู้ ต่ี นเขา้ แทนอยู่
การสรรหากรรมการใหมแ่ ทนตาแหน่งทว่ี ่างทาไดด้ ว้ ยการลงมตใิ นทป่ี ระชุมของคณะกรรมการเองหรอื
เรยี กประชุมสมาชกิ กไ็ ด้ หากยงั ไม่มกี ารเลอื กกรรมการใหม่ การนับองคป์ ระชุมใหน้ บั ใหไ้ ดก้ ง่ึ หน่งึ ของจานวน
กรรมการทก่ี องทุนกาหนดไวว้ ่าตอ้ งมใี นขณะนนั้ กส็ ามารถประชมุ และลงมตไิ ด้
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๙
สงู
ข้อ ๓๒. คณะกรรมการกองทุนต้องมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละหน่ึงครงั้ แต่ถ้ามคี วามจาเป็น
ประธานหรอื กรรมการไมน่ ้อยกว่ากง่ึ หน่งึ ของจานวนกรรมการทงั้ หมดเท่าทม่ี อี ยู่อาจเรยี กประชมุ พเิ ศษขน้ึ กไ็ ด้
และตอ้ งมกี รรมการกองทุนเขา้ ประชุมไม่น้อยกว่ากง่ึ หน่ึงของจานวนกรรมการทงั้ หมดเท่าทม่ี อี ยู่จงึ จะครบองค์
ประชมุ หากกรรมการมาน้อยกวา่ กง่ึ หน่ึงไม่ถอื ว่าเป็นการประชมุ
หากกรรมการผใู้ ดมสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในเร่อื งทป่ี ระชมุ ในเรอ่ื งใด หา้ มมใิ หก้ รรมการผนู้ นั้ เขา้ รว่ มประชมุ ใน
เรอ่ื งนนั้
ข้อ ๓๓. การวนิ ิจฉัยช้ขี าดของท่ปี ระชุมให้ถือเสยี งข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มหี น่ึงเสยี งในการ
ลงคะแนนและใหป้ ระธานในทป่ี ระชุมงดออกเสยี ง หากในกรณีคะแนนเสยี งเท่ากนั ใหป้ ระธานในทป่ี ระชุมออก
เสยี งเพมิ่ ขน้ึ อกี หน่ึงเสยี งหรอื เป็นผชู้ ข้ี าด
ขอ้ ๓๔. คุณสมบตั ิ อานาจและหน้าทข่ี องคณะกรรมการกองทนุ ตาแหน่งต่างๆมดี งั น้ี
๓๔.๑ ประธานกรรมการกองทนุ ๑ ตาแหน่ง
คุณสมบตั ิ
( ๑ ) เป็นบุคคลทม่ี ลี กั ษณะและบคุ ลกิ ภาพเป็นผนู้ า
( ๒ ) เป็นนกั ประสานและมมี นุษยสมั พนั ธก์ บั สมาชกิ เป็นอยา่ งดี
( ๓ ) มคี วามรแู้ ละภมู ปิ ัญญาทเ่ี หมาะสมกบั การบรหิ ารกองทนุ
อานาจและหน้าท่ี
( ๔ ) เป็นประธานในการประชมุ คณะกรรมการกองทุน
( ๕ ) เรยี กประชมุ คณะกรรมการกองทนุ
( ๖ ) กากบั ดูแล ควบคุม การปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการกองทุนและสมาชกิ กองทุนให้
ดาเนินงานตามกรอบและแนวทางทก่ี าหนด
( ๗ ) แต่งตงั้ คณะอนุกรรมการกองทุนเพอ่ื พจิ ารณา หรอื ปฏบิ ตั งิ านอย่างหน่ึงอย่างใดตามมติ
หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการกองทุนมอบหมาย
( ๘ ) ปฏบิ ตั งิ านหน้าทอ่ี ่นื ๆตามขอ้ บงั คบั และมตขิ องคณะกรรมการกองทนุ
๓๔.๒ รองประธานกรรมการกองทุน ๑ - ๒ ตาแหน่ง
คุณสมบตั ิ
( ๑ ) ใหเ้ ป็นไปตามคุณสมบตั ขิ องประธานกองทนุ
อานาจและหน้าท่ี
( ๒ ) ทาหน้าทแ่ี ทนประธานกรรมการกองทุน เม่อื ประธานกรรมการกองทุนไม่สามารถปฏบิ ตั ิ
หน้าทไ่ี ด้ หรอื เมอ่ื ประธานกรรมการกองทุนมอบหมายใหท้ าหน้าทแ่ี ทน
( ๓ ) เป็นผชู้ ่วยประธานกรรมการกองทุนในการดูแล ประสานงาน และสอ่ื สารภายในกลมุ่ เพอ่ื
ลดชอ่ งว่างระหวา่ งคณะกรรมการกองทุนกบั มวลสมาชกิ
๓๔.๓ เหรญั ญิกกองทุน ๑ - ๓ ตาแหน่ง
คุณสมบตั ิ
( ๑ ) ตอ้ งเป็นบคุ คลทซ่ี ่อื สตั ย์ สุจรติ เป็นทย่ี อมรบั จากสมาชกิ กองทุน
