The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by areeyasritep0328, 2022-05-25 00:10:48

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา

Keywords: เศรษฐกิจพอเพียง

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ

รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง

(ทช11001)

ระดบั ประถมศกึ ษา

(ฉบบั ปรบั ปรุง 2554)

หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551

หา มจาํ หนา ย

หนงั สือเรยี นเลมน้ี จดั พิมพด วยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน
ลิขสิทธเ์ิ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห น า | 2

หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนินชวี ติ

รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช11001)

ระดับประถมศกึ ษา

ฉบบั ปรบั ปรงุ 2554
ลิขสทิ ธเิ์ ปน ของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 18/2555



ห น า | 4 หนา

สารบัญ 1
7
คาํ นาํ 13
คาํ แนะนาํ ในการใชห นังสอื เรยี น 23
โครงสรา งรายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง
บทที่ 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง รากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทย
บทที่ 2 ปฏิบัตติ นดี มีความพอเพยี ง
บทท่ี 3 รูใช รูจา ย
บทท่ี 4 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง
บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพอ่ื ใหเกิดความม่นั คง ม่งั ค่ังและยัง่ ยืน
แบบทดสอบหลงั เรยี น
บรรณานกุ รม
คณะผูจดั ทํา

คําแนะนาํ ในการใชหนังสือเรียน

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา
เปนหนงั สือเรยี นท่จี ดั ทาํ ขึ้น สําหรบั ผูเรยี นท่เี ปนนักศึกษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ผูเ รียนควร
ปฏิบตั ิดงั น้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง และขอบขา ย
เนอ้ื หา

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตล ะบทอยา งละเอียดและทํากิจกรรมตามท่ีกําหนดแลว
ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจใน
เนื้อหาน้ันใหมใหเขาใจกอ นที่จะศึกษาเรอ่ื งตอ ไป

3. ปฏิบัติกิจกรรมทา ยเรื่องของแตล ะเรื่อง เพ่ือเปน การสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาใน
เรอ่ื งนน้ั ๆ อีกครั้งและการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของแตละเนอ้ื หาแตล ะเรอ่ื ง
ผเู รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบกบั ครูและเพอ่ื นๆ ท่รี ว มเรยี นในรายวิชาและระดบั เดยี วกนั ได

4. หนงั สือเรียนเลม น้ีมี 4 บทคือ
บทที่ 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง รากฐานการดาํ เนนิ ชีวิตของคนไทย
บทท่ี 2 ปฏิบตั ติ นดี มีความพอเพยี ง
บทที่ 3 รูใช รูจา ย
บทที่ 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง
บทท่ี 5 การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อใหเกดิ ความม่นั คง มั่งคงั่ และยั่งยืน

ห น า | 6

โครงสรางรายวิชารายรายเศรษฐกิจพอเพียง

ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001)

สาระสําคั ญ

เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ปรชั าทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงพระราชดํารสั ช้ีแนะแนวทาง
การดํารงอยูและการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหดําเนินชีวิตไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพฒั นาเศรษฐกจิ เพ่ือใหก าวทนั ตอ โลกยุคโลกาภวิ ัตน ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมี
เหตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปนทจ่ี ะตอ งมรี ะบบภูมิคุม กนั ในตวั ที่ดีพอสมควรตอ ผลกระทบใดๆอนั เกดิ จาก
การปลย่ี นแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งน้ี จะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความ
ระมัดระวังอยางยิง่ ในการนาํ วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและดาํ เนินการทุกขั้นตอน และขณะ
เดยี วกนั จะตองเสริมสรา งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติใหม ีสาํ นึกในคณุ ธรรม ความซือ่ สตั ยสุจริตและใหม ี
ความรอบรูท ี่เหมาะสมดาํ เนนิ ชวี ิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ตปิ ญญาและความรอบคอบ เพอ่ื ให
สมดลุ และพรอมตอการรองรับการเปลย่ี นแปลงอยางรวดเร็วและกวา งขวาง ทง้ั ดานวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอม
และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยางดี

ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั

1. อธบิ ายแนวคดิ หลกั การ ความหมาย ความสาํ คัญของปรชั าเศรษฐกจิ พอเพยี งได
2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั าเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ ชในการดาํ เนนิ ชวี ติ
3. เหน็ คุณคา และปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. แนะนาํ สง เสรมิ ใหส มาชกิ ในครอบครวั เหน็ คณุ คา และนาํ ไปปฏิบัตใิ นการดาํ เนนิ ชีวติ
5. บอกแนวทางและสามารถเริ่มตนประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

ขอบขา ยเน้อื หา

บทท่ี 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง รากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนไทย
บทที่ 2 ปฏบิ ตั ิตนดี มีความพอเพยี ง
บทที่ 3 รูใ ช รูจา ย
บทท่ี 4 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง
บทท่ี 5 การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพอื่ ใหเกิดความมั่นคง มง่ั ค่งั และยัง่ ยนื

ห น า | 1

บทที่ 1 เศรษฐกจิ พอเพียงรากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ
ของคนไทย

สาระสําคญั

เศรษฐกิจพอเพยี งเปน ปรชั ญาที่พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว ทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะทางการ
ดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดเลานานกวา 30 ป ต้ังแตก อนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ
ในป 2540 ประเทศไทยประสบกบั ภาวะวกิ ฤติเศรษฐกิจนับวา เปนบทเรียนสําคัญท่ีทําใหประชาชนเขาใจ
ถึงผลการพัฒนา ซ่ึงใชเปน แนวทางการดําเนินชีวิตที่อยูบ นพืน้ ฐานของทางสายกลางและความไม
ประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ การมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีตอ ตนเองตลอดจนใชค วามรู
และคุณธรรมเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต ท่ีสําคัญจะตองมีสติ ปญญาและความขยันหม่ันเพียร ซ่ึงจะ
นาํ ไปสคู วามสขุ ในการดาํ เนนิ ชีวิตอยางแทจ รงิ

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง

อธบิ ายแนวคดิ หลกั การ ความหมาย ความสําคัญ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

ขอบขายเนือ้ หา

เรอ่ื งท่ี 1 ความเปน มา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอ่ื งท่ี 2 ความหมาย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอ่ื งที่ 3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอ่ื งที่ 4 ความสาํ คัญของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ห น า | 2

เรื่องที่ 1 ความเปน มาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรชั าของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน แนวทางการดาํ เนนิ ชวี ิตและวถิ ปี ฏิบัตทิ ีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยู
หวั ทรงมพี ระราชดาํ รสั ชแ้ี นะแกพ สกนิกรชาวไทยมานานกวา 30 ป ดงั จะเหน็ ไดวา ปรากฏความหมาย
เปน เชงิ นัยเปนครง้ั แรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ในป
พ.ศ. 2517 ทพี่ ระองคไ ดทรงเนน ย้ําแนวทางการพฒั นาบนหลกั แนวคดิ ทีพ่ ่งึ ตนเอง เพ่ือใหเ กดิ ความพอมี
กิน พอใชข องคนสวนให โดยใชห ลกั ความพอประมาณ การคาํ นึงถึงการมีเหตผุ ล การสรา งภูมคิ ุมกนั ที่ดี
ในตวั เอง และทรงเตอื นสติประชาชนคนไทยไมใหป ระมาท ตระหนกั ถึงการพฒั นาอยางเปนข้ันเปนตอน
ทถี่ กู ตอ งตามหลักวชิ า และการมีคณุ ธรรมเปน กรอบในการปฏบิ ัตแิ ละการดํารงชวี ติ

ในชวงทปี่ ระเทศไทยประสบกับภาวะวกิ ฤติเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 นบั เปน บทเรียนสําคทั ่ีทํา
ใหประชาชนเขาใจถงึ ผลจาการพฒั นา ท่ไี มค ํานงึ ถึงระดบั ความเหมาะสมกับศกั ยภาพของประเทศ พง่ึ พิง
ความรู เงินลงทุน จากภายนอกประเทศเปน หลกั โดยไมไ ดสรางความมั่นคงและเขม แขง็ หรอื สรา งภูมคิ ุม
กันท่ดี ภี ายในประเทศ ใหส ามารถพรอมรบั ความเส่ียงจากความผันผวนของปจ จยั ภายในและภายนอกจน
เกดิ วิกฤตการณท างเศรษฐกิจครง้ั ใหสง ผลกระทบอยา งรุนแรงตอ สังคมไทย รัฐบาลตระหนกั ถงึ ความ
สําคใั นการแกไ ขปหาดงั กลาวใหเกดิ การพฒั นาทยี่ ั่งยืนในสังคมไทยอยา งเปนระบบดว ยการกาํ หนด
นโยบายดา นการศึกษา โดยนาํ ปรชั าของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน แนวทางในการพฒั นาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาทุกระดบั ใชค ณุ ธรรมเปน พ้ืนฐานของกระบวนการเรยี นรูที่เชอ่ื มโยงความรวมมือ
ระหวางสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครวั ชุมชน สถาบันศาสนา ใหมีสวนรว มในการจดั การศึกษา
เพอ่ื ใหผ ูเรยี นเกดิ ทักษะความรู ทักษะ และเจตคติ สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ไดอยา ง
สมดลุ และยง่ั ยืน

