The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการดำเนินงานตามแผนปรับปรุงการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565-รอบ 6 เดือน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการดำเนินงานตามแผนปรับปรุงการควบคุมภายใน 2565-รอบ 6 เดือน

รายงานการดำเนินงานตามแผนปรับปรุงการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565-รอบ 6 เดือน

รายงานผลการติดตามประเมินผล
แผนปรับปรุงการควบคุมภายใน

ปีงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๖๕

ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์
การปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๖๑

รอบ ๖ เดือนแรก

(๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕)

เ ท ศ บ า ล เ มือ ง เ มือ ง พ ล
อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น

โ ด ย ก อ ง ยุท ธ ศ า ส ต ร์แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ

(ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ งานยุทธศาสตร์และแผนงาน)

MUEANG PHON TOWN MUNICIPALITY

รายงานผลการติดตามประเมินผลแผนปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของเทศบาลเมอื งเมอื งพล

รอบ 6 เดือนแรก

สาหรับระยะเวลาดาเนนิ การ ตัง้ แต่วนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถงึ 31 มนี าคม พ.ศ. 2565

ตามหลกั เกณฑ์กระทรวงการคลงั หลักเกณฑว์ ่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์
การปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรบั หน่วยงานของรฐั พ.ศ. 2561

กองยทุ ธศาสตร์และงบประมาณ ฝา่ ยแผนงานและงบประมาณ
งานยทุ ธศาสตร์และแผนงาน

เทศบาลเมืองเมืองพล อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น

คานา

การควบคุมภายใน เป็นกระบวนการปฏิบัติงานขององค์กร เทศบาลเมืองเมืองพล จัดให้มีขึ้นเพื่อสร้าง
ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดาเนินงานจะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการกากับ
ดูแลที่ดี ของการควบคุมภายในทั้งในด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดาเนินงาน ซึ่งรวมถึงการดูแล
ทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต หรือการทุจริตในหน่วยงาน
รวมถึงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ จึงมีนโยบายท่ีจะพัฒนาระบบการควบคุมภายใน
ให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดีเป็นไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและ
หลักเกณฑ์การปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ถือเป็นหน่วยงานของรัฐตามหลักเกณฑ์น้ี และให้ใช้หลักเกณฑ์นี้ในการดาเนินการ และประเมินผลการควบคุม
ภายใน และจัดทารายงานผลการดาเนินงานควบคุมภายใน เสนอต่อคณะกรรมการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ภายใน 90 วัน นับจากวนั สนิ้ สุดปีงบประมาณ

สาหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 น้ี เทศบาลเมืองเมืองพล โดยคณะกรรมการติดตามประเมินผล
ระบบควบคุมภายใน จึงได้กาหนดแนวทางในการกากับ ติดตามความก้าวหน้าการปรับปรุงและควบคุมภายใน
ให้เป็นไปตามแผนการปรับปรุงควบคุมภายใน กรอบแนวทางปฏิทินและกาหนดการในการปฏิบัติ เพ่ือกากับ
ติดตามผลการปรับปรุงควบคุมภายในของหน่วยงาน/หน่วยงานย่อย รอบ 6 เดือนแรก และจัดทารายงาน
ติดตามประเมินผลการปรับปรุงควบคุมภายในของเทศบาลเมืองเมืองพล (1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม
2565) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้เป็นแนวทางเดียวกันท่ัวทั้งองค์กร สอดคล้องตามมาตรฐานและ
หลักเกณฑก์ ระทรวงการคลัง วา่ ดว้ ยมาตรฐานและหลักเกณฑ์การปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหนว่ ยงานของ
รัฐ พ.ศ. 2561

คณะกรรมการตดิ ตามประเมินผล
ระบบควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองเมืองพล

พฤษภาคม 2565

สารบัญ

หน้า

สว่ นที่ 1 ความหมาย มาตรฐานและการดาเนนิ งาน 1
ความหมายของการควบคุมภายใน 1
วตั ถุประสงค์การควบคุมภายใน 2
ความรับผดิ ชอบต่อการควบคุมภายใน 2
การดาเนินการติดตามประเมินผลการควบคมุ ภายใน 3
การวางแผนและการดาเนนิ การประเมินผลการควบคุมภายใน 3
การจัดทารายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน

สว่ นที่ 2 ผลการดาเนินงาน

รายงานตดิ ตามความก้าวหน้า การตดิ ตามประเมนิ ผลแผนการปรบั ปรงุ ควบคุมภายใน

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 9

ส่วนท่ี 3 ประเด็นความเส่ียงใหม่ทพ่ี บจากการปฏิบัติงาน 37
ประเดน็ ความเสีย่ งใหม่ท่ีพบจากการปฏิบตั ิงาน

ภาคผนวก 39
1. ภาพประกอบการประชมุ คณะกรรมการตดิ ตามประเมินผลระบบควบคมุ ภายใน

เทศบาลเมืองเมืองพล
2. คาส่ังเทศบาลเมืองเมืองพล ท่ี 864/2564 เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการติดตาม

ประเมินผลระบบควบคุมภายในเทศบาลเมืองเมืองพล
3. คาสงั่ คณะทางานการติดตามประเมินผลระบบการควบคมุ ภายในของส่วนราชการ

เทศบาลเมืองเมืองพล

ข | ห น้ า

ส่วนท่ี 1 ความหมาย มาตรฐานและการดาเนนิ งาน

1. ความหมายของการควบคมุ ภายใน

การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการท่ีผู้กากับดแู ลฝ่ายบริหารและบุคลากรขององค์กร กาหนดให้มี
ขึ้นเพื่อใหค้ วามมัน่ ใจอยา่ งสมเหตสุ มผลวา่ การดาเนนิ งานจะบรรลผุ ลสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ ดังตอ่ ไปน้ี

1) การดาเนินงาน (Operation : O) หมายถึง การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรให้ เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย
การร่ัวไหล การส้ินเปลืองหรือการทจุ รติ ของหนว่ ยงาน

2) การรายงานทางการเงินและไม่ใช่การเงิน (Financial : F) ปัจจุบันหมายถึง รายงาน ทางการเงินและ
ไม่ใชก่ ารเงนิ ที่จดั ทาข้ึนเพือ่ ใชภ้ ายในและภายนอกหนว่ ยงานเปน็ ไปอยา่ งถูกต้องเชอ่ื ถอื ได้และ ทนั เวลา

3) การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เก่ียวข้อง (Compliance : C) ได้แก่ การปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั หรือมตคิ ณะรฐั มนตรีท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินงานของหน่วยงาน รวมทั้งการปฏบิ ัติ
ตามนโยบายและวิธกี ารปฏบิ ตั งิ านทีห่ น่วยงานไดก้ าหนดข้ึน

2. วตั ถุประสงค์การควบคุมภายใน

1. วัตถุประสงค์ด้านการดาเนินงาน (Operations Objectives) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ของการดาเนินงาน คือ วัตถุประสงค์พื้นฐานของการดาเนินงานในทุกองค์กร โดยมุ่ งเน้นที่กระบวนการ
ปฏิบัติงานท่ีมีคุณภาพ และเอ้ืออานวยให้การดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ในขณะเดียวกันผลที่
ได้รบั จากกระบวนการนัน้ ต้องคมุ้ คา่ กบั ตน้ ทนุ ทใ่ี ช้ไป จึงจะทาใหเ้ กิดความมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. วัตถุประสงค์ด้านการรายงาน (Reporting Objective) ความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน คือ
การจัดให้มีข้อมูลและรายงานทางการเงินท่ีถูกต้อง เพียงพอ และเช่ือถือได้ เพ่ือสร้างความม่ันใจให้กับผู้บริหาร
บคุ ลากรในองคก์ ร และบคุ คลภายนอกในการนาขอ้ มูลดังกล่าวไปใชป้ ระกอบการพจิ ารณาตดั สนิ ใจในเรอื่ งต่างๆ

3. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ (Compliance Objectives)
การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เก่ียวข้อง คือ การมุ่งเน้นให้กระบวนการปฏิบัติงานเป็นไปตาม
กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ เงื่อนไขตามสัญญา ขอ้ ตกลง นโยบาย และแนวทางการปฏบิ ตั งิ านตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

3. ความรบั ผิดชอบต่อการควบคุมภายใน

การควบคุมภายในเป็นเคร่ืองมือท่ีผู้บรหิ ารนามาใช้เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลวา่ การดาเนนิ งาน
จะบรรลผุ ลสาเร็จตามวตั ถุประสงค์รองรับยทุ ธศาสตร์ขององค์กรที่กาหนดไว้

3.1 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หมายถึง ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่ในการกาหนดหรือ
ออกแบบและประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน รวมถึงการกาหนดหรือออกแบบระบบการควบคุม
ภายในของส่วนงานต่างๆ ภายใต้ความรับผิดชอบให้มีประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจ โดยริเริ่มและดาเนินการ
สร้างบรรยากาศ เพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุม และปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างท่ีดี ในเรื่องความ
ซ่ือสัตย์ ความมีคุณธรรม และจริยธรรม มีการกาหนดบทบาทของหน่วยงานตรวจสอบให้เป็นส่วนหน่ึงของ
โครงสร้างการควบคุมภายใน โดยทาหน้าท่ีสอบทานหรือประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ

๑ | ห น้ า

อย่างเป็นอิสระ (Independent Assessment) เพ่ือให้ความม่ันใจว่าหน่วยรับตรวจมีการควบคุมภายในท่ีมี
ประสทิ ธผิ ล มกี ระบวนการบรหิ ารความเสยี่ งอยู่ในระดับท่ยี อมรับได้

3.2 ฝ่ายบริหาร หมายถึง ผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงาน มีหน้าท่ีกาหนดหรือออกแบบการควบคุม
ภายในของส่วนงานที่รับผิดชอบ โดยให้สอดคล้องกับการควบคุมภายในท่ีกาหนด และสอบทาน หรือประเมิน
ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ภายใต้ระบบการควบคุมภายในที่นามาใช้ในการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง
(Control Self Assessment : CSA) ซงึ่ เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการปรบั ปรุง เปลี่ยนแปลง
การควบคุมภายในให้มีความรัดกุม การปลูกฝังให้เจ้าหน้าท่ีในหน่วยงานมีความเข้าใจ มองเห็นความสาคัญ
มีวินัย และจติ สานกึ ทีด่ ี ก็เป็นส่งิ สาคัญทช่ี ่วยใหก้ ารควบคุมภายในมปี ระสทิ ธิผลอยา่ งต่อเนื่อง

“ผู้บริหารควรตระหนักว่าโครงสร้างการควบคุมภายในที่ดี เป็นพ้ืนฐานท่ีสาคัญของการควบคุม
เพอื่ ให้การดาเนินงานบรรลุผลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์รองรบั ยทุ ธศาสตร์และวิสยั ทัศนข์ องหน่วยงาน”

การจัดให้มีโครงสร้างการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลและเพียงพอนั้น ขึ้นอย่กู ับผู้บริหารของหน่วยงาน
ผู้บริหารหรือผู้นาต้องดาเนินการ เพื่อความม่ันใจได้ว่า หน่วยงานของตนมีโครงสร้างการควบคุมภายในที่
เหมาะสม ติดตามผลและปรับปรุงให้ทันกับเหตุการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้การควบคุมน้ันมีประสิทธิผล
อยู่เสมอ มีทัศนคติท่ีดีต่อการควบคุมภายใน และการสนับสนุนจากผู้บริหารเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้เกิดการ
ควบคุมภายในที่ดี นอกจากน้ี ผู้บริหารต้องเป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งต่อตนเองและต่อองค์กร และควรมี
ความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอในหลักการพ้ืนฐานของการควบคุมภายใน และให้ความสาคัญของการจัดให้มี
การควบคมุ ภายใน การนาการควบคมุ ภายในไปปฏบิ ัติและการดารงรักษาไวซ้ ่ึงการควบคุมภายในท่มี ปี ระสิทธผิ ล

3.3 ข้าราชการและพนักงานทุกระดับ ต้องเอาใจใส่ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มาตรการ
คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านด้านต่างๆ และระบบการควบคุมภายในที่หนว่ ยงานจัดให้มีขน้ึ โดยสมา่ เสมอ และต่อเน่ือง

4. การดาเนินการติดตามประเมนิ ผลการควบคุมภายใน

การติดตามประเมินผล (Monitoring) หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน และ
ประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่กาหนดไว้อย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า
ระบบการควบคมุ ภายในท่ีกาหนดไวม้ ีความเพียงพอและเหมาะสม มีการปฏบิ ัตติ ามระบบการควบคุมภายในจริง
ข้อบกพรอ่ งทพี่ บ ไดร้ ับการแก้ไขอยา่ งเหมาะสมและทนั เวลา

การติดตามประเมินผลมี 2 ลักษณะ คือ การติดตามผลการควบคุมในระหว่างการปฏิบัติงาน หรือ
การติดตามประเมินผลอย่างต่อเน่ืองและการประเมินผลการควบคุมเป็นรายครั้ง ซึ่งประกอบด้วยการประเมิน
การควบคุมดว้ ยตนเอง และการประเมนิ การควบคมุ อย่างเป็นอสิ ระ

1) การติดตามผลในระหวา่ งการปฏิบัติงาน (Ongoing Evaluation) เป็นกิจกรรมที่รวมอยู่กับการ
บริหารจัดการ และการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานตามปกติประจาวันของแต่ละส่วนงานย่อย ฝ่ายบริหารและ
บคุ ลากรทุกระดบั ต้องมีความรับผิดชอบร่วมกัน ในการจัดใหม้ ีกิจกรรมการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน
ของหน่วยงานตนเอง

2) การประเมินผลเป็นรายคร้ัง (Separate Evaluation) มีประโยชน์ในการเน้นไปท่ีประสิทธิผล
ของการควบคุมภายในโดยตรง ณ เวลาใดเวลาหน่งึ

๒ | ห น้ า

5. การวางแผนและการดาเนนิ การประเมินผลการควบคมุ ภายใน

มาตรฐานการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วย
มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ระบุให้องค์กร หรือ
หน่วยงานต่างๆ ต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ท้ังในระหว่างการปฏิบัติงานและการ
ประเมินผลการควบคุมภายในเป็นรายครั้ง เพ่ือให้ม่ันใจว่าการควบคุมภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ท่เี ปลยี่ นไป รวมท้งั การควบคุมภายในดาเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธิผล

โดยเทศบาลเมืองเมืองพล จะต้องดาเนินการติดตามประเมินผลการปรับปรุงควบคุมภายในระหว่าง
การปฏบิ ัตงิ านเป็นประจาทกุ เดือน และตดิ ตามประเมินผลการปรับปรุงควบคุมภายในรายครั้ง อย่างน้อยปีละ 1
คร้ัง โดยกาหนดให้ดาเนินการติดตามในระหว่างปีงบประมาณ (รอบ 6 เดือนแรก) และสิ้นปีงบประมาณ (รอบ
12 เดอื น) พร้อมรายงานผลต่อคณะกรรมการติดตามประเมินผลระบบควบคุมภายในเทศบาลเมืองเมอื งพล

5.1 การประเมินผลระดบั องค์กร การควบคุมภายในควรใชผ้ ลการประเมินระดบั สว่ นงานย่อย ในการ
สรุปเป็นการควบคุมภายในระดับองค์กร ท้ังนี้อาจต้องทาการประเมินเพิ่มเติมในส่วนของความเส่ียงบางอย่าง
ซ่ึงควบคุมโดยหน่วยกลางหรือองค์กร เช่น ระดับยุทธศาสตร์ เพราะผู้บริหารระดับส่วนงานย่อยอาจไม่คานึงถึง
วตั ถุประสงคห์ ลายวตั ถปุ ระสงคท์ ี่จะไปเกย่ี วข้องและสมั พนั ธ์ซึ่งกันและกนั

5.2 การประเมินผลระดับส่วนงานย่อย (กลุ่มภารกิจ สานัก และส่วนราชการต่างๆ ภายใต้กลุ่ม
ภารกิจ) เป็นการประเมินผลกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มภารกิจ สานัก และส่วนราชการต่างๆ ภายใต้กลุ่มภารกิจ
รับผิดชอบอย่างน้อยปีละครั้ง เพ่ือให้ผู้รับผิดชอบในระดับภารกิจต่างๆ ตามบทบาทหน้าท่ีมีความมั่นใจพอควร
เกย่ี วกับประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกจิ กรรมทถี่ กู ประเมนิ อยา่ งตอ่ เน่ือง ในการประเมินผลการควบคุม
ภายในระดับกลุ่มภารกิจ สานัก และส่วนราชการต่างๆ ภายใต้กลุ่มภารกิจ รับผิดชอบในการพิจารณา
ประสิทธิผลของ 5 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน และต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการควบคุมภายในของ
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งจะทาใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของระดบั ต่างๆ ภายในองค์กร

6. การจดั ทารายงานการประเมนิ ผลการควบคุมภายใน
3.1 ระดับหน่วยงานย่อย จะดาเนินการประเมินผลควบคุมภายใน และจัดทารายงานผลการ

ควบคมุ ภายในของหนว่ ยงานย่อย ซง่ึ มีรายงาน 5 แบบ คอื
3.1.1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4.1) เป็น

การประเมินมาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบของระดับหน่วยงานย่อย (สานัก ส่วนราชการ และ
หน่วยงานในสังกัด) ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเส่ียง การกาหนดกิจกรรม
ควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามและประเมินผล ผลการประเมินโดยรวม โดยคณะทางานการ
ติดตามประเมนิ ผลระบบการควบคุมภายในของสว่ นราชการ ดาเนนิ การดงั น้ี

1) ประมวลข้อมูลในแต่ละองค์ประกอบจากแบบประเมินองค์ประกอบการควบคุม
ภายใน มาระบุลงในคอลัมน์ที่ 1 ของแบบรายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (แบบ ปค.
4.1)

2) ระบุผลการประเมิน/ข้อสรุปของแต่ละองค์ประกอบลงในคอลัมน์ท่ี 2 พร้อมจุดอ่อน
หรอื ความเส่ียงทยี่ งั มอี ยู่

3) สรุปผลการประเมินโดยรวม 5 องค์ประกอบลงในตอนท้ายแบบรายงาน โดยข้อมูล
ความเส่ียงที่ประเมินได้ ให้นามาระบุในแบบรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5.1 เพื่อ
กาหนดกจิ กรรมควบคมุ ต่อไป)