( ๒ ) มคี วามสามารถในการทาบญั ชที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเงนิ และสามารถตรวจสอบไดท้ กุ เมอ่ื
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๐
( ๓ ) สามารถพฒั นาขดี ความสามารถในการเกบ็ และรกั ษาเงนิ ของกองทุนไดเ้ ป็นอยา่ งดี สูง
อานาจและหน้าท่ี
( ๔ ) จดั เกบ็ ดแู ลรกั ษาเงนิ สดของกองทนุ และรายไดข้ องกองทุนก่อนนาไปเขา้ บญั ชธี นาคาร
( ๕ ) จดั ทาบญั ชตี ่างๆ พรอ้ มทงั้ ควบคุมการใชจ้ า่ ยเงนิ ของกองทุนใหเ้ ป็นไปอยา่ งรอบคอบและ
เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
( ๖ ) รว่ มลงนามในสมุดบญั ชเี งนิ ฝากของธนาคาร
( ๗ ) นาเสนอและรายงานสถานะทางการเงินของกองทุนแก่ประธานกรรมการและ
คณะกรรมการในทป่ี ระชุมทกุ ครงั้
๓๔.๔ เลขานุการกองทนุ ๑ - ๓ ตาแหน่ง
คุณสมบตั ิ
( ๑ ) ตอ้ งเป็นบุคคลทม่ี คี วามรู้ และสรปุ ผลประชุมบนั ทกึ ผลการประชมุ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรได้
อานาจและหน้าท่ี
( ๒ ) ทาหน้าทต่ี ดิ ต่อประสานงานทวั่ ไป
( ๓ ) ออกหนงั สอื เชญิ ประชมุ กรรมการกองทุน
( ๔ ) จดและทาบนั ทกึ รายงานการประชุม
( ๕ ) นาผลการประชุมจดั พมิ พ์หรอื นาเสนอในท่ปี ระชุมครงั้ ต่อไป เพ่อื รบั รองรายงานการ
ประชุม
๓๔.๕ ผ้ตู รวจสอบบญั ชีภายใน ๑ - ๒ ตาแหน่ง
คุณสมบตั ิ
( ๑ ) ตอ้ งเป็นบคุ คลทซ่ี ่อื สตั ย์ สุจรติ มคี วามเป็นกลาง
( ๒ ) มคี วามรอบรใู้ นเร่อื งบญั ชตี ่างๆของกองทนุ พอสมควร
อานาจและหน้าท่ี
( ๓ ) ตรวจสอบบญั ชตี ่างๆของกองทุน เช่นบญั ชเี งนิ ฝากของธนาคาร บญั ชขี องกองทุนท่อี ยู่
กบั เหรญั ญกิ
( ๔ ) กากบั ดแู ลเงนิ ของกองทุนใหเ้ ป็นไปตามมตทิ ค่ี ณะกรรมการกาหนด
( ๕ ) นาเสนอและรายงานการตรวจสอบบญั ชีต่อประธานกรรมการและคณะกรรมการในท่ี
ประชมุ
๓๔.๖ ประชาสมั พนั ธ์ ๑ - ๒ ตาแหน่ง
คณุ สมบตั ิ
( ๑ ) ตอ้ งเป็นบคุ คลทม่ี คี วามรู้ รจู้ กั สมาชกิ ในชุมชนเป็นอยา่ งดี
( ๒ ) เป็นบุคคลทม่ี มี นุษยสมั พนั ธ์ดี พูดจาไพเราะและเขา้ ใจความตอ้ งการของสมาชกิ เป็น
อยา่ งดี
อานาจและหน้าท่ี
( ๓ ) มหี น้าทผ่ี ลติ เอกสาร สงิ่ พมิ พใ์ หข้ า่ วสารแก่สมาชกิ และหน่วยงานอ่นื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
( ๔ ) ประมวลความตอ้ งการในการขอใชบ้ รกิ ารของสมาชกิ เพอ่ื รายงานต่อทป่ี ระชุม
๓๔.๗ ฝ่ ายเรง่ รดั หนี้สินและประเมินผลสมาชิก ๑ - ๕ ตาแหน่ง
คุณสมบตั ิ
( ๑ ) ตอ้ งเป็นบุคคลทม่ี คี วามรู้ น่าเช่อื ถอื
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๑
( ๒ ) เป็นบุคคลทม่ี มี นุษยสมั พนั ธด์ ี พดู จาไพเราะและมเี หตผุ ล สมาชกิ ใหค้ วามเกรงใจ สูง
อานาจและหน้าท่ี
( ๓ ) เป็นพเ่ี ลย้ี งแก่สมาชกิ และคอยตรวจสอบการดาเนินธุรกจิ ตามโครงการทส่ี มาชกิ เสนอ
( ๔ ) มหี น้าทต่ี ดิ ตามหน้สี นิ จากสมาชกิ ผใู้ ชบ้ รกิ ารเมอ่ื ครบกาหนดการชาระหน้ี
ข้อ ๓๕. ถ้าประธานกรรมการกองทุนและรองประธานกรรมการกองทุนไม่สามารถปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี นการ