เร่อื งท่ี 2 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพียง คอื อะไร
เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ปรชั าชีถ้ งึ แนวทางการดาํ รงอยูและปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทกุ ระดบั
ต้ังแตครอบครัว ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ท้งั ในการพฒั นาและการบรหิ ารประเทศใหดาํ เนินไปในทาง
สายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพ่ือใหก าวทันตอ ยุคโลกาภิวัตนความพอเพยี ง หมายถึง ความ

ห น า | 3

พอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปนท่ีตอ งมรี ะบบคุม กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควรตอการมีผล
กระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทง้ั ภายนอกและภายในทงั้ น้ี จะตองอาศัยความรอบรู ความ
รอบคอบ และความระมดั ระวงั อยางยิ่งในการนาํ วิชาการตา งๆ มาใชในการวางแผน และการ
ดาํ เนนิ การทกุ ขนั้ ตอนและขณะเดยี วกนั จะตอ งเสริมสรางพืน้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจา หนา ทข่ี องรฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทุกระดบั ใหมีสํานึกในคณุ ธรรม ความซ่อื สตั ยส ุจรติ และ
ใหม ีความรอบรูท เ่ี หมาะสม ดาํ เนนิ ชีวติ ดวยความอดทน มีความเพยี รพยายามมสี ตปิ า และความ
รอบคอบ เพ่ือใหส มดลุ และพรอ มตอการรองรบั ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ และกวา งขวางทัง้ ทาง
ดา นวตั ถุ สังคม ส่งิ แวดลอม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี

ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจาํ เปน ท่ีตอ งมรี ะบบ
ภูมิคมุ กันในตัวท่ีดพี อสมควรตอ การมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจาการเปล่ยี นแปลงทัง้ ภายนอก และภายใน
ท้งั น้ีจะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยา งย่ิงในการนาํ วิชาการตา งๆ มาใช
ในการวางแผน และการดาํ เนนิ การทกุ ขัน้ ตอน และขณะเดยี วกันจะตอ งเสริมสรางพืน้ ฐานจติ ใจของคน
ในชาติ โดยเฉพาะเจา หนา ท่ีของรฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทกุ ระดับ ใหม สี าํ นึกในคณุ ธรรม ความ
ซอ่ื สัตยส ุจรติ และใหมคี วามรอบรูท่ีเหมาะสม ดาํ เนนิ ชวี ติ ดว ยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปญ ญา
และความรอบคอบ เพือ่ ใหสมดุลและพรอ มตอ การรองรบั การเปล่ียนแปลงอยา งรวดเร็วและกวางขวาง
ทง้ั ทางดานวัตถุ สงั คม ส่ิงแวดลอม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยางดี

เรือ่ งท่ี 3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง
เปนปรชั าชี้แนะแนวทางการดาํ รงอยแู ละปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถี

ชีวิตดั้งเดมิ ของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใ ชไ ดต ลอดเวลา และเปน การมองโลกเชิงในระบบท่ีมี
การเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนน การรอดพนจากภัย และวิกฤติ เพื่อ ความมัน่ คงและ ความยัง่ ยืน
ของการพฒั นา

ห น า | 4

คณุ ลกั ษณะ
เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนนการ

ปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพฒั นาตนอยางเปนขัน้ ตอน

แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง
ความพอเพยี งจะตองประกอบดวย 3 หวง 2 เงอ่ื นไข ดงั น้ี
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมน อ ยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเ บียดเบียนตน
เองและผอู ่นื เชน การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู นระดบั พอประมาณ

ห น า | 5

ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั ระดับของความพอเพียงนัน้ จะตอ งเปนไปอยางมี
เหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เก่ียวขอ งตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ันๆ
อยางรอบคอบ

การมีภูมิคุม กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลง
ดา นตางๆ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ โดยคํานึงถึงความเปน ไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวา จะเกิดขึน้ ในอนาคตทั้ง
ใกลแ ละไกล

เงอ่ื นไข
การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอ ยูในระดับพอเพียงนัน้ ตอ งอาศัยท้ังความรู และ
คณุ ธรรมเปน พื้นฐาน กลา วคือ
 เงื่อนไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ท่ีเกี่ยวของอยา งรอบดา น
ความรอบคอบท่ีจะนําความรูเ หลา นัน้ มาพิจารณาใหเชื่องโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏิบตั ิ
 เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดว ย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อ
สตั ยส ุจรติ และมีความอดทน มีความเพยี ร ใชส ตปิ า ในการดาํ เนนิ ชีวิต

เรื่องท่ี 4 ความสาํ คญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ความสําคัญของเศรษฐกิจพอเพยี งท่สี งผลตอ ประชาชน ดงั น้ี
1. เกดิ แนวคดิ ท่มี ุง เนน พึง่ พาตนเองเปนหลัก ท่ีมีอยูใ นตัวเองเพ่ือนํามาพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหเ กิด
ประโยชนส ูงสุดตอตนเอง ครอบครัว และชุมชนซึง่ จะทําใหสามารถดาํ รงชวี ติ อยไู ดอ ยางยงั่ ยนื
2. ทําใหม ีความเขมแข็งในจิตใจ โดยยึดหลักการพึ่งพาตนเองเปนหลัก เม่ือพ่ึงตนเองไดแลว
ทําใหจติ ใจสงบเขม แข็ง ไมว ติ กกงั วล
3. เกดิ ความรวมมือ ความกระตอื รอื รน ความสามัคคีในชุมชน และประเทศชาติ
4. เกดิ การมีสว นรวม คิดวิเคราะห แกปญ หารวมกนั
5. ทําใหม ีความเปน อยู พอมี พอกนิ ลดปหาความยากจน

ห น า | 6

“เม่ือสงั คมไทยเปนสงั คมเศรษฐกิจพอเพยี ง
คนไทยดาํ รงชวี ติ บนทางสายกลาง มสี ามหวงสําคญั
คลอ งใจในการดําเนินชวี ติ ไดแ ก ความพอประมาณ
ความมีเหตผุ ล การมีภมู ิคมุ กนั ในตัวทดี่ ี มสี องเง่ือนไขกํากบั ชีวติ อยา งเครง ครดั ได
แก เงอ่ื นไขความรูทป่ี ระกอบดวยรอบรู รอบคอบ ระมดั ระวงั เง่ือนไขคณุ ธรรม ซึ่ง
มีความซ่ือสัตยส ุจริต อดทน เพียร มสี ตปิ ญญา อยใู นชีวติ ชวี ติ มแี ตความสขุ

เศรษฐกิจ สดใส สงั คม อนุ ใจ สง่ิ แวดลอ ม
อดุ มสมบรู ณ วฒั นธรรม เขมแขง็ ย่ังยนื ”

ห น า | 7

กิจกรรมที่ 1

ตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี
1. จงอธิบายความหมายของ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทถี่ กู ตองท่ีสดุ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

2. หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน อยา งไร ?
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

3. เศรษฐกิจพอเพยี งมีความสําคัญตอการดาํ เนนิ ชวี ิตในปจจุบนั อยางไร?
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

4. ผูเ รียนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในเรื่องอไรบาง ใชวิธีการ
อยา งไร?
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

ห น า | 8

บทที่ 2 ปฏิบัตติ นดี มีความพอเพยี ง

สาระสําคญั

การปฏิบัติตนตามแนวทางปรัชาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว
ทรงมีพระราชดํารัสนํามาปฏิบัติตนคือ ยึดความประหยัด ประกอบอาชีพดว ยความถูกตอง สุจริต
เลิกแกงแยงผลประโยชนและแขง ขันกันในทางการคา ไมหยุดน่ิงที่จะหาทางใหช ีวิตหลุดพน จากความ
ทกุ ขย ากและปฏิบัตติ นในแนวทางที่ดี ลด ละสิง่ ชวั่ ใหห มดสิ้นไป

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง

1. เหน็ คุณคาและปฏบิ ตั ติ ามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั าของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ ชใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ ได

ขอบขายเนือ้ หา

เรอ่ื งท่ี 1 วธิ ีคิด วิธปี ฏิบตั ิ วธิ ีใหค ุณคาตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอ่ื งที่ 2 การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางปรชั าของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ห น า | 9

เรอ่ื งท่ี 1 วธิ ีคดิ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ วิธีใหค ณุ คา ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง

วิธีคิด การจะนาํ ปรชั าเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใชใ หไดผ ลดีในการดาํ เนนิ ชวี ติ จาํ เปน จะ
ตองเริ่มตนจากการมีความรู ความเขา ใจท่ถี กู ตองวา เศรษฐกจิ พอเพยี งหมายถงึ อะไร และมีหลักการ
สําคัญอะไรบางท่จี ะนาํ ไปใชเ ปน แนวทางสกู ารปฏบิ ตั ิ ตลอดจนเหน็ ถึงประโยชนจ ากการทจี่ ะนาํ ไปใชใ น
ชวี ติ ประจําวันเพ่อื ใหรอดพน และสามารถดาํ รงอยไู ดอยางมน่ั คงและยงั่ ยืน