๓ | ห น้ า

3.1.2 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5.1) เพ่ือ
บันทึกกระบวนการในการประเมินผลการควบคุมภายใน ระบุการควบคุมภายในที่มีอยู่ การประเมินผล
การควบคุมภายใน ความเสี่ยงท่ียังมีอยู่ การควบคุมภายในที่ต้องปรับปรุงและรับผิดชอบ โดยเป็นการประเมิน
การควบคุมภายในที่มีอยู่ของกิจกรรมต่างๆ ทั้งหมดที่หน่วยงานรับผิดชอบ เพื่อวิเคราะห์ความมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และกาหนดกิจกรรมปรับปรุงการควบคุม เพ่ือให้บรรลุ
วตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ ซง่ึ พิจารณาจาก

1) แบบประเมนิ องคป์ ระเมินประกอบของการควบคุมภายใน
2) การตรวจสอบเอกสารหลักฐานทเี่ กีย่ วข้องกับกระบวนการปฏบิ ัตงิ าน
3) การประชุมระดมความคิดเห็นมาวิเคราะห์ เพ่ือประเมินและจาแนกระดับความเส่ียง
และคดั เลือกความเสี่ยง พร้อมทงั้ กาหนดกจิ กรรมการควบคมุ ผรู้ ับผดิ ชอบและระยะเวลาในการดาเนนิ การ
4) คณะทางานการติดตามประเมินผลระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการ ร่วมกัน
ประเมินการควบคุมท่ีมีอยู่ของกิจกรรม/กระบวนการปฏิบัติงานท้ังหมดท่ีหน่วยงานรับผิดชอบ ซึ่งในที่นี้จะ
นาไปใช้ในการกาหนด จาแนกขอบเขตการประเมิน

4.1) ให้ระบุขั้นตอนการดาเนินงานภายใต้กระบวนงาน/ภารกิจ และให้ระบุ
วัตถปุ ระสงค์ของการควบคุมความเสย่ี งในแตล่ ะขั้นตอนการดาเนนิ งาน

4.2) ให้ระบุความเสี่ยงที่คอลัมน์ที่ 2 ระบุกิจกรรมที่แสดงการควบคุมที่มีอยู่ ลงใน
คอลัมน์ที่ 3 ในแต่ละขั้นตอนการดาเนินงานของคอลัมน์ท่ี 1 โดยเป็นการวิเคราะห์ว่ามีกิจกรรมที่มีอยู่เดิม
เพื่อเป็นการควบคุมความเส่ียงของขั้นตอนให้สามารถดาเนินงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ อาจระบุในลักษณะของ
การสรุปขนั้ ตอน/วธิ ปี ฏิบัติ/นโยบาย/กฎเกณฑ์ทใ่ี ช้ปฏบิ ตั ิอยู่

4.3) ประเมินผลการควบคุม ว่าการควบคุมที่ได้กาหนดไว้น้ัน ได้มีการนามาปฏิบัติ
ด้วยหรือไม่ และได้ผลเป็นอย่างไร โดยประเมินภายใต้ 4 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย ความเพียงพอของการ
ควบคมุ , การเป็นทางการของกจิ กรรม, การปฏิบัติกิจกรรมควบคุม และการบรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินว่ามี
ความเพียงพอเหมาะสมตามวัตถุประสงค์หรือไม่ และสามารถควบคุมความเสี่ยงได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ลงใน
คอลัมน์ท่ี 4

4.4) หากการควบคุมทีไ่ มเ่ หมาะสมเพียงพอ ตามประเดน็ การประเมนิ ทั้ง 4 ประเด็น
ต้องวิเคราะห์และระบุได้วา่ มีความเสย่ี งท่ีเหลืออยู่อะไรบ้าง ลงในคอลัมน์ท่ี 5 ซ่ึงการระบุความเส่ียงท่ียงั เหลืออยู่
ใหพ้ จิ ารณาวเิ คราะหเ์ พิ่มเติมจากอกี 2 แหล่ง คือ

(1) รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4.1)
(2) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนการปรับปรุงควบคุมภายใน
ของงวดก่อน (แบบตดิ ตาม ปค. 5.1)
โดยให้นาความเสี่ยงจากท้ัง 2 แหล่ง ไประบุให้ตรง และสอดคล้องกับ
กระบวนการปฏิบัต/ิ โครงการ/กจิ กรรม/ดา้ นของงานทีป่ ระเมิน และขั้นตอนการดาเนนิ งานของคอลมั น์ท่ี 1
4.5) ความเส่ียงท่ีวิเคราะห์ได้ ควรมีการพิจารณาว่ามีโอกาสที่จะเกิด และมี
ผลกระทบมากน้อยเพียงใด เพ่ือเป็นการจัดระดับความเส่ียงและจาแนกความเสี่ยง เป็นความเสี่ยงท่ีสามารถ
บริหารจัดการได้ภายในส่วนราชการ (ผู้อานวยการสานัก กอง หรือส่วนราชการในสังกัด พิจารณาสั่งการและ
บริหารจัดการ) และความเส่ียงท่ีหน่วยงานย่อยไม่สามารถบริหารจัดการเองภายในได้ ให้รายงานมาที่
กองยุทธศาสตรแ์ ละงบประมาณ

๔ | ห น้ า

4.6) กาหนดกิจกรรมการปรับปรุงการควบคุมภายในท่ีเหมาะสมและชัดเจน ลงใน
คอลัมน์ที่ 6 โดยเป็นการระบุกิจกรรมปรับปรุงท่ีจะใช้ดาเนินการควบคุมความเส่ียงของคอลัมน์ท่ี 5 สาหรับ
กิจกรรมควบคุมหรือวิธีการที่นามาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อควบคุมความเส่ียงท่ีจะเกิดข้ึน โดยปกติจะมีอยู่ใน
ทุกข้ันตอนการปฏิบัติงานอยู่แล้ว เช่น การกาหนดนโยบาย การสอบทาน การบันทึกบัญชี การดูแลป้องกัน
ทรัพย์สิน การควบคุมงาน การอนุมัติ การมอบอานาจ การตรวจสอบ การให้คาปรึกษา/คาแนะนาการจัดทา
เอกสารหลักฐานการรายงานผลการปฏิบัติงาน การให้รางวัลจูงใจ เป็นต้น เพียงแต่ต้องมีการปรับปรุงกิจกรรม
ควบคุมความเส่ียงใหป้ ฏิบัติงานได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน เหมาะสม และตอบสนองความเสยี่ งได้ โดยต้อง
เป็นกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดการเพิ่ม หรือปรับปรุงข้ันตอนการดาเนินงาน หรือกระบวนงาน หรือวิธีการปฏิบัติ
หรอื กฎระเบียบใหม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยใชก้ ลไกคณะทางานระดับหนว่ ยงานยอ่ ย (สานกั สว่ นราชการ และ
หนว่ ยงานในสงั กดั ) ในการพจิ ารณาความเหมาะสมของกิจกรรม

4.7) การกาหนดเสร็จและผู้รับผิดชอบให้ทุกงาน ระบุระยะเวลาแล้วเสร็จและ
รับผิดชอบของแต่ละกิจกรรมปรับปรุงลงในคอลัมน์ที่ 7 โดยคานึงถึงความเหมาะสมและความสอดคล้องกัน
ระหว่างลักษณะของกิจกรรมปรับปรุงกับระยะเวลาแล้วเสร็จของกิจกรรม เพ่ือให้การดาเนินงานการควบคุม
ภายในเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ที่ต้ังไว้

4.8) หัวหน้าสานัก ผู้อานวยการกอง ผู้อานวยการส่วนราชการในสังกัดเทศบาล
หรือผู้รักษาการแทน พิจารณาลงนามในแบบรายงานการประเมินผลการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค.
5.1)

3.1.3 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับหน่วยงานย่อย (แบบติดตาม ปค. 5.1) รายเดือน เป็นการติดตาม
ความก้าวหน้าของผลการดาเนินงานตามแผนการปรับปรุงควบคุมภายในของงวดก่อน โดยคณะทางานติดตาม
ประเมินผลการควบคมุ ภายในของหน่วยงานย่อย ดาเนนิ การดังนี้

1) นาข้อมูลจากแบบรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ
ปค. 5.1) คอลัมน์ท่ี 1, 5, 6 และ 7 ของรายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยงานย่อย ปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 มาระบุลงในคอลัมน์ที่ 1, 2, 4 และ 5 ของแบบติดตาม ปค. 5.1 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานในทุกเดือน รอบรายงาน คือ ภายในวันที่ 5
ของทุกเดือน โดยติดตามจากกลุ่มภารกิจหลัก สานัก ส่วนราชการ และหน่วยงานในสังกัด ผู้รบั ผิดชอบกิจกรรม
และให้ระบุสถานะดาเนนิ การ วา่ อยูใ่ นสถานการณ์ ดาเนนิ การลงในคอลัมน์ที่ 4 ซ่ึงประกอบด้วย

1 = ดาเนินการแล้วเสรจ็
2 = ยงั ไม่ได้ดาเนนิ การ
3 = อยรู่ ะหว่างดาเนินการ
3) ระบุรายละเอียดของวิธีการติดตาม และสรุปผลการประเมินข้อคิดเห็นของการ
ประเมินกิจกรรมการควบคุมลงในคอลัมน์ท่ี 5 โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ วิธีการติดตาม สรุปผลการประเมิน
และข้อคิดเห็นให้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นการอธิบายถึงวิธีการปฏิบัติในการดาเนินงาน เช่น สอบถามจากเจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบตรวจสอบจากเอกสารหลักฐาน เป็นต้น และประเมินผลการดาเนินกิจกรรมควบคุมโดยสรุป
พร้อมท้งั ให้ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแก้ไขกิจกรรม ซึ่งจะนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการกาหนด
กจิ กรรมการควบคุมของความเสีย่ งทีย่ ังเหลอื อยู่ในปงี บประมาณต่อไปได้

๕ | ห น้ า

4) ระบุวิธกี ารในการควบคุมภายในเพ่ิมเตมิ ในคอลมั น์ที่ 6 กรณีที่มกี ารดาเนนิ ปรับปรุง
นอกเหนอื จากที่กาหนดไว้ตามแผนการควบคมุ ภายใน

5) เสนอหัวหน้าสานัก ผอู้ านวยการกอง ผอู้ านวยการส่วนราชการในสังกดั เทศบาล หรือ
ผู้รกั ษาการแทน พจิ ารณาและลงนามในแบบติดตาม ปค. 5.1

3.1.4 แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน เป็นการประเมินมาตรฐานการควบคุม
ภายใน 5 องค์ประกอบของระดับส่วนงานย่อย โดยคณะทางานติดตามประเมินผลระบบการควบคมุ ภายในของ
ส่วนราชการ ร่วมกันประเมินในแต่ละประเด็นย่อยของแต่ละองค์ประกอบวา่ หน่วยงานให้ความสาคัญและมีการ
ดาเนินการอย่างไรในแต่ละประเด็นย่อย โดยในตอนท้ายของแต่ละองค์ประกอบให้สรุปและระบุวิธีการท่ีควร
ปฏิบัติโดยรวมขององค์ประกอบนั้นๆ และเสนอหัวหน้าสานัก ผู้อานวยการกอง ผู้อานวยการส่วนราชการใน
สังกดั เทศบาล หรอื ผ้รู ักษาการแทน พจิ ารณาและลงนามในแบบประเมินระดบั หน่วยงานยอ่ ย

3.2 ระดับหน่วยรับตรวจ เป็นข้อสรุปโดยรวมต่อฝ่ายบริหารว่าการควบคุมภายในของหน่วยงาน
สามารถให้ความมั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผล มีมาตรการท่ีจะทาให้หน่วยรับตรวจบรรลุวัตถุประสงค์ของ
หน่วยงานและวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน โดยใช้ผลการประเมินระดับหน่วยงานย่อย ในการสรุปเป็น
รายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยงาน และอาจต้องทาการประเมินเพ่ิมเติมในส่วนของความเส่ียงบางอย่าง
ซึง่ ควบคมุ โดยหนว่ ยตรวจสอบภายใน โดยระดับหนว่ ยรับตรวจ โดยมรี ายงาน 5 แบบ คอื

3.2.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 1) การรับรองการ
ควบคุมภายใน เพ่ือให้ความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในที่ใช้อยู่มีประสิทธิผล และมีความเพียงพอที่จะ
สนับสนุนการดาเนินงานให้บรรลุผลสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด ซ่ึงกรณีจุดอ่อนท่ีมีนัยสาคัญ ให้
คณะกรรมการติดตามประเมินผลระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน ระบุประเด็นจุดอ่อน ลงในแบบรายงาน
และเสนอแนวทางแก้ไขประเด็นจุดอ่อนดังกล่าว และเสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบและลงนามในหนังสือ
รับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 1) โดยในการพิจารณาให้ความเห็นชอบของผู้บริหาร
พิจารณาร่วมกับแบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ
ปค. 6) ของผู้ตรวจสอบภายใน

3.2.2 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) ในการ
ประเมินมาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบของระดับหน่วยรับตรวจ จะประกอบด้วย สภาพแวดล้อม
การควบคุม การประเมินความเสี่ยง การกาหนดกิจกรรมควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร และการติดตาม
ประเมินผล โดยคณะกรรมการติดตามประเมนิ ผลระบบการควบคมุ ภายใน ดาเนินการดงั นี้

1) ประมวลข้อมูลในแตล่ ะองค์ประกอบของการควบคุมภายใน มาระบุลงในคอลมั น์ท่ี 1
ของแบบรายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) ประกอบกับการประมวล
สรุปมาจากรายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4.1) ของแต่ละหน่วยงาน
ย่อย

2) ระบุผลการประเมิน/ข้อสรุปของแต่ละองค์ประกอบ ลงในคอลัมน์ที่ 2 พร้อม
จุดอ่อน หรอื ความเสยี่ งทีย่ ังมีอยู่

3) สรุปผลการประเมินโดยรวมของ 5 องค์ประกอบ ลงในตอนท้ายของแบบรายงาน
โดยข้อมูลความเสี่ยงที่ประเมนิ ได้ ให้นามาระบุในแบบรายงานแผนการปรับปรงุ การควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5)
เพ่ือกาหนดกจิ กรรมควบคมุ ตอ่ ไป

4) เสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบ และลงนามในแบบรายงานผลการประเมิน
องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4)

๖ | ห น้ า

3.2.3 รายงานแผนการปรบั ปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5) การนาเสนอจุดอ่อนของ
ระบบการควบคุมภายในหรือความเสี่ยงท่ียังมีอยู่ พร้อมแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน โดยจัดทา
รายงานเฉพาะความเส่ียงท่ีร้ายแรง ที่ระบบการควบคุมภายในไม่สามารถลดความเส่ียงจากข้อผิดพลาด หรือ
ความเสียหายที่ยอมรับได้ และฝ่ายบริหารไม่สามารถตรวจพบได้ทันกับสถานการณ์ โดยคณะกรรมการติดตาม
ประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ดาเนินการดังนี้

1) รายงานผลการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค.4)
2) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดบั หน่วยรบั ตรวจ (แบบติดตาม ปค.5) รอบ 12 เดือน
3) รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5.1) ของ
แต่ละหน่วยงานย่อย แผนการควบคุมภายใน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทศบาลเมืองเมืองพล โดย
พิจารณาจาแนกกระบวนการดาเนินงานของเทศบาลเมืองเมืองพลเป็นด้านต่างๆ เช่น ด้านสารบรรณ
ด้านการเงิน พัสดุ ด้านการสาธารณสุข ด้านการศึกษา ด้านการคลัง ด้านการบริหารงานบุคคล เป็นต้น โดยใน
แต่ละด้านถ้าเป็นกระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ ให้ระบุขั้นตอนหลักท่ีสาคัญ และกาหนดวัตถุประสงค์
การควบคุมของแต่ละขั้นตอนหลักลงในคอลัมน์ที่ 1 ทั้งนี้ แต่ละกิจกรรม/ด้าน/ข้ันตอนอาจมีได้หลาย
วัตถุประสงค์
1) การระบุความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ จากรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ
ปค. 5.1) ของแตล่ ะหน่วยงานยอ่ ยให้ประมวลความเสยี่ ง โดยประเมินจาก 2 กรณี คอื

- ความถ่ีของความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้นของส่วนงาน โดยให้จัดกลุ่มความเสี่ยงท่ีมีลักษณะ
เดียวกันไว้ด้วยกัน และเลอื กกลุ่มความเสีย่ งท่ีมคี วามเสยี่ งสูงและประมวลเป็นความเส่ยี งขององค์กร

- ระดับความรุนแรง/ผลกระทบ/ความเสียหายของความเส่ียงที่มีต่อองค์กร โดยการ
พิจารณาวา่ เปน็ ความเสยี่ งท่สี ง่ ผลตอ่ งานภารกิจหลักขององค์กร

2) การปรับปรุงการควบคุมในคอลัมน์ที่ 6 ให้ประมวลกิจกรรมการควบคุมของแต่ละ
หน่วยงานยอ่ ยตามหัวข้อความเสยี่ งท่ีประมวลได้ในคอลัมนท์ ี่ 2 โดยต้องเป็นกิจกรรมที่ส่งผลให้เกดิ การเพ่ิม หรือ
ปรบั ปรุงขั้นตอนการดาเนินงาน หรอื กระบวนงาน หรือวิธปี ฏิบัติ หรอื กฎระเบยี บ หรอื ออกกฎระเบียบใหม่ทีเ่ ป็น
ลายลกั ษณอ์ กั ษร โดยให้ใช้กลไกคณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผลระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน

3) การกาหนดเสร็จ และผู้รับผิดชอบให้ระบุระยะเวลาแล้วเสร็จ และผู้รับผิดชอบของ
แต่ละกิจกรรมลงในคอลัมน์ที่ 7 โดยใช้ข้อมูลจากแบบรายงานการประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน
(แบบ ปค.5.1) ของแต่ละหน่วยงานยอ่ ย

4) เสนอผู้บริหารพิจารณาให้ความเห็นชอบ และลงนามในแบบรายงานแผนการ
ปรบั ปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5)