ประชุมคราวหน่ึงคราวใดได้ ใหท้ ป่ี ระชุมเลอื กกรรมการกองทุนคนใดคนหน่ึงเป็นประธานสาหรบั การประชุมใน
คราวนนั้
ขอ้ ๓๖. ในการประชุมและลงมตใิ นเรอ่ื งใด ใหผ้ บู้ นั ทกึ การประชมุ ลงรายละเอยี ดไวใ้ นบนั ทกึ การประชมุ
ทุกครงั้ เพอ่ื ความสะดวกในการตรวจสอบยอ้ นหลงั
หากมตใิ ดๆทค่ี ณะกรรมการมกี ารลงมตใิ หมแ่ ลว้ ขดั แยง้ กบั มตทิ เ่ี คยลงไวเ้ ดมิ อนุญาตใหใ้ ชค้ รงั้
ใหมม่ ผี ลบงั คบั ใช้ และใหม้ ตทิ เ่ี คยลงไวเ้ ดมิ ยกเลกิ ไป
การลงมตใิ ดในขณะทอ่ี งคป์ ระชุมไมค่ รบใหถ้ อื ว่าเป็นโมฆะ
หมวด ๘
การก้ยู มื และหลกั ประกนั การก้ยู มื
ขอ้ ๓๗. ประเภทการกยู้ มื สมาชกิ สามารถย่นื ความจานงขอกูเ้ งนิ ต่อคณะกรรมการกองทนุ เพอ่ื นาไปใช้
จา่ ยในกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี
( ๑ ) การพฒั นาอาชพี
( ๒ ) การสรา้ งงาน
( ๓ ) การสรา้ ง หรอื เพมิ่ รายได้
( ๔ ) การลดรายจ่าย
( ๕ ) การบรรเทาเหตุฉุกเฉนิ และความจาเป็นเรง่ ด่วน
ขอ้ ๓๘. การกยู้ มื ตามขอ้ ๓๗.( ๕ ) ตอ้ งอยใู่ นหลกั เกณฑต์ ามน้ี
( ๑ ) กรณีใชจ้ ่ายเกย่ี วกบั การจดั การศพ
( ๒ ) เป็นค่าใชจ้ ่ายเกย่ี วกบั การศกึ ษา
( ๓ ) เป็นค่าใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาล
( ๔ ) เป็นคา่ ซอ่ มแซมทพ่ี กั อาศยั เน่ืองจากอุทกภยั วาตะภยั หรอื อคั คภี ยั
( ๕ ) เร่อื งอ่นื ๆทค่ี ณะกรรมการเหน็ สมควร
ข้อ ๓๙. การอนุมตั เิ งนิ กูจ้ ากบญั ชที ่ี ๑ และบญั ชที ่ี ๒ สมาชกิ ทจ่ี ะขอกูย้ มื เงนิ จะตอ้ งจดั ทาโครงการเพ่อื
ขอกูย้ มื เงนิ จากคณะกรรมการกองทนุ โดยระบุวตั ถปุ ระสงคใ์ นการกยู้ มื อยา่ งชดั เจน หากโครงการทส่ี มาชกิ ขอกู้
ไปทาอย่นู อกพน้ื ทห่ี มู่บา้ นและคณะกรรมการไม่สามารถไปตรวจสอบไดใ้ หอ้ ย่ใู นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการท่ี
จะใหก้ ูห้ รอื ไมก่ ไ็ ด้
หากคณะกรรการได้รบั ขอ้ มูลจากแหล่งใดไม่ว่าจะจากภาครฐั หรอื เอกชน หรอื กองทุนใดๆว่า
สมาชกิ ทม่ี าขอกเู้ งนิ เคยบดิ พลว้ิ การชาระหน้ี หลบหนกี ารชาระหน้ีหรอื อน่ื ใดกต็ ามทอ่ี าจก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
กบั กองทุน ใหค้ ณะกรรมการตรวจสอบว่าเป็นเร่อื งจรงิ หรอื ไม่ หากพบว่าเป็นเร่อื งจรงิ ให้ระงบั การกูเ้ งนิ ของ
สมาชกิ รายนนั้ เสยี เพอ่ื ป้องกนั ความเสยี หายอนั อาจเกดิ ขน้ึ กบั กองทนุ
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๒
ข้อ ๔๐. ใหค้ ณะกรรมการใชก้ ารสง่ เงนิ สจั จะมาเป็นสว่ นหน่งึ ของการพจิ ารณาในการใหเ้ งนิ กูด้ ว้ ยสโงู ดย
จะดูจากยอดเงินฝากสจั จะย้อนหลงั ๑ ปีบัญชี มหี ลกั เกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี อน่ึงหลกั เกณฑ์น้ีจะไม่ใช้กบั การ
พจิ ารณาใหเ้ งนิ กูฉ้ ุกเฉนิ และสมาชกิ เขา้ ใหม่
( ๑ ) หากฝากเงนิ สจั จะไมถ่ งึ ๓๐๐ บาทในปีบญั ชที ผ่ี า่ นมา ไมพ่ จิ ารณาใหก้ ู้
( ๒ ) หากฝากเงนิ สจั จะ ตงั้ แต่ ๓๐๐ แต่ไม่ถงึ ๕๐๐ บาทในปีบญั ชที ผ่ี า่ นมา ใหพ้ จิ ารณาใหก้ ูไ้ ด้