วิธีปฏบิ ัติ หลังจากทไี่ ดท ําความเขาใจอยางถูกตอ งแลว กจ็ าํ เปนจะตองทดลองนํามาประยุกตใช
กบั ตนเอง ท้ังในชีวติ ประจําวันและการดาํ เนินชีวิตสามารถอยรู ว มกบั ผูอ ่นื ไดอ ยา งมคี วามสุข โดยคาํ นงึ
ถึงการพ่ึงพาตนเองเปน เบอ้ื งตน การทาํ อะไรทไ่ี มส ุดโดง ไปขางใดขา งหนง่ึ การใชเ หตุผลเปน พ้ืนฐานใน
การตัดสนิ ใจและการกระทําตาง ๆ ตลอดการสรา งภูมคิ ุม กนั ที่ดี เพอ่ื พรอมรบั ตอการเปลี่ยนแปลงจะไม
ทาํ อะไรทีเ่ สี่ยงจนเกนิ ไปจนทําใหตนเองหรอื คนรอบขางเดอื ดรอนในภายหลัง การใฝร ูอ ยา งตอเน่ืองและ
ใชความรูดว ยความรอบคอบและระมดั ระวงั ความซื่อสัตย ความไมโ ลภ ความรูจกั พอ ความขยันหมนั่
เพยี ร การไมเ บยี ดเบยี นกัน การรจู กั แบง ปน และชว ยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั

อยางไรก็ตาม การท่ีจะสรางภาวะความรูความเขาใจที่ถูกตอ งอยา งลึกซึ้งเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
พอเพยี งเพอื่ ใหสามารถนาํ ไปประยุกตใ ชไดนัน้ จาํ เปน ทจี่ ะตอ งเรยี นรูดว ยตนเองหรอื รว มกบั ผูอื่น

วิธีการใหค ุณคา การเรียนรูจากการปฏิบัติ การแลกเปล่ียนขอ คิดเห็นและประสบการณระหวา ง
ผูที่มีความสนใจรวมกันจะทําใหสามารถตระหนักถึงประโยชนและความสุขท่ีจะไดรับจากการนําหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช แลว เกิดการปรับเปล่ียน ความคิดเห็นและนอมนําเอาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน
การดาํ เนนิ ชีวิตตอ ไป

จิตสํานึกทต่ี ระหนกั ถงึ ความสขุ ทเ่ี กดิ จากความพอใจในการใชชวี ิตอยางพอดแี ละรูจกั ระดับความ
พอเพียงจะนําไปสูการประกอบสัมมาอาชีพหาเล้ียงตนเองอยา งถูกตอ ง ไมใ หอดอยากจนเบียดเบียนตน
เอง หรอื ไมเกดิ ความโลภจนเบยี ดเบยี นผูอ่ืน แตมีความพอเพียงที่จะคิดเผื่อแผแ บงปน ไปยังคนอ่ืน ๆ ใน
ชุมชนหรอื องคก รและสังคมได

อยา งไรก็ตาม ระดับความพอเพียงของแตละคนจะไมเทากันหรือความพอเพียงของคนคนเดียว
กนั แตต า งเวลากอ็ าจเปลยี่ นแปลงไปได แลวแตเ ง่ือนไขภายในและภายนอก ตลอดจนสภาพแวดลอ มท่ีมี
ผลตอ ความพอเพยี ง

ห น า | 10

เรอ่ื งท่ี 2 การปฏบิ ัติตนตามแนวทางปรชั าของเศรษฐกจิ พอเพยี ง*

ในฐานะที่เปน พสกนิกรชาวไทย จึงควรนอมนําปรัชาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเด็จ
พระเจา อยหู วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทรงมพี ระราชดํารสั มาประพฤติปฏบิ ตั ติ น ดงั น้ี

1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจา ยในทุกดาน ลดละความฟุม เฟอ ยในการดํารงชีวิตอยาง
จรงิ จงั ดงั กระแสกระราชดาํ รัส ความวา

“ ...ความเปนอยทู ่ตี อ งไมฟ มุ เฟอ ย ตอ งประหยัดไปในทางทถี่ ูกตอง...”
2. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอ งสุจริต แมจะตกอยูใ นภาวะขาดแคลนในการ
ดาํ รงชีวิตกต็ าม ดงั กระแสพระราชดาํ รสั ความวา

“...ความเจริของคนทัง้ หลายยอมเกิดจากการประพฤติชอบและการหาเลีย้ งชีพชอบเปนหลัก
สําคัญ...”

3. ละเลิกการแกงแยง ผลประโยชนและแขงขันกันในทางการคา ขาย ประกอบอาชีพแบบตอ สู
กันอยางรุนแรงดงั อดตี ดงั กระแสพระราชดาํ รสั ในเรอ่ื งน้ี ความวา

“...ความสุขความเจริอันแทจ ริงน้ัน หมายถึงความสุขความเจริที่บุคคลแสวงหาไดด ว ยความ
เปน ธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทํา ไมใ ชไ ดมาดว ยความบังเอิหรือดวยการแกงแยงเบียดบังมาจาก
ผูอน่ื ...”

4. ไมห ยดุ นง่ิ ทจ่ี ะหาทางใหช วี ิตหลดุ พน จากความทุกขยากครง้ั นโี้ ดยตอ งขวนขวายใฝห าความรู
ใหเกดิ มรี ายไดเ พิ่มพนู ข้ึนจนถงึ ขน้ั พอเพียงเปนเปน เปาหมายสําคั ดังกระแสพระราชดํารัสตอนหน่ึงท่ีให
ความหมายชดั เจนวา

“...การท่ีตอ งการใหท ุกคนพยายามที่จะหาความรู และสรางตนเองใหม ั่นคงน้ี เพ่ือตนเอง เพ่ือ
จะใหต นเองมีความเปนอยูที่กาวหนา ที่มีความสุข พอมีพอกินเปน ข้ันหน่ึง และข้ันตอไปก็คือการมี
เกียรติวา ยืนไดดวยตนเอง...”

5. ปฏิบัตติ นในแนวทางทด่ี ี ลด ละ สิ่งชั่วใหหมดสิ้นไป ทงั้ ดวยสังคมไทยทลี่ ม สลายลงในครัง้ นี้
เพราะยังมีบุคคลจํานวนมิใชน อ ยที่ดําเนินการโดยปราศจากละอายแผน ดิน ดังกระแสพระราชดํารัส
ความวา

“... พยายามไมกอความชัว่ ใหเ ปนเครอ่ื งทําลายตัว ทําลายผูอ ่ืน พยายามลด ละความช่ัวท่ีตัวเองมีอยู
พยายามกอความดีใหแกตวั อยูเสมอ พยายามรกั ษาและเพิม่ พนู ความดีทม่ี ีอยนู ้นั ใหง อกงามสมบรู ณข้นึ ...”
-----------------------------------
* จากหนังสือเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมา
จากพระราชดาํ ริ หนา 27 พิมพครง้ั ที่ 3 กรกฎาคม 2548

ห น า | 11

หลกั ของความประมาณ (พอ ดี) 5 ประการ (จากขอสรปุ ของสภาพฒั น)
1. พอดีดา นจติ ใจ เขม แขง็ มีจติ สํานกึ ทด่ี ี เออ้ื อาทร ประนปี ระนอมนกึ ถึงประโยชน

สวนรวม

2. พอดีดา นสังคม ชว ยเหลือเกื้อกูล รูจักสามัคคี สรางความเขมแข็งใหค รอบครัวและ

ชุมชน

3. พอดีดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม รูจ ักใชและจัดการอยา งฉลาด และรอบคอบ

เกดิ ความย่งั ยนื สูงสุด

4. พอดีดานเทคโนโลยี รูจักใชเ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและสอดคลองตอความตอ งการเปน

ประโยชน สภาพแวดลอมและเกดิ ประโยชนต อสว นรวมและพฒั นาจากภูมปิ า ชาวบา นกอ น

5. พอดีดานเศรษฐกิจ เพ่มิ รายได ลดรายจาย ดํารงชวี ิตอยา งพอควรพออยู พอกิน สมควร

ตามอัตภาพและฐานะของตน

หลกั ของความมเี หตผุ ล

1. ยึดความประหยัด ตดั ทอนคาใชจา ยในทกุ ดาน ลดความฟุมเฟอยในการดํารงชีวติ
2. ยึดถือการประกอบอาชีพดว ยความถูกตองสุจริต แมจ ะตกอยูในภาวะขาดแคลนในการ
ดาํ รงชวี ิต
3. ละเลิกการแกง แยง ผลประโยชน และแขง ขันในทางการคาขายประกอบอาชีพ แบบตอ สูกัน
อยา งรนุ แรง

4. ไมห ยดุ นง่ิ ที่หาทางในชวี ิตใหห ลดุ พน จากความทกุ ขย าก
5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก ส่ิงยั่วยุกิเลสใหห มดส้ินไป ไมก อความชั่วใหเปนเครือ่ ง
ทําลายตวั เอง ทําลายผอู ่ืน

หลกั ของการมีภมู ิคมุ กนั

1. มีความรู รอบคอบ และระมดั ระวงั
2. มีคณุ ธรรม ซอ่ื สัตยสจุ ริต ขยนั อดทนและแบง ปน

ห น า | 12

การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแบบอยางและแนวทางใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน นํามาประยุกต
ใชในการดาํ รงชีวิต ดงั น้ี

1. ยดึ หลกั ความประหยัด ไมใ ชจ า ยฟมุ เฟอ ย ใชในสง่ิ ทจ่ี าํ เปนและรูจกั เกบ็ ออมไวใ ชใ นอนาคต
2. ยดึ หลกั ความซอื่ สตั ยสจุ รติ ความถกู ตอ งในการประกอบอาชพี และการดาํ เนนิ ชีวิตไมเหน็ แกต วั

3. ยึดหลักความไมแกงแยง ชิงดีกัน รูจักการพึ่งพากัน ไมเ อารัดเอาเปรียบและแขง ขัน
โดยใชวธิ ีรนุ แรง

4. ยึดหลักการใฝรูใ ฝเรียน หมั่นศึกษาหาความรู ใชสติปา ในการดําเนินชีวิต
การประกอบอาชีพเพื่อใหม รี ายไดไ วใ ชจ า ย โดยยึดความพอเพยี งเปน หลกั

5. ยึดหลักการทําความดี ลดละความชั่วและสิ่งอบายมุขท้ังปวงเพื่อใหต นเอง ครอบครัวและ
สังคม อยูอ ยางเปนสขุ

กิจกรรมที่ 2

หลังจากผเู รียนไดเ รยี นรหู ลกั การเศรษฐกิจพอเพียงจนมีความรู ความเขาใจ ยอมรับและตัดสินใจลง

มือปฏิบัติ ประยกุ ตใชในการดาํ เนินชีวิต และประกอบอาชีพของตนเองนั้น ผูเรียนมีแนวทาง สามารถ
นํามาปฏบิ ตั ิ กบั ตวั เอง ครอบครัวอยางไร?