3.2.4 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับหน่วยรับตรวจ (แบบตดิ ตาม ปค. 5) ทุกเดือน เพ่ือตดิ ตามความก้าวหน้าของ
ผลการดาเนนิ งานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดกอ่ น (ตามแผนทจ่ี ดั ทารอบสิ้นปี พ.ศ. 2564)
โดยคณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผลระบบการควบคุมภายในของเทศบาลเมืองเมืองพล ดาเนินการดังน้ี

1) นาข้อมูลจากแบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5)
คอลัมน์ของรายงานการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มาระบุลงในคอลัมน์ของ
แบบติดตาม ปค. 5

๗ | ห น้ า

2) ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงานใน 2 รอบรายงาน คือ รอบ 6 เดือนแรก และ
12 เดือน โดยติดตามจากรายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับหน่วยงานย่อย (แบบติดตาม ปค. 5.1) และใหร้ ะบุสถานะดาเนินการ วา่ อย่ใู น
สถานการณด์ าเนินการใดในคอลมั นท์ ่ี 6 ซงึ่ ประกอบดว้ ย

1 = ดาเนินการแล้วเสรจ็
2 = ยังไม่ได้ดาเนินการ
3 = อยูร่ ะหวา่ งดาเนนิ การ
3) ระบุรายละเอียดของวิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็นของการ
ประเมินกิจกรรมการควบคุมลงในคอลัมน์ท่ี 7 โดยแบ่งเป็น 3 ได้แก่ วิธีการติดตาม สรุปผลการประเมิน และ
ข้อคิดเห็นให้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นการอธิบายถึงวิธีการที่คณะกรรมการติดตามฯ ใช้ในการติดตาม เช่น สอบถาม
เจ้าหน้าท่ี ผู้รับผิดชอบ ตรวจสอบจากเอกสารหลักฐาน เป็นต้น และประเมินผลการดาเนินกิจกรรมควบคุม
โดยสรุป พร้อมท้ังให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพ่ือการปรับปรุงแก้ไขกิจกรรม ซึ่งจะนาไปใช้เป็นแนวทางใน
การกาหนดกิจกรรม การควบคมุ ของความเสี่ยงทยี่ ังเหลืออยใู่ นปีงบประมาณต่อไปได้
4) เสนอผู้บริหาร พิจารณาและลงนามในแบบติดตาม ปค.5

๘ | ห น้ า

ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนนิ งาน

รายงานติดตามความกา้ วหน้าการติดตามประเมนิ ผล แผนการปรบั ปรงุ ควบคุมภายใน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ของเทศบาลเมอื งเมืองพล

สาหรบั ระยะเวลาการดาเนนิ งาน ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2565 (รอบ 6 เดอื น)

ภารกจิ ตามกฎหมายท่จี ัดตง้ั หนว่ ยงาน ความเส่ียง หน่วยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
1. การแกไ้ ขปญั หาเน้นไปท่ีการดาเนนิ งานใน กาหนดเสร็จ - ไมม่ กี ารรายงานความกา้ วหน้าของการ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กิดขนึ้ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอ่ืนๆทีส่ าคญั ของ การเชิงป้องกนั จึงทาให้เกิดความเส่ียงต่อการ - ดาเนนิ การให้คณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล เพิ่มเตมิ (ถ้ามี)
หน่วยงานของรฐั /วตั ถุประสงค์ เกิดความเสยี หายเม่อื เกดิ สาธารณภยั สานักปลดั เทศบาล ระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมอื งเมอื งพล
2. ภยั ธรรมชาตเิ ปน็ สง่ิ ท่ีไม่สามารถคาดการณ์ - งานป้องกนั และ ดาเนินการ ทราบ -
1. งานปอ้ งกันและบรรเทา ลว่ งหนา้ หรือยบั ยง้ั ไมใ่ ห้เกิดได้ บรรเทาสาธารณภยั แลว้ เสรจ็ - ลว่ งเลยระยะเวลาท่กี าหนด
สาธารณภัย (ส้ินสุด 30 กนั ยายน -
๑. ใชเ้ วลาในการทาความเหน็ นานเกินไปอาจ 2565) - รวบรวมกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งให้สบื คน้ หางา่ ย
กิจกรรม : การปอ้ งกนั และบรรเทา กระทบตอ่ ระยะเวลาในการดาเนนิ การทาง และรวบรวมพยานหลักฐานใหค้ รบถว้ น
สาธารณภยั ได้แก่ อคั คภี ยั วาตภัย ภัย กฎหมายในบางกรณี เช่น การดาเนนิ คดี สานกั ปลัดเทศบาล
แล้ง ภัยหนาว รวมถงึ ภยั อื่นๆ ไม่ว่าจะ - งานนิตกิ าร
เกิดจากธรรมชาติหรือมนุษยท์ าให้ (สิ้นสดุ 30 กนั ยายน
เกดิ ขนึ้
วัตถุประสงค์

1. เพือ่ เปน็ การเตรียมความพรอ้ มใน
การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ท่ี
อาจจะเกิดขน้ึ และใหค้ วามชว่ ยเหลือได้
ทันที

2. สามารถปอ้ งกนั หรือลดความสญู เสีย
ของชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชนได้

2. งานนติ กิ าร
กจิ กรรม : การเสนอความเหน็ ทาง

กฎหมาย

9 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายท่จี ดั ต้งั หนว่ ยงาน ความเสยี่ ง หน่วยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสรจ็ วธิ ีในการควบคุมภายในเพิ่มเตมิ **กรณีความเสี่ยงทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอน่ื ๆท่ีสาคญั ของ อยรู่ ะหว่าง - รวบรวมพยานหลกั ฐานให้ครบถว้ นทกุ เพมิ่ เตมิ (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรฐั /วตั ถปุ ระสงค์ ดาเนินการ ประเด็น
-
วตั ถปุ ระสงค์ ๒. กฎหมาย ระเบยี บ ข้อหารือ การตีความ 2565) อยรู่ ะหวา่ ง 1.ส่งบุคลากรไปอบรมในเรอ่ื งทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ดาเนินการ 2.กาชบั เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้รับผิดชอบดาเนินการตาม -
- เพ่อื ให้การปฏิบัติราชการตามอานาจ หรือวนิ จิ ฉยั เร่ืองทเี่ ก่ียวขอ้ งของหน่วยงานหลกั ขัน้ ตอนอนั เปน็ สาระสาคัญท่ีกฎหมายกาหนด
3.สง่ ข้อเท็จจรงิ พร้อมพยานหลกั ฐานให้ 10 | ห น้ า
หน้าทเี่ ปน็ ไปด้วยความถูกตอ้ ง ดา้ นการใหค้ วามเหน็ ทางกฎหมายไม่ชัดเจน พนกั งานอยั การก่อนครบอายคุ วามไม่น้อยกว่า
3 เดอื น
หรอื จาเปน็ ตอ้ งตีความต่อ
1.เรง่ รดั การสอบสวนให้อยใู่ นกรอบระยะเวลา
อย่างไรก็ตามแมค้ วามเสย่ี งจะยงั มอี ยู่ 2.เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพกรรมการสอบสวน โดย
ส่งไปศึกษาอบรมเพิม่ เตมิ อยเู่ สมอ
ด้วยกลไกการควบคมุ ภายในทมี่ อี ยู่สามารถ 3.ศึกษาประเดน็ ทเี่ ปน็ กรณีศึกษาใหมๆ่ จาก

จัดการความเสยี่ งดงั กลา่ วได้

3. งานนติ ิการ

กิจกรรม : การดาเนนิ คดี ๑. เจา้ หนา้ ทย่ี งั ขาดความรูค้ วามเข้าใจใน สานกั ปลดั เทศบาล

วตั ถุประสงค์ ระเบียบขัน้ ตอนการปฏิบตั ิในการบริหาร - งานนิตกิ าร

- เพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ คดเี ปน็ ไปตาม สญั ญา การแจง้ คาสั่งทางปกครอง การจัดทา (สิ้นสุด 30 กนั ยายน

หลักเกณฑ์เง่ือนไขที่กฎหมายกาหนด และรวบรวมเอกสาร 2565)

๒. เจ้าหน้าทย่ี งั มีความสบั สนตอ่ ขน้ั ตอน

วิธกี ารแจ้งคาสัง่ หรือการแสดงเจตนาระหวา่ ง

คู่สัญญา

๓. เจ้าหนา้ ทผี่ รู้ ับผิดชอบยังขาดความรูค้ วาม

เข้าในวิธีปฏิบตั ใิ นการจดั เก็บข้อมลู ใหเ้ ป็น

ระบบ

๔. ระเบยี บกฎหมายมีการแกไ้ ขบอ่ ย ตอ้ งปรบั

รูปแบบวธิ กี ารใหส้ อดคลอ้ ง

4. งานนติ ิการ

กิจกรรม : การดาเนนิ การทางวนิ ัย ๑. กรรมการสอบสวนทไ่ี ด้รบั แตง่ ตั้ง และ สานกั ปลัดเทศบาล

วัตถุประสงค์ เจ้าหน้าที่ยงั ขาดความรู้ความเข้าใจในระเบียบ - งานนิตกิ าร

- เพื่อให้การดาเนนิ การทางวนิ ยั ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ (สิ้นสุด 30

เปน็ ไปตามหลกั เกณฑเ์ งือ่ นไขทีก่ ฎหมาย ๒. มกี ารปดิ บังซ่อนเร้นอาพรางพยานหลักฐาน กนั ยายน 2565)

ภารกจิ ตามกฎหมายที่จัดตงั้ หน่วยงาน ความเสยี่ ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
ทง้ั ทีอ่ ยใู่ นรปู เอกสารและในระบบ กาหนดเสรจ็ แหลง่ ข้อมูลตา่ งๆ เช่น กลุม่ ไลนเ์ รยี นวินยั **กรณีความเสย่ี งทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อน่ื ๆที่สาคญั ของ อเิ ลก็ ทรอนกิ สซ์ ึ่งยงั ขาดการควบคมุ ตรวจสอบ อยู่ระหว่าง ออนไลน์ของ อ.ประวทิ ย์ เปรือ่ งการ เพ่มิ เตมิ (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วัตถุประสงค์ ทเ่ี ขม้ งวด ดาเนินการ
๓. ผู้ถูกกลา่ วหา/กรรมการสอบสวน โอนย้าย 1.ทาแบบฟอร์มคารอ้ งเดียวกัน -
ระเบียบ ประกาศ มติ ครม. กาหนด ในระหว่างการสอบสวน อยูร่ ะหวา่ ง 2.วนิ ิจฉัยและสง่ เร่ืองใหผ้ ้รู บั ผิดชอบโดยเร็ว
ดาเนินการ 3.ใหม้ ีศูนย์กลางการรบั เร่อื งรอ้ งเรยี นร้องทกุ ข์ -
5. งานนติ กิ าร ๑. สว่ นราชการทร่ี ับผิดชอบแก้ไขปญั หาขาด สานกั ปลัดเทศบาล การรายงานและตดิ ตามประเมินผล
กจิ กรรม : การขับเคลือ่ นศนู ยร์ ับ การรายงานผลใหศ้ นู ย์ฯ ทราบอยา่ งต่อเนื่อง ผู้ - งานนติ ิการ 11 | ห น้ า
รอ้ งไดร้ ับการช่วยเหลือและแจง้ ผลลา่ ช้า (สิ้นสดุ 30 กนั ยายน 1.ดาเนนิ การให้แลว้ เสรจ็ ตามกรอบระยะเวลา
เร่อื งราวร้องทกุ ข์ ๒. การส่งเรือ่ งให้สว่ นราชการท่ีรบั ผิดชอบ 2565) ทกี่ ฎหมาย ระเบียบ ประกาศกาหนด
วตั ถุประสงค์ ดาเนนิ การยงั มีขั้นตอนทย่ี ุ่งยากซบั ซ้อน สว่ น 2.แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ความ
ราชการยังขาดความรู้ความเข้าใจ รับผดิ ทางละเมดิ จากผูม้ ีความรแู้ ละ
- เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานของศูนยร์ ับ ๓. ความเชอ่ื มน่ั ของประชาชนที่จะไดร้ ับความ ประสบการณ์
เรือ่ งราวรอ้ งทกุ ข์ ดาเนินการไปอยา่ งมี ช่วยเหลอื ในระยะเวลาอันใกล้ยังนอ้ ย เนื่องจาก 3.จัดอบรมและหรอื ส่งเจ้าหนา้ ทไี่ ปอบรมใน
ประสิทธภิ าพ ระบบราชการยงั ขาดการปฏริ ปู สว่ นงานที่เกย่ี วขอ้ ง
4.บงั คบั ใช้กฎหมายปกครองทเ่ี กี่ยวข้องอยา่ ง
6. งานนิติการ ๑. ช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ สานกั ปลัดเทศบาล เครง่ ครดั
กิจกรรม : การดาเนินการทางละเมดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ เป็นอุปสรรคต่อการ - งานนติ กิ าร
ดาเนินงานในการฝกึ อบรมแกบ่ ุคลากร (ส้ินสุด 30
วตั ถุประสงค์ ๒. การประเมนิ มลู คา่ ของทรพั ย์สนิ ทเี่ สียหาย กันยายน 2565)
- เพือ่ ใหก้ ารดาเนนิ การทางละเมดิ ซ่ึงมิใช่เงิน และการกาหนดสดั สว่ นความรับผดิ
ทางละเมดิ
เป็นไปตามหลักเกณฑ์เงือ่ นไขท่กี ฎหมาย ๓. การบังคบั ตามคาสง่ั ทางปกครองกรณี
ระเบยี บ ประกาศกาหนด วนิ จิ ฉยั ใหช้ ดใช้ค่าสินไหมทดแทนความรบั ผิด
ทางละเมดิ

ภารกจิ ตามกฎหมายทีจ่ ดั ต้งั หน่วยงาน ความเสีย่ ง หน่วยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผิดชอบ/ ดาเนินการ -
กาหนดเสรจ็ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กิดข้นึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อ่นื ๆท่ีสาคญั ของ ยงั ไม่ได้ เพ่ิมเติม (ถ้ามี)
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถปุ ระสงค์ ดาเนินการ
ความเสีย่ งที่เกิดข้นึ ใหม่
7. งานธุรการ - การแก้ไขขอ้ มูล/ขอ้ ความ
หนงั สือ (ท่ีผบู้ ริหารลงนาม
กิจกรรม : การพฒั นาการใชร้ ะบบ - ปัญหาด้านการปฏบิ ัติงานระบบสารบรรณ สานกั ปลัดเทศบาล เรียบร้อยแล้ว) และไม่นาเขา้ ใน
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์
สารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องเทศบาล อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทสี่ อดคลอ้ งและเปน็ ไปตาม - ฝ่ายบริหารงาน จึงทาให้ข้อมลู ทสี่ ว่ นราชการ
นาไปใช้และในระบบไม่ตรงกนั
เมอื งเมืองพล กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของระบบราชการ ทั่วไป มาตรการและวิธกี ารควบคมุ
ภายใน
วัตถุประสงค์ - ปัญหาดา้ นความปลอดภยั - งานธรุ การ - แจง้ เวียนใหส้ ว่ นราชการทราบ
ถึงแนวทางปฏิบตั ิ กรณีการ
1. เพื่อใหก้ ารปฏบิ ัติดา้ นงานระบบ (ส้นิ สดุ 30 แก้ไขข้อมูล/ขอ้ ความหนงั สือ
ราชการ เพือ่ การปฏิบตั งิ าน
สารบรรณอิเล็กทรอนิกสข์ องเทศบาลเมอื ง กนั ยายน 2565) ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ี
สอดคล้องและเปน็ ไปตาม
เมอื งพลเป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับของ
ระบบราชการ โดยกาหนดให้
2. เพอ่ื ใหก้ ารเขา้ ใช้งานระบบสาร สว่ นราชการจดั ทาบันทกึ
ขอ้ ความ เพอ่ื เสนอตอ่ ผูบ้ รหิ าร
บรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และเกบ็ รักษา โปรดทราบและพิจารณาลงนาม
สาหรับการใหแ้ ก้ไขข้อมลู /
หนงั สอื ราชการมคี วามปลอดภยั ทส่ี งู ขนึ้ ขอ้ ความในหนังสือราชการ

12 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ดั ตง้ั หนว่ ยงาน ความเสีย่ ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
- เจา้ หนา้ ท่หี น่วยงานผเู้ บิก กอง/ฝ่าย ตา่ งๆ กาหนดเสร็จ **กรณีความเส่ยี งทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อ่ืนๆท่ีสาคญั ของ ไม่ได้ตรวจสอบเอกสารที่ประกอบฎีกาขอเบกิ เพมิ่ เติม (ถ้าม)ี
หนว่ ยงานของรัฐ/วัตถปุ ระสงค์ ว่าครบถว้ นหรอื ไม่กอ่ นวางฎีกา เจา้ หนา้ ท่ีจงึ กองคลัง
ตอ้ งติดตามเอกสารมาใหค้ รบถ้วนอาจทาให้ - งานการเงนิ และ อยรู่ ะหว่าง 1.เจ้าหนา้ ที่แต่ละคนปฏิบตั ิหนา้ ทค่ี าสั่งอย่าง -
8. งานการเงินและบญั ชี ล่าช้า บญั ชี ดาเนินการ ถูกตอ้ ง ชดั เจน มีประสิทธภิ าพมากขน้ึ
กจิ กรรม : การตรวจสอบฎกี ากอ่ น (ส้นิ สดุ 30 2.เจา้ หน้าทีผ่ รู้ บั ผิดชอบเขา้ ใจแนวทางปฏิบตั ิ
กันยายน 2565) ในการจัดทาฎกี าการตรวจสอบฎีกาเบิก
อนมุ ัติเบิกจา่ ยเงินงบประมาณ จ่ายเงิน ทาให้เกิดความผดิ พลาดนอ้ ยลง
วัตถุประสงค์ วธิ ใี นการควบคมุ ภายในเพิ่มเตมิ
1.มีคาสั่งแบ่งงานกาหนดหน้าทีค่ วาม
- เพื่อให้การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณ รับผิดชอบเจา้ หน้าทีแ่ ตล่ ะคนอยา่ งชัดเจน
ถกู ต้องตามระเบียบฯ 2.มกี ารประชมุ ชี้แจงแนะนาทาความเขา้ ใจ
แนวทางปฏบิ ัตใิ นการจัดทาฎีกาการตรวจสอบ
ฎีกาเบกิ จา่ ยเงินให้แก่เจา้ หนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบ

9. งานการเงินและบัญชี - เจ้าหน้าทกี่ ารเงนิ ฯ ของหน่วยงานภายใต้ กองคลัง อยู่ระหวา่ ง 1.มีคาสง่ั แต่งตั้งเจ้าหน้า ท่ผี ู้รบั ผดิ ชอบการ ความเส่ยี งท่เี กิดขึน้ ใหม่
กจิ กรรม : การบนั ทึกบัญชรี ะหวา่ ง ดาเนินการ
สังกดั เทศบาลเมอื งเมืองพล (หนว่ ยงานลูก) ยงั - งานการเงนิ และ ดาเนนิ การทางบญั ชที ี่ชดั เจน 1.ความผิดพลาดจากการบนั ทกึ
หน่วยงานภายใตส้ งั กัดเทศบาลเมือง
เมืองพล ขาดความรูใ้ นการปฏิบตั ิงานในระบบบญั ชี บัญชี 2.มกี ารประชมุ ชแ้ี จงแนะนาแนวทางการ บญั ชผี ดิ หมวดรายจ่าย
วัตถปุ ระสงค์
คอมพิวเตอร์ (e-laas) (ส้ินสดุ 30 บนั ทึกบญั ชีด้าน รบั เงนิ จา่ ยเงนิ และการบนั ทกึ 2.ความผดิ พลาดอนั เนื่องมาจาก
- เพอ่ื ให้เจ้าหน้าทีส่ ามารถใช้ระบบ
บัญชคี อมพิวเตอร์ (e-laas) เพ่ือการ กันยายน 2565) บญั ชใี ห้สอดคลอ้ งตามมาตรฐานการบญั ชี เอกสารการลงบญั ชีไม่ถูกตอ้ ง/
ติดตามการบรหิ ารงบประมาณไดอ้ ย่าง
รวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพ ภาครฐั และนโยบายการบญั ชีภาครัฐ ใหแ้ ก่ ไม่ครบถ้วน

เจา้ หน้าที่ผรู้ บั ผดิ ชอบ 3.มีการเปลยี่ นแปลงระบบการ

3.ศึกษาระเบียบกฎหมายเพม่ิ เตมิ เป็นประจา ลงบญั ชบี อ่ ยครงั้ ทาให้เจา้ หนา้ ที่

เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางปฏิบตั งิ าน ตอ้ งปรบั ปรุงและเรยี นรู้อยู่

วิธีในการควบคุมภายในเพิม่ เตมิ ตลอด

1.มีคาสง่ั แบ่งงาน ใหเ้ จา้ หน้า ท่ีรบั เงินและ

เจา้ หนา้ ท่ีบนั ทึกบัญชีเปน็ คนละคนกนั เพือ่

13 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ดั ตง้ั หนว่ ยงาน ความเส่ยี ง หน่วยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสี่ยงทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อ่นื ๆที่สาคญั ของ เพ่มิ เติม (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วตั ถปุ ระสงค์
-
ป้องกันการทจุ ริตและเพอื่ ให้สามารถสอบทาน
การปฏิบตั ิงานของกนั และกันได้ -
2.มีการจดั ทาบญั ชีและรายงานทางการเงินให้
เป็นปัจจบุ นั 14 | ห น้ า
3.มกี ารตรวจสอบและกระทบยอดรายงาน
ทางการเงนิ เปน็ ประจาทกุ ครงั้ ทมี่ กี ารบนั ทกึ
บัญชี

10. งานผลประโยชน์และกจิ การ 1. เจ้าหนา้ ท่ผี รู้ ับผิดชอบขาดความรู้ความ กองคลงั อยู่ระหวา่ ง 1.กาชบั เจ้าหนา้ ท่ีผู้รบั ผิดชอบเมื่อนาไปใช้แลว้
พาณิชย์ ชานาญความสามารถในการแปลรหสั อักษร - งานผลประโยชน์ ดาเนินการ ให้จัดเก็บให้ถกู ต้องทันที
กอ่ นนา ผ.ท.๔, ผ.ท.๕ เข้าจดั เกบ็ จงึ ทาให้ และกจิ การพาณิชย์ 2.หากไม่สามารถจดั เก็บได้ทนั ทีใหจ้ ดั เก็บไว้
กิจกรรม : การควบคุมการจัดเกบ็ การจัดเก็บ ผ.ท.๔, ผ.ท.๕ ล่าชา้ ไมถ่ กู ต้อง (สิ้นสดุ 30 เป็นสัดสว่ น เพอ่ื ไมใ่ ห้กระจดั กระจาย และ
เอกสาร (ผ.ท.๔, ผ.ท.๕) 2. อปุ กรณ์ (ตู)้ ชารดุ เสี่ยงต่อการสูญหาย กนั ยายน 2565) ปอ้ งกันการสูญหาย
วตั ถปุ ระสงค์ 3.กาชับหวั หนา้ งานให้ตรวจสอบเป็นประจา
วิธใี นการควบคุมภายในเพม่ิ เติม
- เพื่อให้การค้นหาเอกสารและการ - เจา้ หนา้ ที่ไดน้ าเอกสาร ผ.ท.๔,๕ ออกมาใช้
จดั เกบ็ ภาษเี ปน็ ไปด้วยความรวดเรว็ และมี แลว้ จดั เก็บเขา้ ท่ีไม่ถกู ต้องตามรหสั อกั ษรเมอ่ื มี
ประสิทธภิ าพ ผมู้ าชาระภาษที าให้ใช้เวลานานในการคน้ หา
โดยเฉพาะหากเป็นชว่ งยน่ื แบบชาระภาษี
พร้อมกนั หลายรายจะทาให้เกิดความลา่ ชา้ ใน
ดา้ นการใหบ้ ริการ

11. งานผลประโยชนแ์ ละกจิ การ กองคลัง อยรู่ ะหวา่ ง 1.มกี ารขอเอกสารหลักฐานขอ้ มลู ที่เปน็
พาณชิ ย์

กิจกรรม : การจัดเก็บภาษที ี่ดนิ และ - เนอื่ งจากยงั ไม่สามารถจดั เก็บไดค้ รบ

ภารกจิ ตามกฎหมายท่ีจัดต้ังหน่วยงาน ความเสี่ยง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
100% เปน็ เพราะไม่สามารถติดตอ่ ผคู้ า้ ง กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสี่ยงทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกิจอ่ืนๆทส่ี าคญั ของ ชาระภาษไี ด้ เน่อื งจากไม่มที อี่ ย่ทู ถ่ี ูกต้อง ดาเนินการ ปจั จบุ นั จากผเู้ สยี ภาษี เพ่ิมเติม (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถุประสงค์ ชดั เจน หรือผเู้ สียภาษีอยู่ตา่ งจังหวดั ไม่ - งานผลประโยชน์ 2.มีการแจง้ เปน็ หนังสอื ตดิ ตามทวงถามการ
สะดวกทจี่ ะเดินทางชาระภาษี หรอื มกี าร และกจิ การพาณชิ ย์ ค้างชาระภาษี -
สิง่ ปลูกสรา้ ง เปลยี่ นแปลงกรรมสทิ ธ์ิในทีด่ นิ แตไ่ ม่มีการแจ้ง (สน้ิ สดุ 30 3.มกี ารประชาสัมพันธ์กาหนดการชาระภาษี
วตั ถุประสงค์ ให้ เทศบาลทราบ ทาใหไ้ ม่สามารถติดต่อ กนั ยายน 2565) วิธีในการควบคุมภายในเพิ่มเตมิ
เจา้ ของกรรมสิทธิ์ตวั จรงิ ได้ และไมม่ ีการลง 1.มกี ารรวบรวมขอ้ มลู กฎหมาย ระเบยี บ มติ
- เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญตั ิ ฐานข้อมูลผูช้ าระภาษลี งในระบบแผน คณะรฐั มนตรี แนวทางการปฏบิ ตั ติ า่ งๆ แจ้งให้
ภาษีที่ดนิ และส่ิงปลกู สรา้ ง พ.ศ.2562 พนักงานทราบเพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางการ
ปฏบิ ัติงาน
2.มกี ารชแ้ี จง ทาความเขา้ ใจ นโยบายและ
แนวทางการปฏบิ ัตงิ าน และเผยแพร่
ประชาสมั พนั ธ์ให้ผ้ทู ่ีเก่ยี วข้องทราบอยา่ ง
ท่วั ถึง
3.มกี ารใชร้ ะบบอนิ เตอรเ์ น็ตช่วยในการปฏบิ ตั ิ
หนา้ ท่ี

12. งานพัสดุและทรพั ยส์ นิ กองคลงั อยรู่ ะหว่าง 1.มอบหมายเจา้ หนา้ ทผ่ี รู้ ับผดิ ชอบการเก็บ
กิจกรรม : การเก็บรกั ษาและซอ่ ม - การซอ่ มบารุงครภุ ัณฑ์ไม่เป็นไปตามแผน - งานพัสดแุ ละ ดาเนินการ รักษาพัสดใุ นต้แู ละสถานท่เี กบ็ พสั ดุ
ทรัพยส์ นิ 2.มีแผนการซ่อมบารุงครภุ ัณฑ์สานกั งาน
บารงุ (สิน้ สดุ 30 3.แผนการซ่อมบารงุ ยานพาหนะ
วตั ถุประสงค์ กันยายน 2565) วธิ ใี นการควบคมุ ภายในเพ่มิ เติม
- ผู้รับผดิ ชอบท่ีใช้ครุภัณฑต์ อ้ งดาเนินการตาม
- เพื่อให้ทรัพย์สินมีสภาพท่ีดีและมี แผนฯ
อายุการใช้งานท่ียืนยาว

15 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายท่ีจดั ต้งั หนว่ ยงาน ความเสีย่ ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รบั ผิดชอบ/ ดาเนินการ
- เจ้าหน้าท่ผี ูร้ ับผดิ ชอบดาเนนิ การเบิกเงินตาม กาหนดเสร็จ **กรณีความเสีย่ งทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อืน่ ๆทีส่ าคญั ของ สัญญาจา้ งเหมาบริการในระบบบญั ชี อยรู่ ะหวา่ ง 1.แนะนาทาความเขา้ ใจแนวทางปฏบิ ัตใิ หแ้ ก่ เพมิ่ เตมิ (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรฐั /วตั ถุประสงค์ คอมพิวเตอร์ (e-laas) ยงั ขาดความแม่นยาใน กองคลัง ดาเนินการ เจ้าหน้าที่ผรู้ ับผดิ ชอบ
การเลอื กบญั ชีในการเบิกจ่ายเงิน - งานพัสดแุ ละ 2.มกี ารตรวจสอบก่อนดาเนนิ การเบิกจ่ายเงนิ -
13. งานพัสดุและทรพั ย์สนิ ทรัพยส์ ิน ทุกครัง้
กิจกรรม : การเบกิ จา่ ยเงนิ ตาม (ส้ินสดุ 30 วิธีในการควบคมุ ภายในเพม่ิ เติม -
กนั ยายน 2565) - ผู้รับผดิ ชอบดาเนินการเบิกจ่ายเงินตาม
สญั ญาจ้าง (จา้ งเหมาบรกิ าร) ระเบียบฯ -
วัตถุประสงค์
16 | ห น้ า
- เพือ่ ใหก้ ารเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ถูกต้องตามประเภทรายจ่ายตามระเบียบฯ

14. ฝา่ ยแบบแผนและกอ่ สร้าง

กิจกรรม : การควบคมุ อาคารตาม - เจ้าของอาคารหรอื ปา้ ยขาดความรคู้ วาม กองช่าง อยรู่ ะหว่าง ๑.มีการตรวจสอบแบบแปลนในการย่ืนขอ
- ฝา่ ยแบบแผน ดาเนินการ อนุญาตกอ่ สรา้ ง
พ.ร.บ. ควบคมุ อาคาร เขา้ ใจในข้อกฎหมาย ๒.ตรวจสอบพื้นทีห่ รอื บรเิ วณที่ดนิ แปลงที่ขอ
และก่อสรา้ ง อนุญาตกอ่ สร้าง
วตั ถุประสงค์ (สน้ิ สุด 30 ๓.ใหค้ าแนะนาแนวทางในการจดั ทาแบบ
กันยายน 2565) แปลนและการก่อสรา้ งให้ถกู ตอ้ งตาม
- เพ่อื ให้การก่อสร้างอาคารภายในเขต กฎหมาย
๔.มีการดาเนนิ การตลอดปีงบประมาณ
เทศบาลเมอื งเมอื งพลถกู ต้องตามกฎหมาย วิธใี นการควบคมุ ภายในเพิ่มเติม
- มกี ารกากบั ติดตามและการรายงานผลการ
ควบคุมอาคารและการใชอ้ าคารเปน็ ไป ควบคมุ เขตควบคมุ อาคารและการใช้
ประโยชน์ทด่ี ินประจาเดอื น
ตามทกี่ ฎหมายกาหนดไมส่ ่งผลกระทบ

และความปลอดภยั

15. ฝ่ายแบบแผนและกอ่ สรา้ ง - ประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการ กองช่าง อยรู่ ะหวา่ ง ๑.มีการตรวจสอบแบบแปลนในการยื่นขอ
กจิ กรรม : การขออนุญาตกอ่ สรา้ ง ดาเนินการ อนญุ าตก่อสรา้ ง
ขออนุญาตก่อสรา้ งอาคารไมถ่ อื ปฏิบัติตาม - ฝา่ ยแบบแผน
ดดั แปลงรอื้ ถอนอาคารตาม พ.ร.บ. ๒.ตรวจสอบพ้ืนทีห่ รือบริเวณที่ดินแปลงทขี่ อ
ควบคุมอาคาร กฎหมายกาหนด และกอ่ สร้าง

ภารกจิ ตามกฎหมายที่จัดต้ังหน่วยงาน ความเสีย่ ง หน่วยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
- ผคู้ วบคมุ งานไมเ่ ข้าใจแบบแปลน กาหนดเสร็จ อนุญาตก่อสร้าง **กรณีความเส่ียงทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อ่นื ๆท่ีสาคญั ของ (สน้ิ สุด 30 อยูร่ ะหว่าง ๓.ให้คาแนะนาแนวทางในการจดั ทาแบบ เพม่ิ เติม (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วตั ถุประสงค์ - เจ้าหนา้ ทยี่ ังขาดความรใู้ นการปฏบิ ัตติ าม กนั ยายน 2565) ดาเนินการ แปลนและการกอ่ สรา้ งให้ถูกตอ้ งตาม
ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการจดั ซอื้ จดั กฎหมาย -
วัตถปุ ระสงค์ จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560 กองชา่ ง อยรู่ ะหว่าง ๔.มกี ารดาเนนิ การตลอดปงี บประมาณ
- เพือ่ ให้การตรวจอนญุ าตตาม - ฝ่ายแบบแผน ดาเนินการ วธิ ใี นการควบคุมภายในเพ่มิ เติม -
และก่อสร้าง - มีการกากบั ตดิ ตามและการรายงานผลการ
กฎหมายควบคุมอาคารเป็นไปอยา่ ง (สนิ้ สุด 30 ควบคุมเขตควบคมุ อาคารและการใชป้ ระโยชน์ 17 | ห น้ า
ถูกตอ้ งและปลอดภัย กันยายน 2565) ท่ดี นิ ประจาเดอื น

16. งานแบบแผนและกอ่ สร้าง กองสาธารณสขุ และ ๑.มีการประชุมในเบือ้ งตน้ ก่อนเรมิ่ งาน
กิจกรรม : การควบคุมงานโครงการ สิง่ แวดลอ้ ม โครงการก่อสรา้ ง เพื่อชแ้ี จงรายละเอียดและ
- งานธรุ การ อธบิ ายข้อกฎหมายที่เกยี่ วข้อง
กอ่ สรา้ งของเทศบาลเมืองเมืองพล (ส้ินสุด 30 ๒.สง่ นายช่าง ผคู้ วบคมุ งานเข้ารับการ
วตั ถุประสงค์ ฝึกอบรมจากหนว่ ยงานที่จดั เกยี่ วกับการ
ก่อสรา้ ง
- เพ่อื สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจในการ วิธใี นการควบคุมภายในเพิม่ เติม
ดาเนนิ งานและปฏบิ ตั หิ นา้ ทีด่ ้านแบบ - มกี ารกากับตดิ ตามและการรายงานผลการ
แปลนและก่อสรา้ ง ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตาม ควบคุมงานใหค้ ณะกรรมการและ
วตั ถปุ ระสงค์ของการก่อสรา้ งได้ ผ้บู งั คับบัญชารับทราบ

17. งานพสั ดุ - เจา้ หน้าท่มี คี วามรู้ในการปฏิบตั ติ ามระเบยี บ
กิจกรรม : การจัดซ้ือจดั จา้ ง พ.ศ. กระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจัดซอื้ จัดจา้ งและ
การบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560 เพ่ิมมาก
2564 ยิ่งขึน้
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ใหก้ ารจัดซ้อื จดั จา้ งเป็นไปตาม

ภารกจิ ตามกฎหมายท่ีจัดต้งั หนว่ ยงาน ความเส่ยี ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผิดชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสรจ็ - การควบคมุ ภายในทม่ี ีอยู่ มคี วามเพียงพอใน **กรณีความเสย่ี งทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอ่นื ๆทส่ี าคญั ของ อยู่ระหวา่ ง ระดบั หนง่ึ เพม่ิ เตมิ (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วัตถุประสงค์ กนั ยายน 2565) ดาเนินการ วิธใี นการควบคมุ ภายในเพมิ่ เติม
- จดั ส่งเจ้าหน้าที่เขา้ รว่ มอบรมและศึกษา -
ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการ 1. พนกั งานขับยังขาดความระมัดระวังในการ กองสาธารณสขุ อยู่ระหวา่ ง ระเบยี บ
จัดซอ้ื จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั ดูแลสุขภาพ ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม ดาเนินการ - จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจแก่พนกั งาน -
พ.ศ.2560 2. การให้บรกิ ารของพนักงานไม่ครอบคลุม - ฝ่ายบรหิ ารงาน และมีการตรวจสขุ ภาพพนักงาน
ทัว่ ถงึ แก่ผูร้ ับบริการ สาธารณสุข 18 | ห น้ า
2. เพื่อใหเ้ กิดความโปรง่ ใสตรวจสอบ - งานรักษาความ - มกี ารประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชน
ได้ สะอาด งดการเผาขยะในเขตพ้ืนท่ีชมุ ชน/ท่ีโล่งแจ้งใน
(ส้นิ สดุ 30 ชุมชน
18. งานรักษาความสะอาด กนั ยายน 2565)
กิจกรรม : การพฒั นาดา้ นการรักษา
1. ประชาชนยังขาดจิตสานกึ ในการชว่ ยกันลด กองสาธารณสขุ และ
ความสะอาดแกพ่ นักงานเก็บขยะ มลพิษทางอากาศ ส่ิงแวดล้อม
วัตถปุ ระสงค์ 2. ประชาชนไม่เข้าใจถงึ โทษของการเผาขยะ - ฝา่ ยบรหิ ารงาน
สาธารณสุข
๑. เพอ่ื ให้พนักงานเกบ็ ขยะไดร้ ับ - งานสขุ าภิบาล
ความรคู้ วามเข้าใจถงึ ผลกระทบดา้ น และอนามัย
สขุ ภาพ (สิ้นสดุ 30
กันยายน 2565)
๒. เพอ่ื ให้พนักงานเกบ็ ขยะมีความ
ปลอดภัยจากการทางานเป็นทมี