ไมเ่ กนิ ๘๐ % ของวงเงนิ ทข่ี อกู้
( ๓ ) หากฝากเงนิ สจั จะตงั้ แต่ ๕๐๐ บาทขน้ึ ไป ในปีบญั ชที ผ่ี ่านมา ให้พจิ ารณาไดต้ ามวงเงนิ ท่ี
ขอกู้
การอนุมตั อิ าจจะให้มากกว่าหรอื น้อยกว่าน้ีกไ็ ดท้ งั้ น้ีใหข้ น้ึ อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการ
และความเป็นไปไดข้ องโครงการทน่ี าเสนออกี ทางหน่งึ ดว้ ย การตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เป็นสน้ิ สุด
สมาชกิ ทย่ี งั ไมเ่ คยกูห้ รอื เคยกูแ้ ลว้ และสง่ เงนิ คนื ตามกาหนดเวลาไม่เคยผดิ สญั ญาจะไดร้ บั การ
พจิ ารณาก่อนเป็นอนั ดบั แรก ผทู้ ช่ี าระหน้ีหมดแลว้ สามารถนาเสนอโครงการเพ่อื ขอกูเ้ งนิ ในรอบใหมไ่ ด้
นบั จากวนั ทช่ี าระหน้ีเสรจ็ สน้ิ
สมาชิกท่ีเข้าใหม่ต้องสมคั รเข้ากองทุนอย่างน้อย ๓ เดือนก่อนจึงจะสามารถกู้เงินเพ่อื ทา
โครงการได้ ยกเวน้ การกฉู้ ุกเฉินตามระเบยี บขอ้ ๓๘
( ๔ ) สมาชกิ ผใู้ ดทป่ี ระสงคจ์ ะกเู้ งนิ จากกองทุน สมาชกิ ผนู้ นั้ จะตอ้ งสมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ ชมรม
ฌาปนกจิ สงเคราะหข์ องกองทุนหมบู่ า้ น และสมคั รเขา้ เป็นสมาชกิ ของฌาปณกจิ สงเคราะหร์ ะดบั ตาบล
และจะต้องได้รบั การอนุมตั ิทงั้ สองแห่งแล้วเท่านัน้ จึงจะสามารถย่นื เร่อื งขอกู้เงนิ ได้ หากสมาชกิ มี
คุณสมบตั ิขดั กบั ระเบียบของการฌาปนกจิ แห่งหน่ึงแห่งใดหรอื ทงั้ สองแห่งทาให้ไม่สามารถเขา้ เป็น
สมาชกิ ได้ แต่สมาชกิ มคี วามจาเป็นต้องกู้เงนิ จากกองทุน สมาชกิ สามารถนาเหตุผลมาช้ีแจงต่อท่ี
ประชุมสมาชกิ โยมสี มาชกิ มาประชุมไมน่ ้อยกวา่ กง่ึ หน่ึงเพอ่ื ขออนุมตั เิ ป็นกรณีพเิ ศษได้
ข้อ ๔๑. ลกั ษณะโครงการ สมาชกิ ท่ีย่นื ขอกู้เงนิ ตามข้อ ๓๗ ( ๑ ) ( ๒ ) ( ๓ ) ( ๔ )ต้องมลี กั ษณะ
โครงการหรอื คุณสมบตั ดิ งั น้ี
( ๑ ) เป็นโครงการทส่ี ามารถดาเนนิ การไดจ้ รงิ
( ๒ ) มคี วามเป็นไปไดท้ างการตลาด
( ๓ ) สามารถเหน็ ไดอ้ ย่างชดั เจนว่ามคี วามคุม้ ค่ากบั การลงทนุ
ขอ้ ๔๒. วงเงนิ กตู้ ามขอ้ ๓๗ ( ๑ ) ( ๒ ) ( ๓ ) ( ๔ ) ใหแ้ ก่สมาชกิ กูไ้ ดไ้ มเ่ กนิ รายละ ๓๐,๐๐๐ บาท
ในกรณีทม่ี สี มาชกิ ย่นื ความจานงขอกูเ้ งนิ เกนิ กว่า ๓๐,๐๐๐ บาท และคณะกรรมการกองทุนมี
มตเิ หน็ ควรอนุมตั ิ คณะกรรมการกองทุนจะต้องเรยี กประชุมสมาชกิ เพอ่ื ใหส้ มาชกิ พจิ ารณาวนิ ิจฉัยชข้ี าด แต่
ทงั้ น้กี ารอนุมตั เิ งนิ ตอ้ งไมเ่ กนิ รายละ ๗๕,๐๐๐ บาท
ข้อ ๔๓. วงเงนิ กูต้ ามขอ้ ๓๘. คณะกรรมการจะอนุมตั ใิ หร้ ายละไมเ่ กนิ ๑๕,๐๐๐ บาท
ข้อ ๔๔. สมาชกิ รายหน่ึงสามารถทาสญั ญากูเ้ งนิ จากกองทุนจากบญั ชที ่ี ๑ มากกว่าหน่งึ สญั ญาในเวลา
เดยี วกนั ไมไ่ ด้ จะตอ้ งชาระหน้ีตามสญั ญาเดมิ ใหห้ มดเสยี ก่อนจงึ จะทาการขอกูใ้ หมไ่ ด้
ข้อ ๔๕. การดาเนินงานตามโครงการ สมาชกิ ทข่ี อกูจ้ ะตอ้ งดาเนินโครงการทข่ี อกูใ้ หส้ าเรจ็ เป็นไปตาม
วตั ถุประสงค์ และใหจ้ ดั ทารายงานความกา้ วหน้าตามแบบรายงานทค่ี ณะกรรมการกาหนดทุก ๓ เดอื น
