The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phuphuphromthi, 2021-03-10 00:21:09

ปิยฉัตร 5

ปิยฉัตร 5

ประวตั ิพญามงั ราย
ด.ญ.ปิ ยฉตั ร เรียงเสนาะ ม.2.1 เลขท่ี13

เสนอ
คุณครู จิรศกั ด์ิ ดวงสุข

“พอ่ ขนุ เมง็ ราย” หรือที่คนลา้ นนารู้จกั กนั ในนาม

“พญามงั ราย” เป็นราชโอรสของ “พระเจา้ ลาวเมง”
แห่งราชวงศล์ วจกั ราช ผคู้ รองหิรัญนครเงินยาง กบั

“พระนางอ้วั มิ่งจอมเมือง” หรือ “พระนางเทพคา”
ขยาย ราชธิดาของทา้ วรุ่งแก่นชายเจา้ เมืองเชยี งรุ้ง

พระองคป์ ระสูติเมื่อวนั อาทิตย์ แรม 9 ค่า เดือนอา้ ย
ปี กนุ เอกศกจุลศกั ราช 601 ตรงกบั พทุ ธศกั ราช 1781
เม่ือมีพระชนมไ์ ด้ 16 พรรษา พระบิดาไดส้ ู่ขอ ธิดา
เจา้ เมืองเชียงเรืองมาเป็นคูอ่ ภิเษกแลว้ โปรดใหเ้ มง

รายเป็นมหาอุปราช เมื่อพระเจา้ ลาวเมงสวรรคตใน

ปี พ.ศ.1802 เมงรายราชโอรสจึงไดค้ รอง “เมือง

หิรัญนครเงินยาง” สืบแทน ในขณะที่มีพระชนม์ 21

พรรษา

คนลา้ นนาถือ “พญามงั ราย” เป็นปฐมกษตั ริยข์ อง
ราชวงศม์ งั รายและสร้างความรุ่งเรืองใหก้ บั
อาณาจกั รลา้ นนาก่อนท่ีจะถูกพม่าปกครองเป็นเวลา
200 กวา่ ปี พญามงั รายมีพระราชกรณียกิจท่ีสาคญั
ท้งั หมด 4 เรื่อง ดงั ต่อไปน้ี

พระราชกรณียกิจของพอ่ ขนุ เมง็ ราย
1. ทรงสร้างเมืองเอกในแวน่ แควน้ ถึง 3 เมืองไดแ้ ก่
-เมืองเชียงราย เมื่อ พ.ศ.1805
-เมืองกมุ กาม (ปัจจุบนั คืออาเภอสารภีจงั หวดั
เชียงใหม่) เม่ือ พ.ศ.1829
-เมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ.1834

นอกจากน้นั พระองคย์ งั ไดท้ รงบูรณะ “เมืองหิรัญ
นครเงินยาง” และในปี พ.ศ.1811 ไดบ้ ูรณะเมืองฝาง
เพอื่ ใชเ้ ป็นท่ีชุมนุมไพร่พลของพระองค์ (ซ่ึงแต่เดิม
เมืองฝางตกเป็ นเมืองข้ึนของเมืองหิรัญนครเงินยาง
มาก่อน) และโปรดให้ “ขนุ อา้ ยครือคาลก” หรือ “ขนุ
เครื่อง” ราชโอรสองคใ์ หญ่ไปครองเมืองฝาง

2. ทรงแผพ่ ระเดชาในทางการรบ
กล่าวคือหลงั จากไดส้ ่งกองทพั ไปปราบเมืองมอบ เมืองไร และเมือง

เชียงคาไดแ้ ลว้ ในปี พ.ศ.1824 ตีเมืองหริภุญชยั จาก “พระยายบี า”
กษตั ริยข์ อม พระยายบี าหลบหนีไปอยกู่ บั พระเบิกท่ีนครเขลางค์

พ.ศ.1828 พระยายบี า และพระยาเบิกยกทพั ขอมมาเพ่อื ตีเมืองหริภุญ
ชยั คืน พอ่ ขนุ เมงรายจึงทรงแต่งต้งั พระโอรสคือ ขนุ คราม ยกทพั
ออกไปตา้ นทาน ไดร้ บกบั “พระยาเบิก” และจบั พระยาเบิกสาเร็จ
โทษ พระยายบี ารู้ขา่ ววา่ เสียบุตรจึงทิ้งเมืองเขลางคห์ นีไปพ่งึ พระยา
พษิ ณุโลก เจา้ ขนุ ครามจึงไดเ้ มืองเขลางคอ์ ีกเมืองหน่ึงนบั วา่ ดินแดน
ภาคเหนือท้งั หมดพอ่ ขนุ เมงรายไดค้ รอบครองโดยทวั่ อาณาจกั รลาน
นาในรัชสมยั ของพระองคม์ ีอาณาเขตกวา้ งไกลดงั น้ี
ทิศเหนือ จรด สิบสองปันนา

ทิศใต้ จรด อาณาจกั รสุโขทยั

ทิศตะวนั ออก จรด แควน้ ลาว
ทิศตะวนั ตก จรด แม่น้าสาละวนิ
พ.ศ.1829 ยกทพั ไปตีเมืองหงสาวดี “พระเจา้ หงสาวดีเจงพยเุ จง”
เกรงพระบารมีจึงแต่งเครื่ องราชบรรณาการมาถวายขอเป็ นไมตรี โดย
ยกพระราชธิดาพระนามวา่ “นางปายโค” (ตะละแม่ศรี) ใหเ้ ป็นบาท
บริจาริกาแด่พอ่ ขนุ เมง็ ราย พ.ศ.1832 ยกทพั ไปตีเมืองพุกาม พระเจา้