3. เพ่ือใชเ้ ทคนคิ การใหบ้ รกิ ารแก่
ประชาชนไดร้ ับความพึงพอใจ

19. งานสขุ าภบิ าลและอนามัย
กิจกรรม : การลดมลพษิ ทางอากาศ

วตั ถปุ ระสงค์
- เพอื่ ลดการเกดิ มลพษิ ทางอากาศ

ภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ดั ตั้งหน่วยงาน ความเสีย่ ง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
- การใช้จา่ ยงบประมาณเงินอดุ หนนุ อาจทา กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสย่ี งทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกิจอ่นื ๆท่ีสาคญั ของ ใหม้ กี ารใชจ้ า่ ย ผดิ วัตถุประสงคไ์ มส่ อดคล้อง เพิม่ เติม (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรัฐ/วัตถปุ ระสงค์ กบั โครงการท่ขี อรบั กองสาธารณสขุ และ อยู่ระหวา่ ง - จดั พ่ีเลีย้ ง ในการประสานงานการใชจ้ า่ ยเงิน
สิ่งแวดล้อม ดาเนินการ อดุ หนุน -
20. งานกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพ - การดาเนินงานด้านการส่งเสรมิ การพฒั นา - ฝา่ ยบรหิ ารงาน
กจิ กรรม : การควบคมุ การเบกิ เมอื งสิ่งแวดล้อมย่งั ยืนทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามแผน สาธารณสขุ -
ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค - งานกองทุน
จ่ายเงนิ อดุ หนุนสาหรบั การบรกิ ารด้าน ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) หลักประกันสุขภาพ
สาธารณสขุ (สิน้ สดุ 30
วตั ถุประสงค์ กันยายน 2565)

1. ควบคมุ การใช้จ่ายงบประมาณให้ กองสาธารณสขุ อย่รู ะหว่าง - จัดทามาตรการ covid free setting รวมท้งั
เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ และสิ่งแวดล้อม ดาเนินการ ขัน้ ตอนการดาเนินงานและระบผุ ูร้ บั ผิดชอบให้
- งานสุขาภิบาล
2. เพอ่ื ให้มกี ารใช้จา่ ยงบประมาณให้ และอนามยั ชดั เจน
สอดคล้องกบั โครงการ (สน้ิ สดุ 30
กันยายน 2565)
3. เพอื่ ใหเ้ จ้าหน้าทสี่ รุปรายงานผล
การใชจ้ ่ายเงนิ เมือ่ ส้นิ สดุ ปีงบประมาณ

21. งานสขุ าภิบาลและอนามัย
กจิ กรรม : ส่งเสรมิ การพัฒนาเมอื ง

สิ่งแวดล้อมยงั่ ยืน
วัตถุประสงค์

- เพอื่ ให้การปฏิบัตหิ น้าทด่ี ้านการ
ส่งเสริมและพฒั นาเมอื งส่งิ แวดลอ้ มยั่งยืน
สามารถดาเนนิ การไดต้ ามกรอบแผนการ
ดาเนินงาน

22. งานสุขาภบิ าลและอนามัย - การดาเนนิ งานด้านการบรหิ ารจดั การ ดแู ล กองสาธารณสขุ อย่รู ะหวา่ ง - จดั ทามาตรการ covid free setting รวมท้ัง -
กจิ กรรม : ตลาดสดนา่ ซอ้ื อย่างยง่ั ยนื ควบคมุ คณุ ภาพและสขุ อนามยั ของตลาดสดที่ และสิง่ แวดลอ้ ม ดาเนินการ ขั้นตอนการดาเนินงานและระบผุ ูร้ บั ผดิ ชอบให้
ไมเ่ ปน็ ไปตามแผน ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ - งานสขุ าภบิ าล 19 | ห น้ า
วัตถุประสงค์ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 และอนามัย ชัดเจน
- เพอ่ื ให้การปฏิบตั หิ น้าท่ีด้านการ

บริหารจดั การ ดูแล ควบคุมคณุ ภาพและ

ภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ัดต้งั หน่วยงาน ความเสี่ยง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รบั ผิดชอบ/ ดาเนินการ
(โควิด-19) กาหนดเสร็จ - จดั ทามาตรการ covid free setting รวมทงั้ **กรณีความเสย่ี งทเ่ี กดิ ข้ึนใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอ่ืนๆท่สี าคญั ของ อย่รู ะหวา่ ง ข้นั ตอนการดาเนินงานและระบผุ ูร้ บั ผิดชอบให้ เพ่ิมเติม (ถา้ มี)
หน่วยงานของรฐั /วตั ถุประสงค์ - การดาเนินงานดา้ นด้านการคดั แยกขยะและ (สิ้นสดุ 30 ดาเนินการ ชดั เจน
ทง้ิ ขยะอยา่ งถูกวธิ ีที่ไม่เป็นไปตามแผน ในช่วง กนั ยายน 2565) -
สุขอนามัยของตลาดสดสามารถดาเนินการ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือ อยูร่ ะหวา่ ง 1. มกี ารออกตรวจสอบ และมปี ฏทิ ินการออก
ได้ตามกรอบแผนการดาเนินงาน ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19) กองสาธารณสขุ ดาเนินการ ตรวจสอบการดาเนินงานดา้ นพัสดุ -
และส่ิงแวดลอ้ ม 2. มกี ารแนะนา กาชับ ให้กับสถานศึกษา
23. งานสุขาภบิ าลและอนามัย 1. ความเสี่ยงดา้ นการจัดหาพัสดุ - งานสุขาภิบาล ดาเนนิ การให้ทนั ตามหว้ งระยะเวลาทีก่ าหนด 20 | ห น้ า
กจิ กรรม : รณรงคก์ ารคดั แยกขยะ 1.1 ระเบยี บกระทรวง มหาดไทยวา่ ดว้ ย และอนามัย 3. มกี ารแก้ไขปรับปรงุ ใหไ้ ดแ้ บบฟอรม์ การ
(สิน้ สดุ 30 จัดซอื้ จดั จา้ งทีเ่ ปน็ ไปตามการจัดซอื้ จัดจา้ ง
และทิ้งขยะอยา่ งถกู วธิ ี การพสั ดุของหน่วยงานการบรหิ าราชการส่วน กนั ยายน 2565) และมกี ารบริหารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560
วตั ถุประสงค์ ทอ้ งถนิ่ พ.ศ.2535 และแกไ้ ขเพมิ่ เติม ได้ถกู แล้ว
ยกเลิกทาให้ต้องถอื ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิ กองการศึกษา 4. ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ ปน็ ปจั จุบันและ
- เพ่ือใหก้ ารปฏิบตั หิ นา้ ทก่ี ารใหบ้ รกิ าร การจดั ซ้ือจดั จา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ - งานการเงินและ ครบถ้วนแล้ว
ด้านการคดั แยกขยะและทง้ิ ขยะอยา่ งถกู วิธี พ.ศ.2560 ซึ่งจะมีขน้ั ตอนการจัดซื้อจดั จ้าง พัสดุ 5. กองการศกึ ษา ได้ดาเนนิ การเรง่ เบิกหกั ผลัก
สามารถดาเนนิ การได้ตามกรอบแผนการ และเอกสารประกอบมากย่ิงข้ึน ทาให้ (สน้ิ สดุ 30 ส่ง เงนิ จดั สรร ตามห้วงระยะเวลาท่ีกาหนดใน
ดาเนนิ งาน เจ้าหนา้ ทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบด้านพัสดุ ยงั ไมค่ ่อย กนั ยายน 2565) แผนดาเนนิ งาน
เข้าใจระเบยี บใหม่ และขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน 6. งานการเงิน กองการศึกษาได้ดาเนนิ การ
24. งานการเงนิ และพัสดุ เทา่ ท่คี วร จึงตอ้ งทาการศกึ ษาและเขา้ รับการ
กิจกรรม : การเงนิ และพัสดุ อบรมในเร่อื งน้ี และเจ้าหนา้ ทกี่ องการศกึ ษา
ตอ้ งใหค้ าแนะนาและตรวจสอบอยเู่ สมอ
โรงเรียนในสงั กดั เทศบาลฯ และศูนย์
พฒั นาเดก็ เลก็ 1.2 การดาเนินการจดั ซื้อจัดจา้ งในระบบ
วตั ถปุ ระสงค์

- เพ่ือสง่ เสริมใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี รู้ ับผิดชอบ
ได้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการปฏบิ ัตงิ าน
ดา้ นการเงินและการพสั ดุ สามารถนาเงนิ
อดุ หนนุ โครงการเรยี นฟรี 15 ปี และเงนิ
รายได้ของสถานศกึ ษา สาหรับการศกึ ษา
ไปจัดสรร และจดั ซ้อื จ้างพสั ดุทาง
การศึกษาให้ถกู ตอ้ งตามระเบยี บฯ

ภารกจิ ตามกฎหมายทีจ่ ัดตง้ั หนว่ ยงาน ความเสย่ี ง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
จัดซอื้ จัดจ้างภาครฐั (e-GP) ในบางโครงการ กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสี่ยงทเี่ กิดขนึ้ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อ่นื ๆท่สี าคญั ของ โรงเรยี นยงั ดาเนนิ การไม่ทันตามหว้ ง เพมิ่ เตมิ (ถา้ มี)
หนว่ ยงานของรัฐ/วัตถุประสงค์ ระยะเวลาทกี่ าหนด

1.3 บางโรงเรียนยงั ใชแ้ บบฟอรม์ จัดซ้ือตัด ออกตรวจสอบการเบกิ จ่ายงบประมาณเงิน
จ้างแบบเดมิ ไม่เปน็ ตามแบบทร่ี ะเบียบกาหนด รายไดข้ องสถานศึกษา โดยมีการแจง้ ปฏิทนิ
การออกตรวจใหส้ ถานศกึ ษาทราบ
1.4 เอกสารการจัดซอื้ จดั จ้าง ลงลายมือ 7. ในการออกตรวจสอบ การาเบกิ จ่าย
ชอ่ื ไมค่ รบ งบประมาณเงินรายไดข้ องสถานศกึ ษาได้
ตรวจสอบ ฎกี าเบกิ จ่าย การบันทกึ บัญชี การ
1.5 การจัดสรรงบประมาณ ทลี่ า่ ช้า และ จัดเกบ็ ฏกี า โดยเอกสาร ประกอบฎกี ามคี วาม
มกั ไดร้ ับเงนิ จัดสรรใกลส้ ้นิ ปีงบประมาณ ทาให้ ครบถว้ น สมบรู ณม์ ากยิ่งขึน้
การดาเนนิ การไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ 8. เจา้ หนา้ ท่ีผู้ปฏิบตั ิงานไดเ้ ขา้ รับการ
ผลกระทบ ฝึกอบรมเกี่ยวกับการใชจ้ า่ ยเงนิ รายได้
สถานศึกษา และการบันทึกบญั ชี
- อาจทาใหก้ ารจัดซ้ือจดั จ้างไมเ่ ปน็ ไปตาม 9. กองการศกึ ษา ไดม้ ีการกาชับให้เจ้าหนา้ ที่
ระเบียบฯ และทาให้งบประมาณทไ่ี ดร้ ับการ ผู้ปฏิบตั งิ านตระหนักถงึ ความสาคญั ของการ
จดั สรรตอ้ งโอนคนื กรมส่งเสรมิ ฯ ได้ ปฏิบตั งิ านใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บ และหนงั สือ
สาเหตุ สงั่ การกาหนด

- เน่ืองจากเจ้าหนา้ ทผ่ี ู้รบั ผดิ ชอบด้านพัสดุ
ยังไม่ค่อยเขา้ ใจในระเบยี บใหม่ จงึ ต้อง
ทาการศกึ ษา และเข้ารับการอบรมในเรอื่ งน้ี
และต้องค่อยใหเ้ จ้าหนา้ ทก่ี องการศึกษาได้
คอยตรวจสอบอยูเ่ สมอ
2. ความเสย่ี งดา้ นการเงนิ

2.1 ใบส่งของ ใบเสร็จ รับเงนิ ลง
รายละเอยี ดไมค่ รบถว้ น เชน่ เลม่ ที่ เลขที่ วันท่ี
ลายมอื ชอ่ื ผรู้ ับ

2.2 การจัดสรรงบประมาณทล่ี ่าชา้ และ

21 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายที่จัดตง้ั หน่วยงาน ความเสีย่ ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
มกั ไดร้ ับเงินจดั สรรใกลส้ นิ้ ปีงบประมาณ ทาให้ กาหนดเสร็จ **กรณีความเสี่ยงทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกิจอนื่ ๆทีส่ าคญั ของ การดาเนนิ การไมเ่ ปน็ ไปตามแผนท่วี างไว้ เพม่ิ เตมิ (ถ้าม)ี
หนว่ ยงานของรฐั /วตั ถุประสงค์
2.3 เจา้ หน้าทผ่ี รู้ ับผดิ ชอบมีความ 22 | ห น้ า
ตระหนักในกฎระเบยี บข้อบังคับในระดบั หนึง่
แต่ยงั มกี ารดาเนนิ งานดา้ นการเงนิ ทย่ี งั มีความ
เสย่ี งอยู่

2.4 เอกสารประกอบการวางฎีกา บาง
ฎกี ายงั มเี อกสารไม่ครบ แต่มกี ารวางฎีกา
เบิกจ่ายเสรจ็ เรียบรอ้ ย

2.5 การจัดทาฎีกาเบิกจ่าย หน้าฎีกา
กรอกขอ้ มลู ไม่ครบถ้วน เช่น การลงรายการ
งบประมาณคงเหลอื เลขท่คี ลงั รับ วันทค่ี ลงั รบั

2.6 การจัดเกบ็ ฎกี า บางโรงเรยี น ไม่ได้
จัดเกบ็ ตามรายงานการจดั ทาเชค็ แต่เก็บเป็น
ประเภทการเบกิ จา่ ย เช่น แฟ้มฎกี าเบิก
ค่าอาหารกลางวนั

2.7 การจดั ทาสมดุ บันทึกบัญชีตา่ งๆ
จดั ทายงั ไม่เปน็ ปจั จุบนั

2.8 เจา้ หนา้ ท่ีถูกแต่งตงั้ จากบคุ ลากรครู มี
ภาระหน้าทใ่ี นการเตรียมการสอน ทาใหไ้ ม่มี
เวลาในการศกึ ษาตวั ระเบียบจึงมอบหมายผชู้ ว่ ย
การเงนิ และการพสั ดแุ ทน ทาให้ผปู้ ฏิบตั หิ น้าที่
แทน ปฏบิ ตั งิ านไดไ้ มด่ ีเท่าท่คี วร

2.9 เจา้ หน้าทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบทางการเงิน
และพสั ดมุ ีการเปลยี่ นแปลง เน่อื งจาก

ภารกจิ ตามกฎหมายท่ีจดั ตัง้ หน่วยงาน ความเส่ียง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผิดชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสย่ี งทเี่ กิดข้ึนใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อน่ื ๆทส่ี าคญั ของ อย่รู ะหวา่ ง เพิ่มเตมิ (ถา้ มี)
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถุประสงค์ ดาเนินการ

พนกั งานครทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย ไดเ้ กษียณอายุ อย่รู ะหว่าง
ดาเนินการ
ราชการ

25. งานการเงนิ และบญั ชี

กจิ กรรม : การเบิกจ่ายงบประมาณ 1. วางฎกี าการเบิกจ่ายเงนิ มีความ กองการศึกษา 1. งานการเงินได้มีการตรวจสอบแหลง่ เงิน ความเส่ียงที่เกิดขึน้ ใหม่
งบประมาณ และงบประมาณคงเหลือ ทุกครง้ั - การโอนยา้ ยของข้าราชการครู
ของกองการศกึ ษา คลาดเคลอ่ื นไมถ่ ูกตอ้ งตามหมวด และ - งานการเงนิ และ ทีม่ กี ารเบกิ จา่ ย บคุ ลากรทางการศึกษาของ
2. มกี ารจัดทาทะเบยี นคุมงบประมาณ โรงเรียนในสงั กดั เทศบาล ใน
วัตถปุ ระสงค์ ประเภทในงบประมาณรายจ่ายประจาปี บญั ชี 3. มกี ารตรวจสอบความถูกตอ้ งครบถ้วนของ ระหว่างปีงบประมาณ มผี ล
เอกสารประกอบฎกี า เกยี่ วเน่ืองกบั การขอรับการ
1. เพอื่ ให้การเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณ 2. หนว่ ยงานเจา้ ของงบประมาณไม่ตรวจสอบ (ส้นิ สุด 30 4. มีการจัดทาทะเบยี นรบั เอกสารขอเบิกจา่ ย สนบั สนนุ งบประมาณรายจ่าย
เพื่อปอ้ งกันการเบกิ จา่ ยเงิน ประจาปขี องสานักงบประมาณ
ของกองการศกึ ษาถกู ตอ้ ง และทันตอ่ เวลา ลายมือช่อื ให้ครบถว้ นกอ่ นขอเบิกกับ กันยายน 2565) 5. มีการจดั ทาแผนการใช้จา่ ยเงนิ เป็นราย
ไตรมาส เพ่อื ให้ทราบถงึ งบประมาณท่ีจะต้อง
และมเี อกสารประกอบฎีกาการเบกิ หน่วยงานคลงั ใชใ้ นแต่ละไตรมาส