ข้อ ๔๖.ถ้ามีเหตุจาเป็นท่ีสมาชิกผู้ขอกู้ไม่สามารถดาเนินงานตามโครงการ ท่ีขอกู้ได้ ให้แจ้งขอ
เปลย่ี นแปลงโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนโดยทนั ที คณะกรรมการกองทุนจะพจิ ารณาเหตุเช่นว่านนั้ เป็น
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๓
ความจรงิ หรอื ไม่ ถ้าเหน็ สมควรเปลย่ี นแปลงให้ทาบนั ทกึ ต่อท้ายสญั ญาไว้ ถ้าไม่เหน็ สมควรให้ถือว่าผสูก้ งู ูผ้ ดิ
สญั ญาจะตอ้ งนาเงนิ ตน้ พรอ้ มดอกเบย้ี เตม็ จานวนสง่ คนื กองทนุ โดยทนั ที
ข้อ ๔๗. กรณีสมาชิกเป็นสามภี รรยากนั แม้มไิ ด้จดทะเบียนสมรสกนั แต่เป็นท่ีรบั ทราบของบุคคล
โดยทวั่ ไป หากฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดได้ทาการกูเ้ งนิ ของกองทุนไปเพอ่ื ทาโครงการแลว้ ใหต้ ดั สทิ ธกิ ารกูข้ องค่สู มรส
ออก
ข้อ ๔๘. การทาสญั ญาเงนิ กูท้ ุกประเภทต้องมกี ารทาสญั ญาไว้กบั คณะกรรมการกองทุนตามแบบและ
เงอ่ื นไขทก่ี าหนด และใหเ้ สยี คา่ ธรรมเนยี มการกตู้ า่ งๆตามท่คี ณะกรรมการกาหนดในวนั ทย่ี ่นื หนงั สอื ขอกู้
ข้อ ๔๙. ใหผ้ แู้ ทนคณะกรรมการกองทุนอย่างน้อยสองคนเป็นผแู้ ทนคณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นใน
การทาสญั ญากยู้ มื เงนิ กบั ผทู้ ข่ี อกูท้ ไ่ี ดร้ บั อนุมตั ิ โดยผูแ้ ทนของคณะกรรมการกองทุนซ่งึ มอี านาจในการลงช่อื
ในสญั ญากยู้ มื ตา่ งๆ ใหป้ ระกอบดว้ ยบุคคลจากตาแหน่งดงั น้ี
(๑.) ประธานกองทนุ
(๒.) รองประธานกองทุน
(๓.) เหรญั ญกิ กองทนุ
(๔.) เลขานุการกองทุน
หากจะมกี ารใหค้ ณะกรรมการในตาแหน่งอ่นื ลงช่อื จะตอ้ งมกี ารประชุมอนุมตั เิ ป็นครงั้ คราวไป
และมกี ารลงบนั ทกึ การประชุมไวเ้ ป็นหลกั ฐานดว้ ย
ข้อ ๕๐. กองทุนคดิ อตั ราดอกเบ้ยี เงนิ ให้กู้รายปีจากบญั ชี ๑ และบญั ชี ๒ ให้คดิ ร้อยละ ๖ ต่อปี ส่วน
เงนิ กูส้ ง่ รายเดอื นจากบญั ชี ๒ และบญั ชอี ่นื ๆ ใหค้ ดิ รอ้ ยละ ๑๒ บาทตอ่ ปี
ข้อ ๕๑. การคิดค่าปรับ ในกรณีท่ีผู้กู้ผิดสัญญาให้ผู้กู้เสียเบ้ียปรับในอัตราร้อยละ๐ .๕ ต่อวัน
คณะกรรมการกองทุนหมบู่ า้ นอาจพจิ ารณายกเลกิ หรอื ลดเบ้ยี ปรบั ใหแ้ ก่ผกู้ ูร้ ายหน่ึงรายใดกไ็ ดเ้ ม่อื มเี หตุผลอนั
สมควร และดว้ ยความเหน็ ชอบจากทป่ี ระชุมสมาชกิ ดว้ ยเสยี งเกนิ กง่ึ หน่ึง
ขอ้ ๕๒. การชาระเงนิ กูม้ กี าหนดดงั น้ี
( ๑ ) เงนิ กตู้ ามขอ้ ๓๖ ( ๑ ) ( ๒ ) ( ๓ ) ( ๔ ) ใหผ้ กู้ ูส้ ง่ คนื เงนิ ตน้ พรอ้ มดอกเบย้ี ใหห้ มดภายใน
ระยะเวลาไมเ่ กนิ หน่ึงปี
( ๒ ) เงนิ กูต้ ามขอ้ ๓๗ ( ๑ ) ( ๒ ) ใหผ้ กู้ ูส้ ง่ คนื เงนิ ตน้ พรอ้ มดอกเบย้ี ใหห้ มดภายในระยะเวลา
ไมเ่ กนิ สามเดอื น
( ๒ ) เงนิ กู้ตามขอ้ ๓๗ ( ๓ ) ( ๔ ) ( ๕ ) ให้ผู้กู้ส่งเงนิ ต้นพร้อมดอกเบ้ยี คนื ตามระยะเวลาท่ี
เหมาะสมและอย่ใู นดุลยะพนิ จิ ของคณะกรรมการแตต่ อ้ งใชร้ ะยะเวลาไมเ่ กนิ หน่ึงปี
ขอ้ ๕๓. กาหนดเวลาในการยน่ื โครงการและการพจิ ารณาโครงการมดี งั น้ี
( ๑ ) สมาชกิ ทป่ี ระสงคจ์ ะขอกูเ้ งนิ ใหย้ ่นื โครงการและคาขอกูพ้ รอ้ มแนบสมุดบญั ชเี งนิ ฝากของ