เนอ้ื หา แนวทางปฏิบัติ
1.พอประมาณ
ในการดาํ เนนิ ชวี ิตเชน ( การชื้อสินคา การใชเงิน)
2.ความมีเหตุผล ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
ในการประกอบอาชีพ (เชน การลงทุน การแปรรูป)
....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

ในการดาํ เนนิ ชวี ิต( เชน การตดั สนิ ใจช้ือสินคา การใชเ งิน )
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
ในการประกอบอาชีพ(เชนการตดั สนิ ในลงทนุ )
....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

ห น า | 13

เนอ้ื หา แนวทางปฏิบัติ
3.มีภมู คิ มุ กนั ทีด่ ี
4.เง่ืองไขความรูเร็จ ในการดาํ เนนิ ชวี ิต (เชน การสํารองของใช การปองกันอุบัติภัย)
4.เง่อื งไขคุณธรรม ....................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ในการประกอบอาชีพ( การสํารองเงินลงทุน การสําลองสินคา)
....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

รอบร(ู เชนความรูเรือ่ งอาชพี นนั้ ๆ)
....................................................................................................................................
รอบคอบ.(เชน รอบคอบในการใช)..............................................................................
....................................................................................................................................
ระมดั ระวงั (การทําบัญชี)...........................................................................................

ซื่อสัตย (เชนใชว ัตถุดบิ ที่ไมมีสารพษิ ปนเปอน)
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
อดทน ( เชน อดทนในการดาํ เนนิ การ)…………………………………………..
แบงปน (มคี วามเอ้ือเฟอเพ่อื แผ)

ห น า | 14

บทที่ 3 รูใช รูจ า ย

สาระสําคญั

เมื่อเราประกอบอาชีพมีรายได การนําเงินไปใชจ ายส่ิงใดตองจดทุกอยา ง ทุกครัง้ ที่จา ยออกไป
การบันทึกรายรับ รายจายเปน หลักฐาน แสดงแหลงทีม่ าของรายได รายจา ยและเงินออม อีกทัง้ เปนการ
เตอื นตนเองและครอบครัววา ในแตล ะเดือนมีคา ใชจ า ยอะไรบางที่ไมจําเปน รายการใดสามารถตัดทิง้ ไป
ไดใ นเดอื นตอ ไป ครอบครัวควรเร่มิ ตนจดรายรบั -รายจายจนเปน นสิ ยั ครอบครัวเราจะไดไ มยากจน

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั

1. วางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครัวได
2. วิเคราะหส ภาพรายรบั -รายจายของครอบครัวได
3. บันทกึ รายรบั -รายจา ยของตนเองและครอบครัวได
4. อธิบายวิธกี ารลดรายจายและเพิ่มรายได
5. อธิบายวธิ ีการออมเงนิ ได

ขอบขายเนื้อหา

เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครัว
เรอ่ื งที่ 2 การบันทึกรายรับ-รายจายของตนเองและครอบครัว
เรอ่ื งที่ 3 การลดรายจายและเพม่ิ รายไดในครวั เรอื น
เรอ่ื งท่ี 4 การออม

ห น า | 15

เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนการใชจ าย

กอ นที่จะใชจ ายเงิน เราควรจัดสรรเงินที่มีอยูใหตรงกับความตองการ โดยการวางแผนการ
ใชจายเงินไวก อน

การวางแผนการใชจ า ยเงิน หมายถึง การท่ีบุคคลจัดสรรรายรับ-รายจาย ของตนเอง ซึ่งมีแนวทาง
ในการปฏิบัติ ดงั น้ี

1. การหารายได ทุกคนตองประกอบอาชีพ เพื่อใหม ีรายไดประจําและหากมีเวลาวา งควรหาราย
ไดเ สรมิ เพื่อจะไดมีรายไดพอกับการใชจา ยในการดํารงชีพ

2. การใชจายใหพิจารณาใชจ ายในส่ิงท่ีจําเปนจริง ๆ เชนใชจา ยเปนคา อาหาร เคร่ืองนุง หม
ท่ีอยูอาศัย ยารักษาโรค โดยคํานึงถึงคุณคา ของสิ่งที่ซื้อวา มีคุณภาพและคุมคาเงิน ไมใ ชซ ื้อเพราะ
คําโฆษณาชวนเช่ือ

การประหยัด ควรรูจักเก็บออมเงินไวใชจ า ยเมือ่ คราวจําเปน เชน เมื่อเจ็บปวย โดยวางแผนใหมี
รายจา ยนอยกวา รายไดมากที่สุดก็จะมีเงินเก็บ เครื่องใชท ่ีชํารุดเสียหาย ควรซอมแซมใหใ ชไ ดอยูเสมอ
ประหยัดพลังงานและทนถุ นอมเครอ่ื งใชใหม ีอายกุ ารใชง านไดน าน

การเปน หนี้โดยไมจ ําเปน เพราะยืมเงินมาใชจ า ยสุรุย สุรา ย เชน การยืมเงินมาจัดงานเล้ียงใน
ประเพณีตางๆ จะทําใหชีวิตมีความลําบาก สรางความเดือดรอ นใหตนเองและครอบครัว แตถา หาก
เปนหน้เี พราะนาํ เงนิ มาลงทุนในกิจการทีส่ ามารถใหผลคุมคา กอ็ าจจะเปนหนไ้ี ด

3. การบันทึกรายรับ-รายจา ย เปน วิธีการวางแผนที่สําคั การบันทึกรายรับ-รายจาย ในชีวิต
ประจําวัน เพ่ือใหทราบวาในวันหน่ึง สัปดาหหน่ึง เดือนหน่ึง เรามีรายไดจ ากอะไร เทาไรและจายอะไร
อยา งไร ควรจะวางแนวทางในการใชจ า ยอยางไรจึงจะพอและที่เหลือสะสมไวเปน ทุนหรือเก็บสะสมไว
ใชจายในยามจําเปน การบันทึกรายรับ-รายจา ย จึงเปนขอ มูลหลักฐานแสดงใหเห็นแหลง ท่ีมาของรายได
และmujท่ไี ปของรายจา ย ซ่งึ จะนําไปสกู ารตั้งเปา หมายลดรายจา ย การเพิ่มรายไดแ ละการออมตอ ไป

เรื่องที่ 2 การบนั ทกึ รายรบั -รายจา ยของตนเองและครอบครวั

เมื่อเรามีรายไดและนําเงินรายไดไ ปใชจายซ้ือสิ่งท่ีจําเปน ส่ิงใดท่ีมีราคาสูงก็ไมจําเปน ตอ งซ้ือ
ทันทีแตใหต้ังเปาหมายไววา จะเก็บหอมรอบริบไวจ นมากพอแลวจึงซ้ือ ดังน้ันเราจึงควรวางแผนการ
ใชจ ายไวลวงหนาวาเราตองซือ้ อะไร เทา ไหร เม่อื ใด

เราคงเคยไดย ินขาวชาวนาขายท่ีนาไดเ งินเปนแสนเปน ลาน แตเม่ือเวลาผา นไปไมก่ีป เขากลับไม
เหลอื เงนิ เลย ตอ งไปเชาท่ีนาของคนอืน่ ทํากิน เรื่องดังกลาวเปนตัวอยางของบุคคลท่ีไมมีการวางแผนการ

ห น า | 16

ใชเงนิ ดงั น้นั กอ นท่ีเราจะใชจา ยเงินเราควรจดั สรรเงนิ ที่มีอยูใ หต รงกับความตองการดว ยการวางแผนไว
วธิ กี ารวางแผนทส่ี ําควั ิธกี ารหนง่ึ คือ การบนั ทกึ รายรบั -รายจา ย

“หากอยากมีชวี ติ ทมี่ ง่ั ค่ังสมบูรณ ตองลงมือบันทกึ รายรบั -รายจา ยตงั้ แตบดั น้”ี