จา่ ยเงนิ ถกู ต้องและครบถว้ น 3. การเบิกจา่ ยเกดิ การล่าช้าไมเ่ ปน็ ไปตาม

2. เพอื่ ใหท้ กุ หน่วยงานเจา้ ของ ระเบยี บทกี่ าหนด

งบประมาณดาเนนิ การแกไ้ ขให้ถกู ต้อง 4. งบประมาณท่ตี ้งั ไวไ้ มเ่ พยี งพอตอ่

ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด งบประมาณท่ีขอรับเงนิ งบประมาณทาใหก้ าร

เบกิ จา่ ยลา่ ชา้

26. งานด้านการใช้รถยนต์สว่ นกลาง

กิจกรรม : การใช้รถยนต์ส่วนกลาง 1. ตามคาสง่ั ทแี่ ตง่ ตง้ั เจา้ หนา้ ท่ีทีร่ บั ผดิ ชอบ ซ่ึง กองการศกึ ษา 1. มีการดาเนินการตง้ั แต่งคาสั่งผคู้ วบคุม -
รถยนต์ และคาสงั่ มอบหมายหนา้ ท่ปี ฏิบตั ิงาน
และการบารุงรกั ษารถยนต์สว่ นกลางของ บางคนรบั ผิดชอบรถมากกว่า 1 คนั - พนักงานขับ 2. ผ้คู วบคมุ การใชร้ ถยนต์ได้กาชบั พนักงาน
ขับรถยนต์ในการดแู ลรกั ษารถยนต์อยเู่ สมอ
กองการศกึ ษา 2. การดูแลและบารงุ รกั ษา เจ้าหนา้ ทีท่ ่ี รถยนต์ 3. พนกั งานขบั รถยนตไ์ ดด้ าเนินการทาสมดุ
คุมรถยนตต์ ามแบบฟอร์ม และเปน็ ปัจจบุ นั
รับผดิ ชอบไมค่ ่อยดแู ลรักษาความสะอาดของ (ส้นิ สุด 30

รถยนตส์ ว่ นกลางเท่าที่ควร กนั ยายน 2565)

3. การจดั ทาสมดุ คุมรถยนตส์ ว่ นกลางไม่

ครบถ้วนตามแบบฟอร์มท่ีกาหนดของระเบียบ

ฯ ว่าด้วยการใชแ้ ละรักษารถยนตฯ์ และไม่

เป็นปจั จบุ นั

23 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายทีจ่ ดั ต้ังหนว่ ยงาน ความเสย่ี ง หน่วยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสร็จ **กรณีความเส่ียงทเี่ กดิ ขนึ้ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อ่นื ๆทสี่ าคญั ของ เพมิ่ เตมิ (ถ้ามี)
หน่วยงานของรัฐ/วตั ถปุ ระสงค์

27. ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ ลากร

กิจกรรม : การส่งเสริมประสิทธภิ าพ 1. ครผู ู้สอนบางส่วนยังขาดความร้คู วาม กองการศกึ ษา ดาเนินการ - ส่งครูเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรอื่ ง -
แลว้ เสร็จ การใช้เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอน,
ในการปฏบิ ัตงิ าน ชานาญในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ - ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ จดั ทาแบบฟอร์มของรายงานผลการ
ปฏบิ ัติงานประจาปีการศกึ ษา (SAR) ให้
วัตถปุ ระสงค์ จดั การเรยี นการสอน เลก็ บคุ ลากร

1. เพ่ือพัฒนาครูและ บคุ ลากรใหม้ ี 2. บุคลากรบางส่วนยังขาดความรู้ ความ - ฝ่ายบริหารงาน

ความร้คู วามสามารถ และทักษะในการ เข้าใจในการจัดทารายงานผลการปฏิบตั งิ าน บุคลากร

ทางานให้มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิด ประจาปี (SAR) ของตนเอง (ส้นิ สดุ 31 มนี าคม

ประสทิ ธผิ ล 2565)

2. เพื่อใหค้ รูและบุคลากรมี

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี าหรับ

การจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

28. ฝ่ายบริหารงานวิชาการ

กจิ กรรม : การอบรมทางวชิ าการ - การแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ับสถานศกึ ษาต่างๆ กองการศึกษา ดาเนินการ - ดาเนนิ การกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรรู้ ่วมกบั -
แล้วเสร็จ สถานศึกษาตา่ งๆในสงั กดั เทศบาลเมอื งเมอื งพล
วัตถุประสงค์ โดยมีวิทยากรใหค้ วามรใู้ นการอบรม และทเ่ี ปน็ - ศูนยพ์ ฒั นาเด็ก

- เพอื่ พัฒนาครู และบุคลากรทางการ เครอื ขา่ ย MOU ยังไมค่ รอบคลมุ และเพยี งพอ เล็ก

ศึกษาภายในศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กให้ได้ - ฝ่ายบรหิ ารงาน

ความรู้ และเพ่ิมขีดความสามารถในการ วชิ าการ

สอนและการปฏิบตั ิงานอย่างมี (ส้นิ สุด 31 มีนาคม

ประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล 2565)

29. ฝา่ ยบริหารงานวิชาการ ความเส่ียงทีเ่ กิดข้ึนใหม่
- ขาดการนาข้อมูลจากการ
กจิ กรรม : การนเิ ทศภายในศูนย์ 1. ขาดการวางแผนและการจดั ระบบการ กองการศกึ ษา ดาเนินการ - จัดทาปฏิทินกากับ ตดิ ตามการดาเนินงาน ประเมินภายในมาใช้ในการ
แลว้ เสรจ็ ตามแผนอยา่ งเปน็ ระบบ วางแผนในการจัดระบบการนเิ ทศ
พัฒนาเด็กเล็ก นเิ ทศ - ศูนย์พัฒนาเดก็ เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทของ

วตั ถุประสงค์ 2. ขาดการนาข้อมูลจากการประเมินภายในมา เล็ก 24 | ห น้ า

- เพื่อสง่ เสริมสนบั สนุน หรือให้ความ ใชใ้ นการวางแผนในการจัดระบบการนเิ ทศ - ฝา่ ยบรหิ ารงาน

ภารกจิ ตามกฎหมายท่ีจัดตง้ั หน่วยงาน ความเสี่ยง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสย่ี งทเ่ี กิดขึ้นใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอืน่ ๆท่สี าคญั ของ - เพมิ่ เตมิ (ถ้ามี)
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถุประสงค์
ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก
ช่วยเหลือครูในศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ให้ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทของศนู ยพ์ ฒั นา วิชาการ

ประสบความสาเรจ็ ในการปฏบิ ตั งิ านตาม เดก็ เลก็ (สิ้นสดุ 31 มีนาคม

ภารกิจหลกั 2565)

30. งานการเงินและงานพสั ดุ

กิจกรรม : การเงินและพัสดุ 1. ความเสีย่ งด้านการจดั หาพสั ดุ กองการศึกษา - ไม่มกี ารรายงานความกา้ วหนา้ ของการ -
ดาเนนิ การให้คณะกรรมการติดตามประเมินผล
โรงเรยี นเทศบาลพลประชานกุ ลู ๑.๑ การจดั ซือ้ จดั จ้างในปจั จบุ นั ตอ้ งถือ - โรงเรยี นเทศบาล ระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมืองเมอื งพล
ทราบ
วัตถุประสงค์ ปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญัตกิ ารจัดซ้ือจัดจา้ ง พลประชานุกลู - ล่วงเลยระยะเวลาท่ีกาหนด

- เพื่อส่งเสริมใหเ้ จ้าหน้าทีท่ ่รี บั ผิดชอบได้มี และการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่ง - งานการเงนิ และ

ความรู้ ความเขา้ ใจในการปฏิบตั ิงานด้าน จะมีข้นั ตอนการจดั ซือ้ จดั จ้างและเอกสาร งานพัสดุ

การเงนิ และการพัสดุ สามารถนาเงนิ ประกอบมากยงิ่ ขึ้นทาให้เจา้ หน้าทผ่ี ้รู บั ผดิ ชอบ (ส้นิ สุด 30

อุดหนนุ โครงการเรยี นฟรี 15 ปี และเงนิ ด้านพัสดยุ ังไม่ค่อยเข้าใจระเบยี บใหม่ และ กันยายน 2565)

รายไดข้ องสถานศกึ ษา สาหรบั การศกึ ษา ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานเทา่ ที่ควร จงึ ต้อง

ไปจัดสรร และจดั ซอื้ จ้างพัสดุทาง ทาการศกึ ษาและเขา้ รบั การอบรมในเรือ่ งนี้

การศึกษาใหถ้ ูกต้องตามระเบยี บฯ และเจา้ หน้าท่โี รงเรียนเทศบาลพลประชานกุ ลู

ตอ้ งใหค้ าแนะนาและตรวจสอบอย่เู สมอ

1.2 การดาเนนิ การจดั ซ้ือจดั จา้ งในระบบ

จัดซื้อจดั จา้ งภาครฐั (e-GP) ในบางโครงการ

โรงเรยี นยงั ดาเนินการไม่ทัน ตามห้วง

ระยะเวลาทก่ี าหนด

1.3 บางโรงเรียนยังใชแ้ บบฟอร์มจัดซอ้ื ตัด

จา้ งแบบเดมิ ไม่เปน็ ตามแบบที่ระเบยี บ

กาหนด

1.4 เอกสารการจดั ซือ้ จัดจ้าง ลงลายมอื ช่ือ

ไม่ครบ

1.5 การจดั สรรงบประมาณที่ลา่ ชา้ และมกั

25 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายที่จัดตั้งหน่วยงาน ความเส่ียง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผิดชอบ/ ดาเนินการ
ได้รับเงินจดั สรรใกล้ส้ินปงี บประมาณ ทาให้ กาหนดเสรจ็ **กรณีความเสี่ยงทเ่ี กดิ ข้นึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อน่ื ๆที่สาคญั ของ การดาเนนิ การไม่เป็นไปตามแผนทวี่ างไว้ เพม่ิ เติม (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วตั ถปุ ระสงค์ ผลกระทบ
26 | ห น้ า
- อาจทาใหก้ ารจดั ซ้อื จัดจา้ งไมเ่ ปน็ ไปตาม
ระเบยี บฯ และทาใหง้ บประมาณทไี่ ดร้ บั การ
จัดสรรต้องโอนคืนกรมสง่ เสรมิ ฯ ได้
สาเหตุ

- เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้รบั ผดิ ชอบดา้ นพสั ดุ
ยังไม่ค่อยเขา้ ใจในระเบยี บใหม่ จึงตอ้ ง
ทาการศกึ ษา และเข้ารบั การอบรมในเรอื่ งนี้
และตอ้ งคอ่ ยให้เจ้าหน้าทีก่ องการศึกษาได้
คอยตรวจสอบ อยู่เสมอ
2. ความเสีย่ งด้านการเงิน

2.1 ใบส่งของ ใบเสรจ็ รับเงนิ ลง
รายละเอียดไมค่ รบถว้ น เช่น เลม่ ท่ี เลขท่ี
วนั ท่ี ลายมือชอื่ ผรู้ บั

2.2 การจัดสรรงบประมาณทล่ี า่ ชา้ และมัก
ไดร้ ับเงินจัดสรรใกล้สิ้นปงี บประมาณ ทาให้
การดาเนินการไมเ่ ป็นไปตามแผนทวี่ างไว้

2.3 เจ้าหนา้ ท่ผี รู้ ับผดิ ชอบมีความตระหนกั
ในกฎระเบยี บขอ้ บังคบั ในระดับหน่งึ แต่ยังมี
การดาเนนิ งานด้านการเงินทีย่ งั มีความเสี่ยงอยู่

2.4 เอกสารประกอบการวางฎีกา บางฎีกา
ยงั มีเอกสารไมค่ รบ แตม่ ีการวางฎกี าเบกิ จ่าย
เสร็จเรียบรอ้ ย

ภารกจิ ตามกฎหมายที่จดั ตัง้ หน่วยงาน ความเสย่ี ง หน่วยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผิดชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสร็จ - ไม่มีการรายงานความกา้ วหน้าของการ **กรณีความเสีย่ งทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกิจอืน่ ๆที่สาคญั ของ - ดาเนินการให้คณะกรรมการติดตามประเมนิ ผล เพมิ่ เตมิ (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรฐั /วตั ถปุ ระสงค์ ระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมืองเมอื งพล
ทราบ -
2.5 การจัดทาฎกี าเบิกจ่าย หน้าฎีกากรอก - ล่วงเลยระยะเวลาทก่ี าหนด
27 | ห น้ า
ข้อมูลไมค่ รบถ้วน เช่น การลงรายการ

งบประมาณคงเหลอื เลขท่คี ลังรบั วันท่ีคลังรับ

2.6 การจดั เก็บฎีกา บางโรงเรียน ไม่ได้

จัดเกบ็ ตามรายงานการจัดทาเช็ค แตเ่ ก็บเปน็

ประเภทการเบิกจา่ ย เชน่ แฟ้มฎกี าเบิก

ค่าอาหารกลางวัน

2.7 การจัดทาสมุดบันทกึ บญั ชตี า่ งๆ จัดทา

ยงั ไมเ่ ปน็ ปัจจบุ ัน

2.8 เจ้าหนา้ ท่ีถูกแตง่ ตง้ั จากบุคลากรครู มี

ภาระ หน้าที่ในการเตรยี มการสอนทาให้ไม่มี

เวลา ในการศึกษาตวั ระเบยี บ จึงมอบหมาย

ผ้ชู ่วยการเงนิ และการพสั ดแุ ทน ทาใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั ิ

หนา้ ท่ีแทน ปฏบิ ตั งิ านไดไ้ มด่ ีเทา่ ทีค่ วร

2.9 เจ้าหนา้ ทผี่ ้รู ับผดิ ชอบทางการเงินและ

พสั ดุมีการเปล่ียนแปลง เนือ่ งจากพนกั งานครู

ท่ไี ด้รับมอบหมาย ได้เกษยี ณอายรุ าชการ

31. ฝา่ ยบรหิ ารงานวชิ าการ

กิจกรรม : การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ - งานยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน กองการศกึ ษา

ทางการเรยี น (O–NET) (O–NET) ไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายกาหนด - โรงเรียนเทศบาล

วตั ถปุ ระสงค์ เนื่องจาก หนองแวงประชา

- เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 1) การจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ มส่ อดคล้อง อปุ ถัมภ์

จากการทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O– ตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ัดทีก่ าหนด - ฝ่ายบรหิ ารงาน

NET) ป.6 และ ม.3 ใหส้ ูงขึน้ ร้อยละ 3 2) ครมู ที ักษะในการจดั การเรยี นการสอน วิชาการ

การคดิ วเิ คราะห์ไมเ่ พียงพอ (สิ้นสุด 30

ภารกจิ ตามกฎหมายทีจ่ ดั ตั้งหนว่ ยงาน ความเสย่ี ง หน่วยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสร็จ - ไม่มกี ารรายงานความกา้ วหนา้ ของการ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กิดขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อนื่ ๆท่ีสาคญั ของ - ดาเนนิ การใหค้ ณะกรรมการติดตามประเมนิ ผล เพมิ่ เตมิ (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วตั ถุประสงค์ ระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมืองเมืองพล
- ทราบ -
กนั ยายน 2565) - ล่วงเลยระยะเวลาทกี่ าหนด
-
32. ฝ่ายบริหารงานวชิ าการ - ไม่มกี ารรายงานความกา้ วหนา้ ของการ
ดาเนนิ การใหค้ ณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล 28 | ห น้ า
กิจกรรม : การนเิ ทศการศึกษา 1. รูปแบบและวิธกี ารการนเิ ทศงานวชิ าการ กองการศึกษา ระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมืองเมืองพล

วตั ถุประสงค์ และการเรียนการสอนยังไม่มคี วามหลากหลาย - โรงเรียนเทศบาล

1. เพ่ือพฒั นาบคุ ลากรในหน่วยงานให้ และไมส่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษา หนองแวงประชา

ได้รบั ความรู้ เพ่ิมความสามารถในการ เนื่องจาก อุปถมั ภ์

ปฏิบัตงิ านให้ดีขึน้ 1.1. ขาดการวางแผนและจัดระบบการ - ฝ่ายบริหารงาน

2. เพอื่ เสรมิ สรา้ งขวญั และกาลังใจใน นเิ ทศภายในแบบมสี ่วนรว่ ม วิชาการ

การทางานของครู และบุคลากรทางการ 1.2. ขาดการนาข้อมลู จากการประเมิน (ส้ินสุด 30

ศึกษา ภายใน มาใช้ในการวางแผนจดั ระบบการนิเทศ กนั ยายน 2565)

เพอื่ ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา

2. การแลกเปลยี่ นเรยี นร้กู บั สถานศกึ ษาอน่ื ที่

เปน็ เครอื ขา่ ย MOU หรอื การเชิญวิทยากร

ภายนอกมาใหค้ วามรูย้ ังทาได้ ไมเ่ พียงพอ

เนอื่ งจาก

2.1 ครูและบุคลากรทาง การศกึ ษามี

ภารกิจอืน่ นอกเหนือจากงานการสอนมาก

2.2 ไมไ่ ดก้ าหนดแผนงาน หรอื โครงการ

แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั สถานศกึ ษาอืน่ ที่เปน็

เครอื ข่าย MOU หรอื เชิญวทิ ยากรภายนอกมา

ให้ความรไู้ ว้ชดั เจน

33. ฝา่ ยบรหิ ารงานท่ัวไป

กิจกรรม : การจัดทาสารสนเทศและ - การปฏบิ ตั ิงานไมบ่ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ กองการศึกษา

การสื่อสาร เน่ืองจากครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ยงั - โรงเรยี นเทศบาล