ธนาคารออมสนิ สาขาอาเภอแกลง มาใหค้ ณะกรรมการภายในวนั ท่ี ๑ – ๒๐ ของทุกเดอื น
( ๒ ) กรรมการจะพจิ ารณาโครงการภายในวนั ท่ี ๒๐ ของทุกเดอื น ( หากเป็นการกู้ฉุกเฉิน
คณะกรรมการอาจใชห้ นงั สอื เวยี นเพอ่ื ลงมตพิ จิ ารณาอนุมตั กิ ไ็ ด้ )
( ๓ ) สมาชกิ ท่านใดท่โี ครงการผ่านการพจิ ารณาและอนุมตั แิ ลว้ ใหม้ าทาสญั ญาเงนิ กูแ้ ละย่นื
หลกั ค้าประกนั เงนิ กูต้ ่อคณะกรรมการ และกรรมการจะสง่ สมุดบญั ชไี ปใหธ้ นาคารออมสนิ สาขาแกลง
ทาการโอนเงนิ เขา้ บญั ชใี หห้ ลงั จากทาการโอนเงนิ เขา้ บญั ชแี ลว้ ใหส้ มาชกิ มารบั สมุดบญั ชคี นื ทก่ี รรมการ
ตอ่ ไป
ข้อ ๕๔. หลกั ประกนั เงนิ กู้ มขี อ้ กาหนดดงั น้ี
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๔
( ๑ ) การเขยี นสญั ญากู้เงนิ ทุกครงั้ ต้องให้คู่สมรสหรอื ทายาทหรือบุคคลในครอบครวั ลสงงู ช่อื
ยนิ ยอมรบั สภาพหน้ีของผู้กู้ในการท่ีจะชดใช้เงนิ คนื แก่กองทุนในกรณีท่ีผูก้ ู้ไม่สามารถใช้หน้ีให้กบั
กองทุนได้โดยไม่ว่าจากเหตุผลใดๆก็ตาม และต้องมสี มาชกิ ของกองทุนเป็นผู้ค้าประกนั โดยผู้ค้า
ประกันคนหน่ึงจะสามารถค้าประกันผู้กู้ได้ไม่เกินสองคน สมาชกิ ท่ีอยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกนั ไม่
สามารถคา้ ประกนั กนั เองได้
( ๒ ) หากสมาชกิ ต้องการกูเ้ งนิ โดยไมม่ ผี คู้ ้าประกนั สามารถกระทาได้โดยจะตอ้ งมหี ลกั ทรพั ย์
หรอื ทรพั ยส์ นิ มาวางค้าประกนั ไวก้ บั ทางกองทุนโดยทห่ี ลกั ทรพั ย์หรอื ทรพั ยส์ นิ ท่นี ามาค้าประกนั นัน้
จะตอ้ งมมี ลู คา่ มากกว่าเงนิ ทจ่ี ะทาการกู้ และการพจิ ารณาหลกั ทรพั ยห์ รอื ทรพั ยส์ นิ ทจ่ี ะ ใชค้ า้ ประกนั นนั้
ใหอ้ ย่ใู นอานาจของคณะกรรมการว่าจะสามารถใชห้ ลกั ทรพั ยห์ รอื ทรพั ยส์ นิ นนั้ มา ค้าประกนั ไดห้ รอื ไม่
ในทุกกรณแี ละการวนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการถอื เป็นเดด็ ขาด
ข้อ ๕๕. ในการชาระคนื เงนิ กูใ้ หส้ มาชกิ มาตดิ ตอ่ กบั คณะกรรมการกองทุน เพอ่ื ตรวจสอบเงนิ งวด และ
ชาระเงนิ คนื ให้กบั เหรญั ญกิ ของกองทุน และทางกองทุนจะต้องออกใบเสร็จการรบั เงนิ ให้กบั สมาชกิ ในทนั ที
หลงั จากนนั้ ใหท้ างคณะกรรมการนาสง่ เงนิ นนั้ ฝากธนาคารในวนั เดยี วกนั แต่หากมขี อ้ ขดั ขอ้ งนาสง่ ไม่ทนั หรอื
ตดิ วนั หยดุ ราชการหรอื ธนาคาร ใหน้ าสง่ ในวนั ร่งุ ขน้ึ หรอื ในวนั ทธ่ี นาคารเปิดทาการ
ข้อ ๕๖. หากผูก้ ู้ผดิ นัดการชาระหน้ีให้คณะกรรมการรบี ทวงถามโดยออกเป็นหนังสอื ภายใน ๗ วนั
หากผูก้ ู้ไม่มาตดิ ต่อหรอื ไม่ยอมชาระหน้ี ใหค้ ณะกรรมการรบี ทวงถามโดยออกเป็นหนังสอื ไปยงั ผูค้ ้าประกนั
ภายใน ๖๐ วัน หากไม่มีผู้ใดแสดงความรับผิดชอบท่ีจะชาระหน้ีหรือชดใช้หน้ีสินคืนแก่กองทุ น ให้
คณะกรรมการนาเร่อื งเขา้ สกู่ ระบวนการดาเนินคดฟี ้องรอ้ งตามกฎหมายโดยเรว็ ทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะดาเนนิ การได้
หมวด ๙
การเงิน การบญั ชี และการจดั สรรผลกาไรประจาปี
ข้อ ๕๗. กองทุนจะจดั ทาบญั ชเี งนิ ฝาก และบญั ชคี ่าใชจ้ ่ายรวมถงึ บญั ชอี ่นื ๆทม่ี อี ย่างรอบคอบ แลว้ ตดิ