ขอควรคํานึงในการใชจายเงินและจดบนั ทกึ รายรบั รายจาย

1. กาํ หนดความคาดหวงั และเปาหมายวา จดบนั ทกึ เพอ่ื อะไร
2. วางแผนรบั -จา ยกอ นใชเ งนิ
3. กอนซ้ือส่งิ ใดตองพิจารณาใหดีกอ นวา สิ่งนั้นจาํ เปนหรอื ไม
4. จดบนั ทกึ ทุกครั้ง ทกุ วัน ทกุ บาท ทุกสตางคท ่ีมกี ารรบั และจายเงิน
5. หม่ันตรวจสอบบัชวี า มีรายการใดทีใ่ ชเงนิ ไมเหมาะสม หากมตี อ งแกไขทันที
6. เกบ็ ใบเสรจ็ หรอื หลกั ฐานการรับเงิน-จายเงินไวเพือ่ ตรวจสอบกับบัชีทจี่ ด

“การจดบันทึกรายรับ-รายจาย” หรือการจดบัชี จะชวยใหเราทราบวาเรามีรายรับมากนอยแค
ไหน เราสามารถลดคาใชจ ายรายการใดออกไปไดบ าง “การจดบัชี” ทําใหเ ราสรางสมดุลระหวางรายได
และรายจายทเ่ี หมาะสมแกฐ านะการเงินของเราไดเปน อยางดี

การจดบัชีครัวเรือน เปนการจัดทําบัชีรายรับ รายจา ยของครอบครัว เราสามารถ
จดั ทําบัชีแบบทง่ี า ย ผทู ี่ไมเ คยมีความรูเรอ่ื ง การบชั ีมากอนก็ทําเองไดโ ดยการแยกรายการออกเปน รายรับ
และรายจา ย รายรบั ไดแก เงนิ เดอื น คาจาง ผลตอบแทนท่ีไดจากการทํางาน เงินท่ีไดจากการขาย ผลผลิต
การเกษตร หรอื ทรพั ยส ิน เปน ตน รายจา ยไดแ ก คาใชจ า ยเพื่อซ้ือสินคาสําหรับในการอุปโภค บริโภค
คาน้าํ ประปา คา ไฟฟา คาโทรศัพท คาซอ มแซม คา อุปกรณเ ครื่องใช เครื่องไม เครือ่ งมือ คา รถ คา
อาหาร คา เชา เปน ตน

ตวั อยา ง รายรบั รายจา ย ขายผลผลติ ทางการเกษตร 2,500 บาท

1 มี.ค. 52 จายเงินซอ้ื ของใชใ นบา น 500 บาท
จายเงินซอ้ื ขาวสาร 300 บาท
5 มี.ค. 52 จายคา น้าํ คาไฟ 250 บาท
7 ม.ค. 52 ขายผลผลิตทางการเกษตร 1,250 บาท
10 มี.ค. 52 จา ยคา ซอื้ ปยุ 300 บาท
15 มี.ค. 52 จายคา อาหาร 200 บาท
20 มี.ค. 52
25 มี.ค. 52

ห น า | 17

ตัวอยาง การจดบัชีครัวเรอื น

วนั เดอื น ป รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลือ

1 ม.ค. 52 ขายผลผลติ 2,500 - 2,500

5 ม.ค. 52 ซ้อื ของใช 500 - 2,000

7 ม.ค. 52 ซือ้ ขา วสาร 300 - 1,700

10 ม.ค. 52 จา ยคาน้ํา คา ไฟ 250 - 1,450

15 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,200 - 2,650

20 ม.ค. 52 จา ยคา ซ้อื ปุย 300 - 2,350

25 ม.ค. 52 จายคา อาหาร 200 - 2,150

รวม 3,700 - 1,500 - 2,150

รายรบั สงู กวา รายจา ย 2,150

การบันทึกรายรับ-รายจาย หรือการจดบัชีทั้งของตนเองและครอบครัวมีความสําคัตอ ชีวิตของ
คนไทยเปน อยางยิ่ง ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัว พระราชทานแกคณะบุคคล
ตา งๆ ที่เขา เฝา ถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวโรกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วนั ที่ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540
ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ความวา “...เม่ือ 40 กวา ป มีผูหน่ึงเปนขา ราชการชั้นผูน อยมาขอเงิน ท่ี
จรงิ ไดเคยใหเ งนิ เขาเลก็ ๆ นอยๆ แตเ ขาบอกวา ไมพอเขาก็มาขอยืมเงิน ขอกูเงินก็บอก..เอา ให. .แตข อใหเ ขาทํา

บัชีรายรับ-รายจา ย รายรับก็คือ เงินเดือนของเขาและรายรับท่ีอุดหนุนเขา สวนรายจา ยก็เปน ของท่ีใชใน
ครอบครัว...ทีหลัง เขาทํา...ตอ มา เขาทําบัชีมาไมขาดทุน แลวเขาสามารถที่จะมีเงินพอใช เพราะวา บอก
ใหเขาทราบวา มีเงนิ เดอื นเทา ไหรจ ะตองใชภายในเงนิ เดอื นของเขา...”

ห น า | 18

บุคคลตัวอยา ง การสรา งชีวติ ใหมอ ยา งพอเพยี งดวยบญั ชีครวั เรอื น

นายเจน ชูใจ ราษฎร หมู 4 ตําบลพนมทวน จงั หวดั กาจนบรุ ี ผูประสบความสําเรจ็ จากการทําบัชี
ครวั เรอื น กลา ววา “จบเพยี งประถมศึกษาปท่ี 4 พอ แมย ากจน มีอาชีพทํานาเปนหลัก ตอมาไดรับมรดกเป
นที่นา 10 ไร จงึ ทํานาเรอ่ื ยมา แตก็สามารถสงลูกเรยี นสงู ๆ ได เน่ืองจากสรางวินัยในการใชจา ยเงินอยาง
มีระบบ มีพอแมเปน แบบอยางที่ดีในเรื่องความมีระเบียบในการใชเงินทองแตละบาทแตละสตางค โดย
ในสมัยพอ ใชถ านหงุ ขา ว เขยี นคา ใชจา ยในแตละวันท่ีขางฝาขางบา น จึงจดจํามาปฏิบัติ เริม่ จากจดบันทึก
ชว่ั โมงการทํางานวา ภายใน 1 เดือน มีความขยันหรือขีเ้ กียจมากนอ ยแคไหน ภายหลังมาทําบัชีการใชจ าย
ในครวั เรอื นในชว งทําไรน าสวนผสม เม่อื ป 2528”

กวา 20 ปท ่ที าํ บชั ีครวั เรอื นมาทาํ ใหทกุ วนั น้ีมีชวี ติ ในครอบครัวอยูอยางมีความสุข ปจ จุบันมีที่นา
รวมกวา 50 ไร โดยการซ้ือสะสมมา มีเงินฝากธนาคาร โดยมีคติวา จากนํ้าที่ตักมาจนเต็มโอง เวลานํ้าพร
องตอ งเตมิ ใหเ ตม็ ถาปลอ ยใหน ํ้าแหง ขอด ชีวิตก็จะเหนอ่ื ยจะทําใหช ีวติ บั้นปลายลําบาก” นายเจนกลาว

น่ันคือประโยชนท ่ีเห็นไดชัดจากการทําบัชีครัวเรือนที่ไมเ พียงแตจ ะชวยใหความเปนอยูข อง
ครอบครัวดีข้ึนเทาน้ัน แตย ังสรา งสังคมใหเปนปก แผน สง ผลไปถึงเศรษฐกิจอันม่ันคงของประเทศใน
อนาคตขา งหนาอกี ดวย (จตุพร สุขอนิ ทรแ ละปญญา มังกโรทยั ,๒๕๕๒:๓๐)

เรอื่ งที่ 3 การลดรายจา ยและเพิ่มรายไดในครวั เรอื น

การลดรายจา ยในครัวเรือน ปหาเรื่องหนี้สินในครอบครัวหรือปหารายรับไมพ อกับรายจา ย เปน
ปหาท่ีทําใหป ระชาชนหนักใจ การปองกันและแกไ ขปห าเรื่องหนี้สิน มีหลักงา ย ๆ วาตอ งลดรายจาย
และเพ่ิมรายไดใหม ากขึ้น การลดรายจายสามารถทําไดโ ดยการสํารวจคาใชจ า ยในเดือนที่ผา นมา แลวจด
บันทึกดูวาในครอบครัวมีการใชจา ยอะไรไปบา งและรายการใดท่ีไมจําเปน นาตัดออกไปได ก็ใหต ัด
ออกไปใหหมดในเดือนถัดไปก็จะสามารถลดรายจายลงได แตทุกคนในครอบครัวตอ งชวยกัน เพราะถา
คนหนง่ึ ประหยัดแตอ กี คนยงั ใชจ า ยฟมุ เฟอ ยเหมอื นเดมิ กค็ งไมไ ดผ ล ตองชี้แจงสมาชิกทุกคนในบาน เม่ือ
ลดรายจายไดแ ลวก็เอารายรบั ของท้งั บา นมารวมกนั ดูวา จะพอกับรายจา ยหรือไม ถาพอและยังเหลือก็คงต
องเอาไปทยอยใชห น้แี ละเกบ็ ออมไวเผอื่ กรณีฉุกเฉิน เชน การเจ็บปวย อุบัติเหตุ เปน ตน แตถ ารายไดย ังน
อยกวารายจา ยก็ตอ งชว ยกันคดิ วา จะไปหารายไดเพมิ่ มาจากไหนอกี