วตั ถุประสงค์ ขาดความรแู้ ละทักษะในการจดั ระบบ หนองแวงประชา

ภารกจิ ตามกฎหมายท่ีจัดตงั้ หนว่ ยงาน ความเสยี่ ง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
สารสนเทศ กาหนดเสร็จ ทราบ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กดิ ข้ึนใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอน่ื ๆทส่ี าคญั ของ - ล่วงเลยระยะเวลาทีก่ าหนด เพิ่มเติม (ถ้าม)ี
หนว่ ยงานของรัฐ/วัตถปุ ระสงค์ - สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคเช้อื ไวรัส อปุ ถมั ภ์
- เพือ่ ให้จัดทาขอ้ มูลสารสนเทศ ท่ี โคโรนา 2019 (โควดิ -19) ยงั มีการแพร่ - ฝา่ ยบรหิ ารงาน การดาเนนิ งานภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ 29 | ห น้ า
ระบาดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ส่งผลต่อการดาเนินงาน ท่วั ไป ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
ครอบคลมุ เพยี งพอสามารถนาไปใช้ในการ และจดั ทาโครงการไมเ่ ป็นไปตามกรอบ (สนิ้ สุด 30 (COVID-19) โรงเรยี นเทศบาลศรเี มอื งพล
บริหารงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ระยะเวลาการดาเนนิ งานของแผนงบประมาณ กนั ยายน 2565) ประชานุเคราะห์ ได้ดาเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปนี้
ทไ่ี ม่เป็นไปตามเปา้ หมายทก่ี าหนด ดงั น้ี 1. สถานศึกษามีการประชมุ เตรยี มความพร้อม
34. งานโครงการ/กจิ กรรม กองการศกึ ษา อยรู่ ะหว่าง และมอบหมายผรู้ ับผิดชอบในการจดั การเรียน
กจิ กรรม : การจดั ทาโครงการตาม - โรงเรยี นเทศบาล ดาเนินการ การสอน ดังน้ี
ศรีเมอื งพลประชา
งบประมาณ นเุ คราะห์ 1.1) ระดบั ชน้ั อนุบาลและระดับช้ัน
วัตถุประสงค์ - นายทนงเดช ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 มกี ารจัดการเรียนการ
สิงหส์ วุ รรณ สอนแบบ On hand
- เพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพของโครงการ (สน้ิ สุด 30 กนั ยายน
เก่ียวกบั งบประมาณในสถานศกึ ษาให้เกิด 2565) 1.2) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 และ
ประโยชน์ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 มีการจดั การ
เรียนการสอนแบบ Online
2. สถานศกึ ษาไดด้ าเนนิ การจดั โครงการ/
กจิ กรรมตา่ งๆ ในการสนบั สนนุ การจัดการ
เรียนรู้ และพฒั นาทกั ษะในดา้ นศกึ ษา ดังน้ี

2.1) โครงการจดั งานวนั คลา้ ยวนั สถาปนา
โรงเรียน (สิน้ สดุ 27 ธ.ค.64)

2.2) โครงการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา

ภารกจิ ตามกฎหมายท่จี ดั ตงั้ หนว่ ยงาน ความเสย่ี ง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผิดชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสรจ็ โรคตดิ ตอ่ (โรคตดิ ต่อจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา **กรณีความเส่ยี งทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อน่ื ๆที่สาคญั ของ 2019) (สนิ้ สุด 30 ธ.ค.64) เพมิ่ เตมิ (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถปุ ระสงค์
2.3) โครงการผนู้ าอนามยั โรงเรยี น
(สิ้นสุด 30 ธ.ค.64)

2.4) โครงการปฐมนเิ ทศผู้ปกครอง
นักเรยี น (สนิ้ สุด 11 ม.ค.65)

2.5) โครงการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการ
เรยี นของผเู้ รียน (สนิ้ สุด 28 ก.พ.65)

2.6) โครงการเพมิ่ ผลสมั ฤทธิก์ ารทดสอบ
ความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ
(NT) (สิน้ สุด 31 มี.ค.65)

2.7) โครงการสง่ เสริมหนนู อ้ ยคนเกง่
พัฒนาทกั ษะดา้ นภาษาองั กฤษระดับปฐมวัย
(สิ้นสุด 31 ม.ี ค.65)

2.8) โครงการเยย่ี มบา้ นนกั เรียน (สิน้ สุด
31 ม.ี ค.65)

2.9) โครงการเปดิ บ้านวชิ าการ (Open
House) (สน้ิ สดุ 31 ม.ี ค.65)

2.10) โครงการหนูน้อยนกั ประดษิ ฐ์
(สิ้นสุด 31 ม.ี ค.65)

2.11) โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นา
ศักยภาพผเู้ รียนระดบั ปฐมวยั (ส้ินสดุ 31 มี.ค.
65)

35. งานยทุ ธศาสตร์และแผนงาน กองยทุ ธศาสตร์และ อยูร่ ะหว่าง - จดั ทาคูม่ อื การปฏบิ ัตงิ าน เก่ยี วกบั การแก้ไข -
กิจกรรม : การจัดทาแผนพัฒนา 1. มกี ารแกไ้ ข/เพิ่มเตมิ /แผนอยบู่ อ่ ยครั้ง
30 | ห น้ า

ภารกจิ ตามกฎหมายท่จี ดั ตัง้ หน่วยงาน ความเสี่ยง หนว่ ยงานท่ี สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผิดชอบ/ ดาเนินการ
กาหนดเสร็จ ดาเนินการ การเพิม่ เตมิ หรือเปลย่ี นแปลงแผนพัฒนา **กรณีความเส่ยี งทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกิจอนื่ ๆที่สาคญั ของ ทอ้ งถน่ิ พรอ้ มตวั อยา่ งการขออนุมัตติ า่ งๆ เพมิ่ เตมิ (ถา้ ม)ี
หน่วยงานของรัฐ/วัตถปุ ระสงค์ 2. การจดั สง่ ข้อมูลประกอบดาเนนิ การจัดทา/ งบประมาณ อยู่ระหวา่ ง - มกี ารจัดประชุมคณะกรรมการแผนพฒั นา
เพม่ิ เตมิ /เปลยี่ นแปลง/แกไ้ ขแผนพัฒนาของ - ฝา่ ยแผนงานและ ดาเนินการ เทศบาล แก้ไข เพม่ิ เตมิ และเปลย่ี นแปลง -
เทศบาล แตล่ ะส่วนราชการยงั ขาดความครบถ้วน งบประมาณ - มีการจดั ทารายงานความก้าวหนา้ ผลการ
วัตถุประสงค์ สมบูรณ์ - งานยุทธศาสตร์ ดาเนินงานโครงการจัดทาแผนพัฒนาเทศบาล 31 | ห น้ า
3. ความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับระเบียบ และแผนงาน - มีการดาเนนิ การประกาศใชแ้ ผนพฒั นา
- เพอ่ื ปฏิบัติตามระเบยี บ กฎหมายและหนงั สอื ส่ังการของเจา้ หนา้ ท่ีผู้ (ส้นิ สดุ 30 เทศบาลเมอื งเมืองพลทกุ ครง้ั เมอ่ื มีการแก้ไข
กระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจัดทา ปฏิบัติ กนั ยายน 2565) เพ่มิ เตมิ และเปลยี่ นแปลงแผนฯ ตามระเบยี บ
แผนพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วน กระทรวงมหาดไทย
ท้องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๘ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติม 1. การโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย กองยุทธศาสตร์และ
ถงึ ปจั จุบนั เนอื่ งจากงบประมาณท่ีเหลอื จา่ ยสว่ นมากคอื งบประมาณ - ส่วนราชการทม่ี ีความประสงค์ขออนุมตั ิโอน
งบบุคลากร เพราะมอี ตั ราวา่ ง แลว้ นา - ฝ่ายแผนงานและ เพม่ิ เตมิ ใหพ้ จิ ารณาการโอนในหมวดรายจ่าย
- เพอ่ื ปฏิบตั ติ ามนโยบายของคณะ งบประมาณที่เหลอื ไปใชจ้ ่ายโครงการ/ งบประมาณ เดียวกันกอ่ น สาหรบั ชว่ ง 6 เดือนแรก ของ
ผู้บรหิ าร กจิ กรรมอน่ื ท่ยี ังมีความจาเป็น - งานงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 มกี ารโอน
2. การโอนและแก้ไขเปลยี่ นแปลงคาช้แี จง (สน้ิ สดุ 30 งบประมาณ จานวน 5 ครั้ง โอนข่ามหมวด
- เพอื่ การเตรยี มโครงการตา่ งๆ ให้อยู่ งบประมาณ เน่อื งจากการคาดการณ์ในการ กันยายน 2565) รายจ่าย จานวน 19 รายการ
ในลักษณะทพ่ี ร้อมจะบรรจใุ นเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี และนาไป
ปฏิบตั ิได้ทันที

- เพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ. กาหนดแผน
และข้นั ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ.2542
มาตรา 16(1)

36. งานงบประมาณ
กจิ กรรม : การจดั ทางบประมาณ

รายจา่ ย
วตั ถปุ ระสงค์

- เพอ่ื ปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยวธิ ีการ
งบประมาณขององค์กรปกครองสว่ น
ท้องถน่ิ พ.ศ.2541 และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ถึง

ภารกจิ ตามกฎหมายที่จดั ตง้ั หนว่ ยงาน ความเสย่ี ง หน่วยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รับผิดชอบ/ ดาเนินการ
ต้ังงบประมาณเพ่อื จ่ายไมเ่ พยี งพอกบั กาหนดเสร็จ อยู่ระหวา่ ง - มีการตดิ ต่อประสานงานกบั ผขู้ อความ **กรณีความเสย่ี งทเ่ี กิดขึ้นใหม่
ดาเนินการหรือภารกจิ อืน่ ๆท่ีสาคญั ของ ขอ้ เท็จจริงท่ีเกดิ ขึ้น ดาเนินการ อนเุ คราะห์ใช้บรกิ าร งานดา้ นประชาสัมพันธ์ เพม่ิ เติม (ถ้ามี)
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถุประสงค์ กองยุทธศาสตรแ์ ละ เพอ่ื เพ่ิมเตมิ ขอ้ มูล สาหรบั นามาประกอบการ
1. ขอ้ มูลในการนามาผลิตสือ่ ไม่ครบถว้ น งบประมาณ อยู่ระหว่าง จดั ทาส่อื ประชาสัมพนั ธ์ ความเส่ยี งทเ่ี กดิ ขนึ้ ใหม่
ปจั จุบัน ข้อ 22 เพยี งพอ - ฝา่ ยบริการและ ดาเนินการ จากความเสีย่ งที่ระบหุ าก
2. สถานท่ีเก็บมกี ารแยกเก็บไว้หลายแห่งขาด เผยแพรว่ ชิ าการ - อยรู่ ะหว่างการจัดทาคู่มอื เกย่ี วกบั การจดั ทา
37. งานประชาสมั พนั ธ์ ความปลอดภยั - งาน งบประมาณรายจา่ ยประจาปี และการดาเนนิ ขอ้ มลู ไมค่ รบถว้ น เพยี งพอ จะ
กจิ กรรม : การผลติ ส่ือ ประชาสมั พันธ์ โครงการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ การจัดทา ส่งผลใหข้ ่าวน้นั มีการบิดเบอื น
(สน้ิ สดุ 30 งบประมาณรายจ่ายประจาปอี ยา่ งมีสว่ นร่วม จากขอ้ เทจ็ จรงิ ซ่งึ หากเจา้
ประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื เผยแพร่ข้อมลู กันยายน 2565) โครงการกิจกรรม/โครงการให้
ขา่ วสารผ่านช่องทางการประชาสัมพนั ธ์ ความรว่ มมือในการให้ข้อมูลหรือ
ต่างๆ ของหนว่ ยงาน กองยุทธศาสตรแ์ ละ แจ้งรายละเอียดของเนื้อขา่ ว ก็
วตั ถุประสงค์ งบประมาณ จะได้ขอ้ มูลทม่ี ีแหลง่ อา้ งองิ มี
- งานงบประมาณ ความนา่ เชื่อถือ อีกท้ังเปน็
- เพอ่ื ให้ขอ้ มลู ข่าวสารทเี่ ผยแพร่ (1 พฤศจกิ ายน ข้อเทจ็ จริงท่ีไดร้ ับจากตน้ เรอ่ื ง
ประชาสมั พนั ธ์มคี วามถูกต้อง รวดเรว็ 2564 – 15 น้ัน ๆ และที่สาคญั ระดับความ
ครบถว้ น และมปี ระสทิ ธิภาพ สิงหาคม 2565) รวดเรว็ ในการเผยแพรข่ ้อมลู ก็
จะรวดเรว็ ตามไปด้วย
38. งานงบประมาณ - ความร้คู วามเข้าใจของเจา้ หนา้ ทใี่ นการ
กิจกรรม : สัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จดั เตรยี มเอกสารที่ใช้ประกอบการวิเคราะห์ -
ขอ้ มูลเพอ่ื ขอรบั การจัดสรรงบประมาณ
การจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปี รายจา่ ยประจาปีให้ทนั ตามห้วงเวลาที่ 32 | ห น้ า
อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม กฎหมายกาหนด
วตั ถปุ ระสงค์

- เพอื่ เสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ
ของเจ้าหน้า ในการจดั เตรียมเอกสาร
ประกอบการวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือขอรับ

ภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ัดต้งั หน่วยงาน ความเสย่ี ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
ความเสย่ี ง กาหนดเสร็จ - อย่ใู นระหว่างการดาเนนิ โครงการออกสารวจ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอนื่ ๆที่สาคญั ของ 1. ประชาชนในชุมชนวา่ งงานไมม่ อี าชพี ทาให้ อยู่ระหว่าง ความต้องการ การให้ความชว่ ยเหลอื เพิ่มเติม (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรัฐ/วัตถุประสงค์ ไมม่ รี ายได้ กองสวสั ดกิ ารสังคม ดาเนินการ ประชาชนในชุมชน ด้านการสง่ เสริมด้าน
2. ประชาชนในชมุ ชนมีรายไดต้ า่ กว่าเกณฑ์ - งานพัฒนาชุมชนฯ ทกั ษะอาชพี /สรา้ งรายได้แก่ประชาชนใน -
การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปใี ห้ มาตรฐานต่อครวั เรอื น (สน้ิ สุด 30 ดาเนินการ ชมุ ชน
แล้วเสรจ็ ตามหว้ งระยะเวลาท่กี ฎหมาย สาเหตุ กนั ยายน 2565) แล้วเสร็จ -
กาหนด 1. ประชาชนไมม่ ีความร้เู กยี่ วกับกลุ่มอาชีพ - ในการจา่ ยเงินให้แก่ผู้รบั มอบอานาจ ต้อง
2. ขาดการพัฒนาระบบและชอ่ งทางการ กองสวสั ดิการสงั คม ตรวจสอบจนแน่ใจว่าเป็นบุคคลเดยี วกบั ผูท้ ่ี 33 | ห น้ า
39. งานพฒั นาชุมชนและสารวจจัดตง้ั จาหนา่ ย - งานด้านชุมชน ไดร้ บั มอบอานาจและต้องไดร้ บั การยนื ยนั ว่าผู้
คณะกรรมการชมุ ชน เมือง มสี ิทธไิ ดร้ ับเงนิ เบย้ี ยังชีพยังมีชีวติ อยู่ ณ วนั ท่ี
๑. ผมู้ สี ทิ ธริ บั เงินเบ้ยี ยงั ชพี นาสมดุ บญั ชที ่ไี มม่ ี (ส้ินสุด 30 ๑ ของทกุ เดอื น
กจิ กรรม : การส่งเสริมอาชพี และ การเคลือ่ นไหวหรือบัญชที ป่ี ดิ ไปแล้วมาย่นื กนั ยายน 2565)
รายได้แก่ประชาชน ๒. เจ้าหนา้ ที่คยี ์รหสั สาขาและหมายเลขบญั ชี
วัตถุประสงค์ ผดิ ทาใหเ้ งินไม่เขา้ ธนาคาร

1. เพื่อสง่ เสรมิ อาชีพใหก้ บั ประชาชน
ในชุมชน

2. เพอ่ื สง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีอยู่ใน
ชุมชน

3. เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของ
ประชาชน

40. งานด้านชุมชนเมือง
กจิ กรรม : การเบกิ จ่ายเงนิ เบย้ี ยัง

ชพี ตามนโยบายรฐั บาลและผบู้ รหิ าร
วัตถุประสงค์

๑. ให้เป็นไปตามตามระเบยี บ
กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยหลักเกณฑ์การ
จ่ายเบ้ยี ยงั ชพี ผสู้ งู อายุขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่นิ พ.ศ.๒๕๕๒ หมวด ๔
งบประมาณและวิธีการจา่ ยเงนิ เบยี้ ยังชีพ
ผ้สู ูงอายุ (ข้อ ๑๓)