ประกาศอยา่ งเปิดเผย ณ. ทท่ี าการกองทุนใหส้ มาชกิ ทราบ โดยมปี ระเภทบญั ชที ต่ี อ้ งดาเนินการดงั น้ี
( ๑ ) บญั ชเี งนิ หนุ้ และเงนิ สจั จะออมทรพั ย์
( ๒ ) บญั ชรี ายรบั รายจา่ ยของกองทุน
( ๓ ) บญั ชสี นิ ทรพั ยแ์ ละหน้ีสนิ ของกองทนุ
( ๔ ) บญั ชอี น่ื ๆทท่ี างกองทนุ จดั ทาขน้ึ
ขอ้ ๕๘. ใหค้ ณะกรรมการสารองเงนิ สดของบญั ชที ่ี ๒ ของกองทุนไว้ทเ่ี หรญั ญกิ ของกองทุนเพอ่ื สารอง
ใชใ้ นกรณีทส่ี มาชกิ ขอกูเ้ งนิ ฉุกเฉนิ โดยจานวนเงนิ นนั้ ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาตามทเ่ี หน็ เหมาะสม
ข้อ ๕๙. ใหค้ ณะกรรมการจดั ทางบดลุ ปีละ ๒ ครงั้ คอื
( ๑ ) ทางบดุลครงั้ ท่ี ๑ ในวนั ท่ี ๓๐ มถิ ุนายน ของทุกปี
( ๒ ) ทางบดุลครงั้ ท่ี ๒ ในวนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ของทุกปี
ข้อ ๖๐. การกาหนดวนั สน้ิ ปีทางบญั ชแี ละวนั ครบวาระการดารงตาแหน่งของกรรมการกองทนุ ใหถ้ อื เอา
วนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ของทุกปี เป็นวนั สิ้นปี ทางบญั ชีและวนั ครบวาระตาแหน่งกรรมการในแต่ละรอบปี
ข้อ ๖๑.การจดั สรรกาไรสุทธปิ ระจาปี เมอ่ื สน้ิ ปีทางบญั ชขี องกองทุนและไดป้ ิดบญั ชตี ามมาตรฐานการ
บญั ชที ร่ี บั รองโดยทวั่ ไปแลว้ ปรากฏว่ากองทุนมกี าไรสทุ ธิ คณะกรรมการกองทุนจะนากาไรสทุ ธมิ าจดั สรรดงั น้ี
บญั ชี ๑ ( บญั ชเี งนิ ลา้ น ) จดั สรรดงั น้ี
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๕
สงู
( ๑ ) เป็นเงนิ สมทบเขา้ กองทุนรอ้ ยละ ๑๐
( ๒ ) เป็นเงนิ ประกนั ความเสย่ี งรอ้ ยละ ๑๐
( ๓ ) เป็นทุนเพอ่ื สาธารณะประโยชน์รอ้ ยละ ๑๐
( ๔ ) เป็นเงนิ สาหรบั คา่ ใชจ้ ่ายในดา้ นการบรหิ ารและดาเนนิ งานของกองทุนรอ้ ยละ ๑๐
( ๕ ) เป็นเงนิ เพอ่ื การพฒั นางานของกองทุนตามคณะกรรมการเหน็ สมควรรอ้ ยละ ๑๐
( ๖ ) เป็นเงนิ สวสั ดกิ ารอตั รารอ้ ยละ ๑๐
( ๗ ) เป็นเงนิ เฉลย่ี คนื ใหผ้ กู้ ูใ้ นอตั รารอ้ ยละ ๕
( ๘ ) เป็นเงนิ ตอบแทนแกค่ ณะกรรมการรอ้ ยละ ๓๐
( ๙ ) เป็นเงนิ คา่ จดั เกบ็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานของหมบู่ า้ นรอ้ ยละ ๕
บญั ชี ๒ ( บญั ชเี งนิ สะสมหรอื เงนิ ออม ) หลงั จากกองทนุ หกั จ่ายแลว้ หากมกี าไรใหจ้ ดั สรรดงั น้ี
( ๑ ) เป็นเงนิ สวสั ดกิ ารอตั รารอ้ ยละ ๑๕
( ๒ ) เป็นเงนิ สาหรบั คา่ ใชจ้ า่ ยในดา้ นการบรหิ ารและดาเนนิ งานของกองทุนรอ้ ยละ ๑๐
( ๓ ) เป็นเงนิ เพอ่ื การพฒั นางานของกองทุนตามคณะกรรมการเหน็ สมควรรอ้ ยละ ๑๐
( ๔ ) เป็นเงนิ ปันผลตามจานวนหนุ้ ในอตั รารอ้ ยละ ๒๐
( ๕ ) เป็นเงนิ เฉลย่ี คนื ใหผ้ กู้ ูใ้ นอตั รารอ้ ยละ ๑๐
( ๖ ) เป็นเงนิ ตอบแทนแก่คณะกรรมการรอ้ ยละ ๓๕
ทงั้ น้ีการจดั สรรกาไรสุทธใิ นแตล่ ะปี อาจเปลย่ี นแปลงไดต้ ามการพจิ ารณาเหน็ ชอบในทป่ี ระชมุ
ใหญ่ของสมาชกิ ในการประชมุ สามญั ประจาปี และใหเ้ ป็นไปตามรายงานการประชมุ สามญั ประจาปีในปี
นนั้ ๆ
หมวด ๑๐
การประชมุ ประจาปี