โดยสรปุ การใชจ า ยเงินมี 3 แบบ คือ
1. ใชต ามใจชอบเปน การใชไ ปเรือ่ ย ๆ แลวแตว าตองการอะไรก็ซื้อ เงนิ หมดกห็ ยดุ ซอ้ื
2. ใชตามหมวดท่ีแบง ไว เชน

ห น า | 19

- คาอาหารและคา เสอ้ื ผา
- คารักษาพยาบาล
- คา ทําบุกุศล
- เกบ็ ออมไวใชใ นอนาคต ฉกุ เฉนิ
- คาศึกษาเลาเรยี นของบตุ ร

ฯลฯ
3. ใชตามแผนการใชท่ีกาํ หนดไวลว งหนาเปนการใชตามโครงการที่ไดว างแผนไวล ว งหนาแลว
นนั้ ซงึ่ เปน วธิ ีการที่ถูกตอ ง ซึ่งสามารถนาํ หลกั การทางวิชาการมาใชใ นการปฏิบัติการวางแผนการใชจ า ย
ในครอบครัว ขอปฏบิ ัติของการใชจายภายในครอบครัว มีสิ่งทพี่ ึงปฏบิ ัติ 3 ประการคอื

- การทําบชั รี ายรบั -รายจา ย
- การประหยัด
- การออมทรพั ย
ครอบครัวตอ งมีการวางแผนจัดการรายรับ-รายจา ย เพ่ือใหมีทรัพยสินเพียงพอจะซื้อหรือ
จดั หาสิง่ ที่ครอบครัวตองการเพือ่ ความสงบสุขและความเจริของครอบครัว

เรื่องที่ 4 การออม

การออมคือ การสะสมเงินทีละเล็กทีละนอยเมื่อเวลาผานไปเงินก็จะเพิ่มพูนขึ้น การออม
สว นใหญจ ะอยใู นรูปการฝากเงนิ กับธนาคาร จุดประสงคหลักของการออม เพ่ือใชจ ายในยามฉุกเฉิน ยาม
เราตกอยูในสภาวะลําบาก การออมจงึ ถอื วา เปน การลงทุนใหกบั ความมน่ั คงในอนาคตของชีวิต

หลกั การออม ธนาคารออมสนิ ไดใหแนวคดิ วา “ออม 1 สว นใช 3 สวน เนือ่ งจากการออมมีความ
สําคัตอ การดํารงชีวิต แมบางคนมีรายไดไ มมากนัก คนเปน จํานวนมากออมเงินไมไ ด เพราะมีคาใชจา ย
มาก ใชเงินเกินตัว รายรับมีไมพอกับรายจา ย เม่ือเรามีรายไดเ ราจะตอ งบริหารจัดการเงินของตนเอง หาก
เราคดิ วา เงนิ ออมเปน รายจา ยอยา งหน่งึ เชน เดียวกับรายจา ยอ่ืน ๆ เงินออมจะเปนรายการแรกที่ตองจา ยทุก
เดือน โดยอาจกําหนดวาอยางนอ ยตองจายเปน รอ ยละเทา ไรของรายไดแ ละทําจนเปนนิสัย
แลว คอ ยวาง แผนเพือ่ นาํ เงนิ สว นทเี่ หลอื ไปเปน คาใชจ ายตา ง ๆ เทานเ้ี รากม็ ีเงนิ ออม

การลดรายจาย สามารถกระทําไดดังนี้
1. ทําสวนครัวและเลีย้ งสัตวไวสําหรับบริโภค โดยใชพืชผักพื้นบานทีม่ ีในทองถิน่ ผักทีใ่ ชเปน

ประจํา ผักท่ปี ลูกไดงา ยไมตองดแู ลมากมาปลูกไวในครวั เรือน เชน ผักบุง ผักคะนา ผักขม ชะอม ฟกทอง
แตงกวา มะเขือ ถวั่ ฝก ยาว ขา ตะไคร ตนหอม กระเทียม ตําลึง และการเลีย้ งปลาดุก เลีย้ งกบ เลีย้ งไก เปน

ห น า | 20

ตน ซึ่งหากเราสามารถปลูกผักสวนครัว เลีย้ งสัตวไวรับประทานในครัวเรือนไดเอง โดยไมตองไปซือ้ หา
มาจากตลาด ก็จะทําใหครัวเรือนสามารถลดรายจายได แตหากผลผลิตเหลือเฟอจากการบริโภคแลวเรา
นําไปขายก็จะเปนการเพิ่มรายไดอ กี ดว ย

๒. การประหยัด การออมในครวั เรอื น โดยการรจู กั ใชทรพั ยสิน เวลา ทรัพยากรตามความจําเปน
ดวยความระมัดระวังโดยใหเกิดประโยชนคุมคามากที่สุด รูจักดํารงชีวิตใหเหมาะสมกับสภาพความเปน
อยูสวนตัว รวมท้ังการอดออม ลดรายจายทีไ่ มจําเปน ประหยัดพลังงาน รูจ ักการใชพลังงานจาก
แสงอาทิตย เปนตน

๓. การลด ละเลิก อบายมุข โดยการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมตนเอง จากการทีค่ นชอบไปงาน
สังคม ดื่มเหลา ฟงเพลง เตนรํา กลับบานดึก ก็ตองเลิกการกระทําที่ไมจําเปนและเปนผลเสียตอสุขภาพ
รางกาย สิน้ เปลือง

๔. การจัดทําบัญชครัวเรือน คือ การรูจ ักจดทุกครัง้ ทีจ่ าย บริหารการใชจายใหเหมาะสมกับ
ตนเอง สิง่ ใดท่ีเกดิ ความจาํ เปน ในชวี ิตกต็ องไมใชจ าย

๕. การใชพ ลงั งานอยา งประหยดั เชน การประหยดั น้ํา ประหยัดไฟ ใชเ ทา ท่ีจาํ เปน เปน ตน

การเพม่ิ รายได
การเพิ่มรายไดนนั้ มหี ลากหลายวิธี นอกจากการประกอบอาชพี หลกั แลว เรายังสามารถเพิ่ม

รายไดได ดงั นี้
1. การปลูกผกั สวนครวั สําหรับไวรบั ประทานเองในครัวเรือน และแบง ปนใหเพอื่ นบาน ที่

เหลือจงึ นาํ ไปขาย ก็จะทําใหมรี ายไดเ พมิ่ ขน้ึ เชน การปลูกพรกิ มะเขอื ชะพลู ตน หอง ผักชี ชะอม ตําลงึ
ผกั หวาน เปน ตน

2. การประกอบอาชพี เสรมิ โดยใชทรพั ยากร วัตถดุ ิบท่มี ีอยใู นครัวเรอื น ในชุมชนมาใชใหเ กิด
ประโยชนสูงสุด และเปนการลดตนทุนการผลิตใหคุมคาและประหยัด เชน การถนอมอาหารแปรรูป งาน
หัตกรรมสิง่ ประดิษฐ การผลติ กลาไมดอกไมประดบั การเลีย้ งไกพืน้ เมอื ง การเพราะถว่ั งอก การเพาะเห็ด
การทําปุยชีวภาพ การเล้ยี งปลาดุกในบอ ซีเมนต การทําเฟอรนิเจอรจากไมไผ เปน ตน

3. การพัฒนาอาชีพเดิม เปนการพัฒนาอาชีพเดิมใหดีขึ้นโดยการหาความรูเพิ่มเติมจากการเขา
รวมเวทีประชาคมในชุมชน การศึกษาดูงาน การเขารับการอบรม เพื่อนําความรูมาพัฒนาอาชีพในการ
ขยายพนั ธมุ ะนาวขาย ก็อาจไปหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขยายพันธุมะนาวไมม เี มล็ด มะนาวน้าํ ดี ลูก

ห น า | 21

ดก ตนเลก็ แตใหผลผลติ สงู และศกึ ษาเรอื่ งการขายพันธมุ ะนาวทางเวบ็ ไซด เพ่ือขยายการตลาดให
สามารถขายผลผลติ ไดมากขนึ้ เปน ตน



กจิ กรรมท่ี 4

1. ผูเรยี นไดข อคดิ อะไรบางจากกรณีตวั อยาง “สรางชีวิตใหมอยางพอเพยี งดว ยบัญชคี รวั เรอื น
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

2. ผเู รยี นไดจัดทําบัญชีครวั เรอื นหรือไม อยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

3. ในชุมชนของผูเรียนมีใครจัดทําบัญชีครัวเรือน พรอมยกตัวอยา ง 1 ครอบครัววา เขาจัดทํา
อยางไรและไดผลอยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..

ห น า | 22

กจิ กรรมที่ 5 ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี

1. การบันทกึ บัญชีครวั เรอื น หมายถงึ ผูเรยี นและครอบครัวมีการวางแผนการใชจ า ยอยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

2. รายรบั หมายถงึ อะไร พรอมยกตัวอยา ง
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

3. รายจาย หมายถึงอะไร พรอมยกตัวอยาง
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

4. ผูเรยี นมีวธิ ีลดรายจายและเพิ่มรายไดอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

5. ผเู รยี นมีวิธกี ารออมเงนิ อยางไร
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………….