๒. การโอนเงนิ เข้าบัญชีธนาคารของผู้

ภารกจิ ตามกฎหมายทจ่ี ดั ตั้งหนว่ ยงาน ความเสีย่ ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนนิ การ หมายเหตุ
ของรฐั หรือภารกจิ ตามแผนการ รับผิดชอบ/ ดาเนินการ
1. เจ้าหนา้ ทมี่ คี วามเขา้ ใจและตคี วามระเบยี บ กาหนดเสรจ็ - ไมม่ กี ารรายงานความกา้ วหนา้ ของการ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรอื ภารกจิ อน่ื ๆท่สี าคญั ของ การเบกิ จา่ ยไมต่ รงกัน - ดาเนินการใหค้ ณะกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล เพ่มิ เตมิ (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรัฐ/วตั ถุประสงค์ 2. เจ้าหน้าทผ่ี รู้ ับผิดชอบในการจดั ทาฎกี า กองสวัสดกิ ารสังคม ระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมอื งเมอื งพล
ผิดพลาด เนอ่ื งจากต้ังจ่าย/ตั้งหนผ้ี ดิ หมวด - งานธุรการ ดาเนินการ ทราบ -
มีสทิ ธริ ับเบยี้ ยงั ชพี ขององค์กรปกครอง (สิ้นสดุ 30 แล้วเสรจ็ - ล่วงเลยระยะเวลาทก่ี าหนด -
สว่ นทอ้ งถน่ิ 1. จานวนกลอ้ งท่มี ีอยไู่ ม่ครอบคลมุ พนื้ ท่เี ส่ียง กันยายน 2565)
ทาให้มจี ดุ อบั ที่ไมส่ ามารถบันทกึ ภาพได้ - ได้ดาเนินการตดิ ตง้ั กล้องวงจรปดิ เพมิ่ 1 ชดุ 34 | ห น้ า
41. งานธรุ การ 2. ไมส่ ามารถจดั ซื้อครุภณั ฑก์ ล้องวงจรปิดได้ สถานธนานุบาล ประกอบด้วย
กิจกรรม : การจัดทาฎกี าการเบกิ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เนอ่ื งจากมีการ - งานพัสดุ
ต้ังงบลงทนุ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพื่อ (สน้ิ สุด 30 (1) เครอ่ื งบนั ทกึ ภาพ 16 ช่อง
จา่ ยเงนิ งบประมาณ ซือ้ ครุภณั ฑ์สานักงาน และครุภณั ฑ์ กันยายน 2565) (2) กล้องวงจรปดิ ระบบ IP ดิจติ อล 8 ตัว
วตั ถปุ ระสงค์ คอมพิวเตอรไ์ ว้แล้ว และตามหนังสอื ส่ังการ ความชัด 2 ล้านพลกิ เซล กันนา้ 8 ตัว
กระทรวง มหาดไทย ท่ี มท0304/ว3483 (3) หนว่ ยความจาจดั เก็บข้อมูล อารด์ ดสิ ต์
- เพอื่ ให้การเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณ ลงวนั ที่ 30 พฤศจิกายน 2542 เรอ่ื ง วิธี 4TB 1 ตัว
ถูกต้องตามระเบียบฯ ปฏิบัติเกยี่ วกับการจัดทางบประมาณเฉพาะ
กาล สถานธนานุบาลขององค์กรปกครองสว่ น
42. งานพัสดุ ท้องถนิ่ ขอ้ 6 การต้ังงบประมาณรายจา่ ยเพอ่ื
กจิ กรรม : จัดหากล้องวงจรปดิ ให้ การลงทนุ ใหส้ ถานธนานุบาลสามารถตง้ั
งบประมาณรายจ่ายได้ โดยไม่ตอ้ งทาข้อตกลง
เพยี งพอ ครอบคลุมพนื้ ทีอ่ าคารสถานธ กบั กระทรวงมหาดไทยกอ่ น ข้อ 6.3 สถาน
นานบุ าล ธนานุบาลใดทม่ี ีกาไรสุทธใิ นปงี บประมาณที่
วัตถปุ ระสงค์

- เพ่อื การเพ่ิมความปลอดภยั ในการ
ทางานและเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการทางาน
ของพนักงานสถานธนานบุ าล การเก็บ
รักษาทรพั ย์สินและการเฝา้ ระวังยามวิกาล

ภารกจิ ตามกฎหมายท่จี ดั ตง้ั หน่วยงาน ความเส่ยี ง หนว่ ยงานที่ สถานะ ผลการดาเนินการ หมายเหตุ
ของรฐั หรอื ภารกจิ ตามแผนการ รบั ผดิ ชอบ/ ดาเนินการ
ลว่ งมาเกิน 10 ล้านขน้ึ ไป ใหต้ ้ังงบประมาณ กาหนดเสรจ็ - จัดซื้อนา้ ด่มื สะอาดอยา่ งพอเพียงต่อความ **กรณีความเส่ยี งทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่
ดาเนินการหรือภารกิจอน่ื ๆทสี่ าคญั ของ รายจา่ ยเพื่อการลงทุน ในวงเงินหน่งึ แสนบาท อย่รู ะหวา่ ง ต้องการของร่างกายเด็กนกั เรยี นทกุ คน เปน็ เพ่ิมเตมิ (ถา้ ม)ี
หนว่ ยงานของรฐั /วัตถปุ ระสงค์ กองการศกึ ษา ดาเนินการ นา้ ด่มื ที่สะอาดผา่ นระบบกรองน้าทม่ี คี ณุ ภาพ
- เน่ืองจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค - ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก มาตรฐาน ปลอดภยั จากเชอ้ื โรคและส่ิง -
43. ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อาจ - ฝ่ายบริหารงาน ดาเนินการ ปนเป้อื นท่มี ากบั นา้
โครงการ : สนับสนุนและพฒั นาการ สง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษาเล่ือนเปิด-ปดิ ภาคเรยี น ทั่วไป เสรจ็ แล้ว -
ทาให้ห้วงเวลาของการดาเนินงานและจานวน (สน้ิ สุด 30 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมอื งเมืองพลไดม้ ี
จัดการศึกษาศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก วนั ทาการไมต่ รงตามระยะเวลาที่กาหนด กันยายน 2565) การสร้างความสมั พนั ธท์ ดี่ ีระหว่างบา้ นกบั ศูนย์ 35 | ห น้ า
(กจิ กรรมจดั ซ้อื นา้ ดมื่ สะอาด) พัฒนาเดก็ เล็ก และชว่ ยเหลือเดก็ นักเรียนใน
วตั ถปุ ระสงค์ - เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค กองการศึกษา เหตุการณ์ตา่ งๆ โดยมีโอกาสพบเหน็ สภาพ
ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อาจ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ความเป็นอย่ขู องเดก็ พรอ้ มทัง้ ใหค้ าแนะนา
1. เพื่อใหเ้ ด็กไดด้ มื่ นา้ ทส่ี ะอาด สง่ ผลใหร้ ะยะเวลาดาเนนิ การของแต่ละ - ฝ่ายบรหิ ารงาน และวิธกี ารเลย้ี งบตุ รหลานให้มพี ฒั นาการทีด่ ี
ปลอดภัยจากส่งิ สกปรก กจิ กรรมมกี ารเปลี่ยนแปลงไมต่ รงห้วงเวลาท่ี ทั่วไป
กาหนดไว้ พร้อมทง้ั มาตรการต่างๆ ท่ีรฐั บาล (สิ้นสดุ 6 มนี าคม
2. เพื่อปอ้ งกนั โรคท่เี กดิ ขนึ้ จากระบบ ไดก้ าหนด เพื่อปอ้ งกันการรวมกลมุ่ ของบุคคล 2565)
ทางเดินอาหาร
44. ฝ่ายบรหิ ารงานท่ัวไป

โครงการ : สนับสนนุ และพัฒนาการ
จดั การศึกษาศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก
(กจิ กรรมออกเยีย่ มบา้ นสานสัมพันธ์)
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือเป็นการสรา้ งความสมั พันธท์ ่ดี ี
ระหวา่ งบา้ นกบั ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ และ
ผูป้ กครองกบั ครู

2. เพ่อื ใหผ้ ้ปู กครองและคณุ ครู ได้
ทราบถึงพฤตกิ รรมของเดก็ นักเรียน พร้อม
ทงั้ ใหค้ าแนะนา สง่ เสรมิ ให้เดก็ มี
พัฒนาการท่ดี ขี นึ้

3. เพือ่ ใหเ้ ดก็ นักเรียนไดร้ บั การดแู ล
เอาใจใสอ่ ยา่ งใกล้ชดิ ทั้งจากท่ศี นู ยเ์ ดก็ เล็ก

-e -
F
\-d[r36Fc^ )n
s-- !3
re J)
6

F.G ,*

!= ad
C
IJ

I\J

Grf)-)e = g E
tfa6i, F
!.J\SE e
("d?" Gl(^=I-n))cJ
u-d - -?7 G
G-6d
.':<S'"rX0rqv":i=i{-cr e b ifr'- tts q
(- lt5r' }l
C r$ ;'= f P e-n-l
iE.et; 'g'rG"5< G-
(=F r 3
:cJ =
(-
::at
!=4):-@r(J {6=ca
iE
(- ()
::br
uEE,#'F=7"3C r.)Ga=qJ)

G3 1C6F)r,;4"tgip6'.Sj?@rA=.s

"d.-d)QolFt;t2reaL.d;.=adE(":r'G:=ts-cs(l Gr",qCX= G r;-P .5

ti-cs;: rG TA -1IF
D
6 C(6 .dFcr

r-{Fc@-P"c-;r

rei -ccc! c
,.3 (d
G lct ca "6
(G;

aFqEqiG!--s,F C ts n
TG
(=(-@g:3 ;- P6 a
c'9c;:F=\4
5 )L" .t Gi"f J
a-dJ
-r(aG
c=-))^a
eC
cc! c-Cfe)"-aJYuq-uJ)-)q?c;Jn,--=. )

ci'lydc

-nE "a

:-F)

-'e(C=Gpnn;rJ-d6 "--
1:6fr
G-Ge

A )) .:
F^d

c=;G

(€\dd'iqGe-d5 @
lr6
L Jfr)i-
:-
P=r7G

9qncrG=
dd<----c .Jx6 9j

-y G \'4

q(-\

P].8-
rJr-FL

3 F FlD,,E]:n-pca q b= F E 5..d,='c ^:; =:

-('cac'i- ea"s rk .: ; >.-
Ggd]rqt6-r--5tnGl a oi D-nS
c6- "= ''H iZl
*,9 -"6:E 4;E $
-]f 'e rG c

.Fh,;F:=_F *i.Ea="::"* '[],rF'=5AE bE'E'E"3--isdE-=(6GEdc.YgS{ ";r(GrFG"ii-=g6.c, hiaFi-ai) ,- .r'k ra 6
4 CG
:i-i-z ;D E--i'f"L -e
EH y rGSoh^ ',GF "9i ,F6E,EL "frr"5c7
nq ,EpiE 'EEG)E- ,!',EEiCE[.'aorqHil,,tlF;---:,;e"rE86,,j8 E"'4,E[ -4*:,g8
.nC
E"
C
J_=16

-i?r(J="!q-(s o)yj (
c iEG '4,E -
ts = C

S ,=.F i)")zVr -=Ef
c=U ,FI H F€h

สว่ นท่ี 3
ประเด็นความเสย่ี งใหม่ทพี่ บจากการปฏบิ ัติงาน

ความเสยี่ งใหม่ทพ่ี บจากการปฏบิ ัติงาน

จากผลการติดตามการปฏิบัติการควบคุมภายใน ตามแผนการปรับปรุงควบคุมภายใน ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของเทศบาลเมืองเมอื งพล ตั้งแต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึง 31 มีนาคม พ.ศ.

2565 (รอบ 6 เดือนแรก) น้ัน มีจานวน 5 ภารกิจ ตามแผนการดาเนินการได้มีประเด็นความเสี่ยงใหม่ที่พบ

จากการปฏิบัตงิ าน โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้

ภารกจิ ตามกฎหมายท่จี ดั ตั้งหน่วยงานของรัฐ

ท่ี หรอื ภารกจิ ตามแผนการดาเนนิ การหรอื ภารกจิ ความเส่ียงใหม่ทพี่ บ หน่วยงานที่ หมายเหตุ
อืน่ ๆท่สี าคญั ของหนว่ ยงานของรฐั / จากการปฏิบตั งิ าน รบั ผดิ ชอบ

วัตถปุ ระสงค์

1. ภารกจิ ที่ 1 งานธรุ การ

กิจกรรม : การพฒั นาการใช้ระบบสาร - การแก้ไขขอ้ มูล/ข้อความ สานักปลดั เทศบาล

บรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ของเทศบาลเมอื งเมอื งพล หนงั สอื (ท่ผี ูบ้ ริหารลงนาม - งานธุรการ

วัตถปุ ระสงค์ เรียบรอ้ ยแล้ว) และไม่นาเขา้ (สนิ้ สุด 30 กันยายน

1. เพือ่ ให้การปฏิบตั ดิ า้ นงานระบบสาร ในระบบสารบรรณ 2565)

บรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องเทศบาลเมอื งเมอื งพล อิเล็กทรอนกิ ส์ จงึ ทาให้

เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ มลู ทีส่ ่วนราชการนาไปใช้

2. เพ่ือใหก้ ารเข้าใชง้ านระบบสารบรรณ และในระบบไมต่ รงกนั

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และเกบ็ รักษาหนงั สือราชการมี

ความปลอดภยั ที่สงู ข้ึน

2. ภารกจิ ท่ี 9 งานการเงนิ และบัญชี

กจิ กรรม : การบนั ทึกบญั ชรี ะหว่าง 1.ความผดิ พลาดจากการ กองคลัง

หนว่ ยงานภายใตส้ งั กัดเทศบาลเมอื งเมอื งพล บนั ทึกบัญชีผดิ หมวด - งานการเงนิ และ

วตั ถปุ ระสงค์ รายจ่าย บัญชี

- เพ่อื ให้เจา้ หน้าทส่ี ามารถใช้ระบบบญั ชี 2.ความผดิ พลาดอัน (สิน้ สดุ 30 กนั ยายน

คอมพวิ เตอร์ (e-laas) เพือ่ การติดตามการ เน่อื งมาจากเอกสารการ 2565)

บริหารงบประมาณไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และมี ลงบญั ชไี ม่ถูกต้อง/ไม่

ประสิทธภิ าพ ครบถว้ น

3.มีการเปลย่ี นแปลงระบบ

การลงบญั ชีบ่อยคร้งั ทาให้

เจ้าหน้าท่ตี ้องปรบั ปรงุ และ

เรียนร้อู ยตู่ ลอด

3. ภารกจิ ที่ 25 งานการเงนิ และบัญชี

กิจกรรม : การเบิกจา่ ยงบประมาณของกอง - การโอนย้ายของ กองการศึกษา

การศึกษา ขา้ ราชการครู บุคลากร - งานการเงินและ

วตั ถปุ ระสงค์ ทางการศกึ ษาของโรงเรยี น บญั ชี

1. เพอ่ื ให้การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของ ในสังกดั เทศบาล ในระหวา่ ง (สิ้นสดุ 30 กันยายน

กองการศกึ ษาถกู ต้อง และทนั ต่อเวลา และมี ปงี บประมาณ มผี ล 2565)

เอกสารประกอบฎกี าการเบิกจ่ายเงนิ ถกู ตอ้ ง เกี่ยวเนอ่ื งกบั การขอรบั การ

และครบถว้ น สนบั สนนุ งบประมาณ

37 | ห น้ า

^ a- & ,fl 'r5 fl o 911 il n fdl 4vil 1 uvl Q 0 Fl{1du ? u.t'l utJ 0 { 5vfi Jo,i ,i

4a49 a n?1il[du{ t14}rvrilu 14U1U{',lUVl
ornnr:rJfrri6tru :U'.INUAU
fi 5Afl ',15fl O9l13J L[2Ufl 1:O',lIUUn1:]150r.l15fl 148J'tUt1/t9l

vt d d. 6'ryta luilr atrutlatig/
6u 1fi ;ir

imnrJ:va.:ri

t" <'o. tliv nvrir u{1u ta't%an{uil:u:J'ttu :1 u si'r u rl :v sirfl r or;irrin
rfr o

uir lfr un',: ll,iltl#n nfrolnr alurvuv L'ta''rd rutJ:vrlru

druuo

&. nr:fi ofi uct r.lruuBur:{1ua{1f l'lI

fr on:::L : nr:f, tilFinluluoudrnTrirur r6n - 1l nal:u'r1loilaa'Ifl fl 'l: nornr:6nur

Lnfl r.l:v ifr un r ulu:ltffLunr: - dd
FiU U1,^,l9illJ'l LO fl LA fl

imorJ:sarri ': rr ttzurtu nl:t'n:vuu nr: - r'hrlUivr:rru

- rfi odr ra3rafiialu r,rBol#nrrrltirutu6o u^t}lF]t1,',i!0 o. 00040 {fl11 itrnr:

n;luqurluioirur i6n 15n"t#rJ:vaunrudrtEa t14d (dUfrO mo flUUIUU

-lunr:rJ fr rifr .: ru rrrr n r:fr tvta n fla du A bdod)

U51-l 11? 0 { F1U U1',1 mlu'l Lol

taa

m6', .r1uil5vfl1f,'lfruri i-i no{qfl5fl16aiLrav
fr on:::r : nr:tJAafioil:stralr:Yrriud rfi o - a1fl Fr?'l].1 tau.ivl:v1lv1n

Lh u Ltl\ :?J O!A1 1?al : zu'lUt0w1]dfl '.l5 darahin:rfrru tfiurvro {Uil5USJ1{U

rJ:vtr a'rrfiuiiri rr q t awtrj: umu I qvt Z i-ln15 - r.lrurrBnr:ttav
innrJ:vatri
ova:uR t,14?tlluu rhlu rLl\ii1J'rfYr:
,!
- L1'{A tul]ArA%l?d'r:11 LtJUttl'.{: ,e^.i - nlu

llotuouQlfl ljatvlaQ5{ C'{

urn rir1n:lnr:fr on:::1,/

rj:vtr#:rfiudfl n:urrnfral :ro t5r n:ufrru In:.r n r :lrin'r rrli':rfi alu rJ:vtra''rv[uii
! (duQo mo nUUlUu
nr:lridolar,rto u{t bd]od)
*avfir.i:vBriBnrv'r
ax,a
5'ruav tauo%a{[uofl ']? n

q vv 0rnl!lallttua{0'l{o I
Elu t9tlt

u-,F"ira]1otzu,aU,'t LlJ 0ftO 0ny{tuu

, tielaa5^{v)]uvL-o:ua1flFlu

?a

tA5a':uZu'l Llau?J1"41-nry:uou

Fr ? r1.r5? A t*'r"lufn: u.J U tLY\li

dala frov::or tirnrrtrl

frra

a1uilafla

nluuu{

iud b o rdau vlquarnxr Tr.F[. bdbd

enalrarir

ภาคผนวก

1. ภาพประกอบการประชุมคณะกรรมการติดตามประเมินผลระบบควบคุมภายในเทศบาลเมือง
เมืองพล ครง้ั ท่ี 1/2565

2. คาสั่งเทศบาลเมืองเมืองพล ที่ 864/2564 เรื่อง แต่งต้ังคณะกรรมการติดตามประเมินผลระบบ
ควบคมุ ภายในเทศบาลเมอื งเมอื งพล

3. คาส่ังคณะทางานการติดตามประเมินผลระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการเทศบาลเมือง
เมืองพล

39 | ห น้ า

ภาพประกอบการประชุม
คณะกรรมการติดตามประเมินผลระบบควบคมุ ภายในเทศบาลเมอื งเมืองพล ครั้งที่ 1/2565

วนั จันทร์ ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 13.30 – 15.45 น.
รูปแบบออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Zoom Meeting

40 | ห น้ า

41 | ห น้ า

42 | ห น้ า

43 | ห น้ า

44 | ห น้ า

45 | ห น้ า

46 | ห น้ า


Click to View FlipBook Version