ข้อ ๖๒. ให้คณะกรรมการกองทุนนดั ประชุมใหญ่สามญั ประจาปีอย่างน้อยปีละหน่ึงครงั้ โดยใหจ้ ดั ขน้ึ
ภายใน ๑๕ วนั หลงั จากทป่ี ิดบญั ชปี ระจาปีแลว้
เพ่อื การใดการหน่งึ ซง่ึ คณะกรรมการเหน็ สมควร หรอื มสี มาชกิ จานวนไมน่ ้อยกว่า ๑ ใน ๕ ของจานวน
สมาชกิ ทงั้ หมด จดั ทาหนงั สอื รอ้ งขอต่อคณะกรรมการใหเ้ รยี กวสิ ามญั เมอ่ื ใดกไ็ ด้
ในกรณีท่สี มาชกิ รอ้ งขอให้เรยี กประชุมใหญ่วสิ ามญั ให้คณะกรรมการจดั การเรยี กประชุมภายใน ๑๕
วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั หนงั สอื รอ้ งขอ
ข้อ ๖๓. องคป์ ระชุมในการประชุมใหญป่ ระจาปี ต้องมสี มาชกิ มาประชุมไมน่ ้อยกว่ากง่ึ หน่ึงของจานวน
สมาชกิ ทงั้ หมด
ถ้าในการประชุมนัดแรก สมาชกิ มาไม่ครบองคป์ ระชุม ใหเ้ ลกิ ประชุม และใหค้ ณะกรรมการนัดประชุม
ใหม่ภายใน ๑๕ วนั นับตงั้ แต่วนั นัดประชุมครงั้ แรก ในการประชุมครงั้ หลงั น้ีถา้ มใิ ช่เป็นการประชุมใหญ่สามญั
ประจาปี ถา้ มสี มาชกิ ประชมุ ไมน่ ้อยกวา่ ๑ ใน ๓ ของจานวนสมาชกิ ทงั้ หมดกใ็ หถ้ อื ว่าเป็นองคป์ ระชุม
ข้อ ๖๔. สมาชกิ จะมอบอานาจเป็นหนงั สอื ใหบ้ ุคคลอน่ื มาประชมุ แทนตนกไ็ ด้ แตผ่ รู้ บั มอบอานาจนนั้ จะ
รบั มอบอานาจจากสมาชกิ เกนิ กว่า ๑ ราย มไิ ด้
ขอ้ ๖๕. คณะกรรมการจะตอ้ งสง่ หนงั สอื บอกกล่าวถงึ วนั เวลา สถานทแ่ี ละกาหนดวาระของการ
ประชุมไปใหส้ มาชกิ ทุกคนไดท้ ราบล่วงหน้ากอ่ นวนั ประชุมไมน่ ้อยกว่า ๓ วนั
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั กองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ ๑๖
สงู
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๖๖. ให้ยกเลิกระเบียบการและข้อบงั คบั กองทุนหมู่บ้านชุมนุมสูง ฉบับท่ี ๑ – ๑๓ ตงั้ แต่วนั ท่ี
ระเบยี บการและขอ้ บงั คบั ฉบบั น้มี ผี ลบงั คบั ใช้
ประกาศ หรือคาสงั ่ ท่ีคณะกรรมการมปี ระกาศหรอื คาสงั ่ ก่อนท่ีระเบียบน้ีประกาศบงั คบั ใช้หากไม่
ขดั แยง้ กบั ระเบยี บฉบบั น้ใี หบ้ งั คบั ใชต้ ่อไปจนกวา่ จะมกี ารแกไ้ ขหรอื ยกเลกิ
ข้อ ๖๗. ภายในหน่ึงปีนับแต่วนั ทร่ี ะเบยี บน้ีใชบ้ งั คบั ใหค้ ณะกรรมการกองทุนประเมนิ การดาเนินงาน
ตามระเบยี บน้ี เพอ่ื นามาปรบั แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมต่อไป
ขอ้ ๖๘. ใหค้ ณะกรรมการกองทนุ เป็นผรู้ กั ษาการตามระเบยี บน้ี
ข้อ ๖๙. หากระเบยี บขอ้ ใดทม่ี ไิ ดบ้ รรจอุ ย่ใู นระเบยี บฉบบั น้ี ใหย้ ดึ ถอื เอาระเบยี บคณะกรรมการกองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาตวิ ่าด้วยการจดั ตงั้ และบรหิ ารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๕๑ หรอื ประกาศเพม่ิ เตมิ อน่ื ใดของคณะกรรมการกองทนุ หมบู่ า้ นและชุมชนเมอื งแหง่ ชาตทิ ป่ี ระกาศเพม่ิ เตมิ
ขน้ึ เป็นเกณฑใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน
ประกาศ ณ. วนั ท่ี ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔
ประธานคณะกรรมการกองทนุ หมบู่ า้ นชมุ นมุ สูง ม.๗
ต.ทงุ่ ควายกิน อ.แกลง จ.ระยอง