ห น า | 23

6. ใหผูเ รียนบันทึกบัญชีครัวเรือนตามรายการดังตอไปนี้ ลงในแบบบันทึกรายรับ-รายจายของ

ครอบครัวภายใน 1 เดอื น

1 มี.ค. 52 ขายผลไมไ ดเงนิ 1,900 บาท

3 มี.ค. 52 ขายผลไมไ ดเงนิ 1,500 บาท

5 ม.ี ค. 52 จายคา ของใชใ นบาน 500 บาท

7 มี.ค. 52 จา ยคานํา้ -คาไฟ 400 บาท

10 มี.ค. 52 จา ยคา ปุย 600 บาท

15 มี.ค. 52 จายคาอาหาร 500 บาท

20 มี.ค. 52 ขายผลไม 1,800 บาท

25 มี.ค. 52 จา ยคา ซอมรถ 300 บาท

27 มี.ค. 52 จา ยคาของใช 700 บาท

แบบบันทึกรายรบั -รายจา ย

วัน เดอื น ป รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลอื
(บาท) (บาท) (บาท)

ยอดรวมรายรบั
ยอดรวมรายจาย
คงเหลอื

ห น า | 24

สรปุ ผลการบันทกึ รายรบั -รายจา ยของครอบครวั

1. ครอบครัวของฉนั มรี ายรบั  มากกวา  นอยกวา รายจา ยอยู ..............บาท
2. ในระยะเวลา 1 เดอื น  ครอบครัวของฉนั มีเงนิ ออมจาํ นวน .................บาท

 ครอบครัวของฉนั ไมม เี งนิ ออม
3. รายจายท่คี วรปรบั ลด ได แก

1) ..................................จาํ นวนเงนิ .......................บาท เพราะ ..............................
2) ..................................จาํ นวนเงนิ .......................บาท เพราะ ..............................
3) ..................................จาํ นวนเงนิ .......................บาท เพราะ .............................
ฉันสามารถลดรายจายไดทั้งหมด ................................ บาท



ห น า | 25

บทที่ 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง

สาระสําคญั

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อตอ งการใหค นสามารถพ่ึงพาตนเองได
อยา งเปนข้ันตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ โดยอาศัยความพอประมาณ
ความมเี หตมุ ีผล การสรา งความรู ความขยนั หม่ันเพียร การอดออม สตปิ า การชว ยเหลอื ซ่ึงกันและกันและ
ความสามัคคี

เมื่อเราศึกษาเรียนรูป รัชาของเศรษฐกิจพอเพียงอยา งถอ งแทแ ละนําไปประยุกตใ ชในการ
ดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแลว ควรจะสง เสริมใหสมาชิกในครอบครัว
มองเหน็ คุณคาและนาํ แนวทางไปสกู ารปฏบิ ัตใิ นการดํารงชีวติ บนพน้ื ฐานปรชั าเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั

แนะนํา สง เสริมใหส มาชิกในครอบครัวเห็นคุณคา ปรัชาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําแนวทาง
ไปสกู ารปฏบิ ตั ิในการดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งยั่งยืน

ขอบขา ยเนื้อหา

เรอ่ื งที่ 1 ทฤษฎีใหม
เรอ่ื งที่ 2 แผนชวี ติ

ห น า | 26

เร่อื งท่ี 1 ทฤษฎใี หม

เศรษฐกิจพอเพยี งกับทฤษฎีใหมเ ปนแนวทางปฏิบัติเพ่ือตองการใหค นสามารถพึง่ พาตนเองได
ในระดับตางๆ อยางเปน ขั้นตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปล่ียน
แปลงของปจ จัยตางๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุมีผล การสรางความรู ความขยันหมั่น
เพยี ร และความอดทน สตปิ ญญา การชวยเหลอื ซง่ึ กันและกนั และความสามัคคี

1. ความเปนมาของทฤษฎีใหม
ตลอดระยะเวลาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวทรงครองราชยน ้ัน พระองคไ ดเ สด็จพระราช
ดําเนินแปรพระราชฐานไปประทับแรมยังภูมิภาคตา งๆ ทัว่ ประเทศ พระราชประสงคท ่ีแทจ ริงของพระ
องคคือ การเสดจ็ ฯ ออกเพอ่ื ซักถามและรบั ฟงความทกุ ขยากในการดาํ เนนิ ชวี ิตของพสกนิกรชาวไทย จึงมี
พระราชดําริแนวคิดใหมใ นการบริการจัดการที่ดินของเกษตรกรใหม ีสัดสว นในการใชพ ้ืนที่ดินใหเ กิด
ประโยชนส ูงสุด รปู แบบหนง่ึ คอื การเกษตรทฤษฎใี หม
2. หลักการและข้นั ตอนของเกษตรทฤษฎใี หม
แนวคดิ ใหมใ นการบริหารจัดการที่ดินของเกษตรกรใหม ีสัดสว นในการใชพ ้ืนที่ดินใหเกิดประ
โยชนส ูงสดุ ตามแนวทางทฤษฎีใหม มีหลักการและขัน้ ตอนดงั น้ี
1. ทฤษฎใี หมขน้ั ตน หลักการของทฤษฎีใหมข ั้นตน ประกอบดวย

1) มีที่ดิน สาํ หรบั การจดั แบง แปลงท่ีดนิ เพื่อใหเกดิ ประโยชนส ูงสุดน้ี พระบาทสมเด็จพระ
เจา อยหู วั ทรงคํานวณจากอัตราถือครองทีด่ ินถัวเฉลีย่ ครัวเรือนละ 15 ไร อยา งไรก็ตามหากเกษตรกรมีพ้ืน
ทถี่ อื ครองนอยกวาหรอื มากกวา น้ี กส็ ามารถใชอตั ราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ดงั น้ี

พื้นที่สว นท่ี 1 รอ ยละ 30 ใหขุดสระเก็บกักนํ้า เพื่อใชเ ก็บกักนํ้าในฤดูฝนและใชเสริมการ
ปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนการเล้ียงสตั วนํ้าและพืชนา้ํ ตา งๆ

พ้ืนท่ีสวนที่ 2 รอ ยละ 30 ใหป ลูกขาวในฤดูฝนเพ่ือใชเ ปนอาหารประจําวันสําหรับ
ครอบครัวใหเ พียงพอตลอดป เพ่ือตดั คา ใชจ ายและพง่ึ ตนเองได

พ้ืนท่ีสว นท่ี 3 รอ ยละ 30 ใหปลูกพืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ไมผ ล ไมยืนตน ฯลฯ
เพ่อื ใชเปน อาหารประจําวัน หากเหลอื บรโิ ภคกน็ าํ ไปจาํ หนา ย

พื้นทสี่ ว นที่ 4 รอ ยละ 10 เปน ที่อยอู าศัย เล้ียงสตั วและโรงเรอื นอน่ื ๆ
2) มคี วามสามัคคี เนอ่ื งจากการเกษตรทฤษฎีใหมข้ันตน เปน ระบบการผลิตแบบพอเพียงที่
เกษตรกรสามารถเลย้ี งตวั เองไดใ นระดับที่ประหยัดกอ น ทั้งน้ีชุมชนตองมีความสามัคคีรว มมือรว มใจใน
การชวยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ทํานองเดยี วกับการลงแขก แบบดง้ั เดมิ เพือ่ ลดคา ใชจา ย
3) ผลผลิต เนือ่ งจากขาวเปน ปจ จัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะตองบริโภค ดังน้ันจึงประมาณวา
ครอบครัวหนง่ึ ทํานา 5 ไร จะทําใหมขี าวพอกนิ ตลอดป โดยไมตอ งซื้อเพื่อยดึ หลกั พง่ึ ตนเองได

ห น า | 27

4) มีนํา้ เนอ่ื งจากการทําการเกษตรทฤษฎีใหมต องมีนํ้าเพ่ือการเพาะปลูกสํารองไวใชในฤดู
แลง ดงั นั้นจงึ จาํ เปน ตองกันที่ดินสวนหนง่ึ ไวข ดุ สระนาํ้ โดยมหี ลกั วา ตอ งมีนา้ํ เพยี งพอท่ีจะทาํ การเพาะปลกู
ไดตลอดป

2. ทฤษฎีใหมข ้ันทีส่ อง หรือเรียกวา ทฤษฎีใหมขั้นกาวหนาเปนข้ันท่ีเกษตรกรจะพัฒนาตน
เองไปสูข ้ันพออยูพอกิน เพื่อใหม ีผลสมบูรณย่ิงข้ึน โดยใหเ กษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือ
สหกรณรวมแรงรวมใจกันดาํ เนนิ การในดานตา งๆ ดงั น้ี

1) ดา นการผลิต เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิตโดยเรม่ิ ตงั้ แตข นั้ เตรยี มดิน การหาพันธุ
พชื ปุย การหานาํ้ และอนื่ ๆ เพอื่ การเพาะปลูก

2) ดา นการตลาด เมอื่ มีผลผลติ แลวจะตอ งเตรียมการตา งๆ เพอื่ การขายผลผลิตใหไดป ระโย
ชนสูงสุด เชน การเตรียมลานตากขาวรว มกัน การจัดหายุง รวบรวมขา ว เตรียมเครื่องสีขาว ตลอดจนการ
รวมกนั ขายผลผลิตใหไดร าคาดีและลดคา ใชจายลงดว ย

3) ดานความเปน อยู เกษตรกรตอ งมีความเปน อยูท่ีดีพอสมควร โดยมีปจ จัยพื้นฐานในการ
ดาํ รงชีวิต เชน อาหาร ทอ่ี ยูอาศัย เครอ่ื งนงุ หม เปนตน