องั วะใหร้ าชบุตรนาเคร่ืองบรรณาการมาตอ้ นรับขอเป็นไมตรี

3. ทรงนาความเจริญในดา้ นศิลปกรรม เกษตรกรรม
และพาณิชยกรรมมาสู่แควน้ ลานนา

โดยเมื่อคร้ังท่ียกทพั ไปตีเมืองพกุ าม พระองคไ์ ดน้ า
ช่างฝีมือต่างๆ เช่น ช่างฆอ้ ง, ช่างทอง และช่างเหลก็
ชาวพกุ ามเขา้ มาฝึกสอนชาวลานนาไทย จึงเขา้ ใจวา่
ศิลปต่างๆ ของพกุ ามที่มีเหลืออยใู่ นปัจจุบนั น่าจะ
เร่ิมมาแต่น้นั เม่ือจานวนไพร่ฟ้าขา้ แผน่ ดินของ
พระองคม์ ีมากข้ึน กท็ รงจดั หาทาเลท่ีเหมาะสมใน
การเกษตร และการคา้ เพ่ือใหม้ ีอาชีพทว่ั หนา้

4. ทรงเป็นนกั ปกครองที่สามารถและประกอบดว้ ยคุณธรรมสูงส่ง
“พอ่ ขนุ เมงราย” ทรงเล่ือมใน และศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา โดย
เป็นองคศ์ าสนูปถมั ภก และทรงนาหลกั ธรรมทางศาสนามาใชใ้ น
การปกครองราษฎรของพระองคไ์ ดอ้ ยอู่ ยา่ งร่มเยน็ เป็นสุขมี
ศีลธรรมอนั ดีมีอธั ยาศยั โอบออ้ มอารี แก่คนทว่ั ไปซ่ึงเป็นมรดกดา้ น
คุณธรรมที่ตกทอดถึงลูกหลานชาวลานนา จนตราบเท่าทุกวนั น้ี
แมว้ า่ พระองคท์ รงเป็นนกั รบผแู้ กลว้ กลา้ แต่การใดที่เป็นทาง
นาไปสู่ความหายนะเป็นเหตุใหเ้ สียเลือดเน้ือระหวา่ งคนไทย
ดว้ ยกนั พระองคจ์ ะทรงหลีกเลี่ยง ดงั จะเห็นไดจ้ ากการทพ่ี ระองค์
ทรงรับไมตรีจากเจา้ ผคู้ รองนครต่างๆ และการกระทาสัตยป์ ฏิญาณ
ระหวา่ งสามกษตั ริยด์ งั กล่าว

พระปรีชาสามารถในดา้ นการปกครองอีกเรื่องหน่ึงไดแ้ ก่ การวาง
ระเบียบการปกครองหรือกฎหมายท่ีทรงตราข้ึนไวเ้ ป็นพระ
ธรรมศาสตร์ ใชใ้ นการปกครองแผน่ ดิน เรียกวา่ “กฎหมายมงั ราย
ศาสตร์” เพื่อใหล้ ูกขนุ ใชเ้ ป็นบรรทดั ฐานในการพิจรณาในการ
พพิ ากษาผกู้ ระทาผดิ สมควรแก่โทษานุโทษโดยมิใหเ้ ลือกเห็นแก่
หนา้ วา่ จะเป็นผใู้ หญ่ ผนู้ อ้ ย หวั หมู่ หรือไพร่นอ้ ยเม่ือกระทาผดิ ยอ่ ม
ตอ้ งไดร้ ับโทษเช่นเดียวกนั

กล่าวโดยสรุปแลว้ พระราชกรณียกิจท่ีสาคญั ท้งั 4
เรื่องท่ีพญามงั รายไดท้ าใหอ้ าณาจกั รลา้ นนามี
ความเจริญรุ่งเร่ิมไดท้ าเป็นข้นั เป็นตอน โดยเร่ิม
จากการขยายอาณาจกั รสร้างเมืองต่างๆ ที่สาคญั
ไดแ้ ก่ เวยี งกมุ กามและเมืองเชียงใหม่ ต่อมาเมื่อ

พระองคข์ ยายอาณาจกั รลา้ นนาไปครบท้งั 4 ทิศ
แลว้ กไ็ ดน้ าศิลปวฒั นธรรมจากเมืองต่างๆ ท่ี
พระองคไ์ ดไ้ ปตีมานามารวมกนั ไวท้ ่ีศูนยก์ ลางของ
อาณาจกั ร สุดทา้ ยพญามงั รายยงั ถือวา่ เป็นกษตั ริย์
นกั ปกครองที่ใชห้ ลกั ธรรมทางศาสนาเชกเช่นกบั
พญาร่วง (พอ่ ขนุ รามคาแหง) สิ่งเหล่าน้ีทาให้
อาณาจกั รลา้ นนาเจริญรุ่งเรืองเป็นอยา่ งมาก และ

ปัจจุบนั ยงั คงเหลือรากอารยธรรมลา้ นนาให้
ลูกหลานสืบสานต่อไปในอนาคต


Click to View FlipBook Version