4) ดา นสวสั ดกิ าร แตละชุมชนควรมสี วสั ดกิ ารและบริการทจ่ี าํ เปน เชน สถานีอนามัยเม่ือ
ยามเจบ็ ไขห รอื มกี องทุนไวก ูยมื เพือ่ ประโยชนใ นกจิ กรรมตางๆ ของชุมชน

5) ดา นการศึกษา ชุมชนควรมีบทบาทในการสง เสริมการศึกษา เชน มีกองทุนเพ่ือการ
ศึกษาใหแ ก เยาวชนในชุมชน

6) ดานสังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนที่รวมในการพัฒนาจิตใจและสังคม โดยมีศาสนา
เปน ทย่ี ดึ เหนย่ี ว

3. ทฤษฎใี หมข นั้ ท่สี าม เปนขน้ั พฒั นาเกษตรกรหรอื กลุม เกษตรกรใหกา วหนา ดว ยการติดตอ
ประสานงานเพ่ือจัดหาทุน หรือแหลงเงิน เชน ธนาคาร หรือเอกชนมาชวยในการลงทุนและพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ ซงึ่ ทัง้ สองฝา ยจะไดร บั ประโยชนร วมกัน ดังน้ี

1) เกษตรกรสามารถขายขาวไดใ นราคาสูง โดยไมถ ูกกดราคา
2) ธนาคารกับบริษัทสามารถซื้อขาวบริโภคในราคาต่าํ เพราะซ้ือขา วเปลือกโดยตรงจาก
เกษตรกรและนํามาสเี อง
3) เกษตรกรสามารถซ้ือเครือ่ งอุปโภคบริโภคไดใ นราคาต่าํ เพราะรวมกันซ้ือเปน จํานวน
มาก เนอ่ื งจากเปนกลุม สหกรณ สามารถซอื้ ไดใ นราคาขายสง
4) ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคคลเพื่อไปดําเนินการในกิจกรรมตา งๆ ให
เกดิ ผลดียงิ่ ขนึ้

ห น า | 28

3. ประโยชนของทฤษฎีใหม
1. การพง่ึ ตนเอง ทฤษฎีใหมยึดถือหลักการทว่ี า ตนเปน ที่พึ่งแหง ตน โดยมุง เนนการผลิตพืชผล
ใหเ พยี งพอกบั ความตอ งการบรโิ ภคในครวั เรอื นเปน อนั ดบั แรก เม่ือเหลือพอจากการบริโภคแลว จึงคํานึง
ถงึ การผลิตเพอื่ การคาเปน อนั ดบั รองลงมา ผลผลติ สว นเกนิ ท่ีออกสตู ลาดก็จะเปน กาํ ไรของเกษตรกร
2. ชุมชนเขมแขง็ ทฤษฎีใหมใหความสําคัญกบั การรวมกลุม ของชาวบาน ท้ังน้ีกลุม ชาวบา นจะ
ทําหนา ท่ีเปน ผูด ําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตา งๆ ใหห ลากหลาย ครอบคลุมท้ังการเกษตรแบบผสม
ผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจการคา ขาย การทองเท่ียวระดับชุมชน ฯลฯ เมื่อองคก ร
ชาวบานเหลา นไ้ี ดร บั การพฒั นาใหเ ขมแขง็ และมีเครอื ขายท่กี วางขวางมากขึ้นแลวเกษตรกรในชุมชนก็จะ
ไดร ับการดูแลใหมีรายไดเพิ่มขึ้น รวมท้ังการไดร ับการแกปญหาในทุกดาน เมื่อเปนเชน น้ีเศรษฐกิจโดย
รวมของประเทศก็สามารถเตบิ โตไปไดอ ยางมีเสถียรภาพ
3. ความสามัคคี ทฤษฎีใหมต้ังอยูบนพื้นฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทรและความ
สามัคคีของสมาชิกในชุมชน ในการรว มมือรว มใจเพ่ือประกอบอาชีพตา งๆ ใหบ รรลุผลสําเร็จประโยชน
ทีเ่ กดิ ขนึ้ จงึ มไิ ดห มายถงึ รายไดแ ตเพยี งดานเดยี ว หากแตรวมถงึ ประโยชนใ นดา นอ่ืนๆ ดวย ไดแก การสร
างความมั่นคงใหก ับสถาบันครอบครัว สังคม ชุมชน และความสามารถในการอนุรักษท รัพยากร
ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม
ตัวอยา งการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางปฏิบัติของเกษตรทฤษฎีใหม ซ่ึงเปน
แนวทางในการพฒั นาดา นการเกษตรอยา งเปน ขัน้ ตอนในพน้ื ท่ีที่เหมาะสม ซง่ึ แบงเปน 3 ข้ันดงั น้ี *
กรณีตวั อยาง ปลูกทกุ อยางทก่ี ิน กินทกุ อยางทีป่ ลูก ชวี ติ อยไู ดอยา งยง่ั ยืน *

ห น า | 29

กรณตี ัวอยาง ปลูกทกุ อยา งที่กิน กินทกุ อยา งที่ปลูก ชวี ิตเปน สุขไดอ ยา งยั่งยืน
นายบุญเปง จันตะภา เกษตรกรบานหวยถางปูตา น ตําบลไมย า อําเภอพญาเม็งราย จังหวัด

เชียงราย ดาํ เนนิ ชวี ิตโดยยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งจนเปนที่ยอมรับโดยท่วั ไป
เดิมนายบุญเปง จันตะ ภา มีฐานะยากจน เคยออกไปขอทานเพ่ือหาอาหารมาใสท อง หลังจากไป

เรียนในวัดไดน ําหลักคุณธรรมมาใชใ นชีวิตและการประกอบอาชีพโดยยึดหลักอิทธิบาท 4 และพรหม
วิหาร 4 ในป 2529 ไปทํางานประเทศบรูไน หวังใหฐานะครอบครัวดีขึ้น แตไมส ําเร็จ จึงเดินทางกลับมา
เกบ็ เงนิ ไดเ พยี งสองพนั กวาบาท ตอ มาไดปรบั ความคดิ วา ถา มีความขยนั เหมอื นทาํ งานท่ีประเทศบรูไน อยู
เมอื งไทยกม็ รี ายไดอ ยา งพอเพยี ง ป 2542 รัฐบาลใหมีการพกั ชาํ ระหน้ี แตบ ุญเปง พักไมได เนือ่ งจากมียอด
หน้เี ปน แสน ไดนาํ เอารปู ในหลวงมาตง้ั สจั จอธษิ ฐานวา ขาพเจา และครอบครัวจะขยันเพิ่มข้ึน ลด ละ เลิก
ในสงิ่ ที่ไมจาํ เปน กนิ ทกุ อยางท่ีปลกู ปลกู ทกุ อยางทกี่ ิน และจะขอปลดหนภ้ี ายใน 4 ป

นายบญุ เปง พึง่ พาตนเองดวยการทําเกษตรทฤษฎีใหม ลงแรงทุกอยางดวยตนเอง ใชภูมิปญญาท
องถิน่ ประยุกตกับความรูใ หม ๆ ที่ไดไ ปศึกษาดูงานอีก การใชทรัพยากรอยางรูคุณคาทําใหประหยัดเงิน
ลงทุน เกิดรายไดจากการขายผลผลิตการเกษตรตลอดทัง้ ป รูจักอดออม ไมเปนหน้ีทําใหดําเนินชีวิต ไม
เดือดรอน ไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน พัฒนา ปรับปรุงการประกอบอาชีพจนประสบความสําเร็จและ
ยังถา ยทอดความรู ชว ยเหลอื สังคม

บนพน้ื ท่ี 10 ไร 1 งาน 35 ตารางวา มีการแบงสดั สวนตามหลักทฤษฎีใหมไ ดอ ยา งลงตัว เปน นาข
าว 5 ไร ปลูกขา วเหนียวปล ะ 1 ครัง้ โดยปลูกสลับกับขา วโพด แตงโม แตงไทย อีก 5 ไร ปลูกผัก
สมุนไพร ไมผล เชน ลําไย มะมวง กลว ย และสว นสุดทายเปนเรือนพักอาศัยพอเหมาะกับครอบครัว มี
โรงเลยี้ งสตั ว กระบือ สกุ ร ไกพนื้ เมืองและจงิ้ หรดี

ความสําเร็จในชีวิตของนายบุญเปง นับเปนบทพิสูจนไดเปน อยา งดีวา “เศรษฐกิจพอเพียง”
สามารถนํามาปรับใช ใหเกิดประโยชนส ูงสุดตอครอบครัวชุมชน หากรูจักคิด ใช กิน อยูอยา งพอเพียง
ชีวติ ก็ดาํ รงไดอ ยา งยง่ิ ข้นึ ม่ันคง

* จากหนงั สอื พมิ พเดลินวิ ส หนา 10 ฉบับวนั พฤหสั บดที ี่ 12 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2552

การแนะนาํ สง เสรมิ ใหส มาชิกในครอบครัวเหน็ คณุ คาและนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ ช
เมื่อเราเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเกิดความเขาใจอยา งถองแทแ ละนําสูการปฏิบัติ

ในการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพแลว เราจะเห็นประโยชนแ ละคุณคา ของปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ซ่ึงสมควรอยางยิง่ ที่เราจะตองแนะนําสง เสริมใหส มาชิกในครอบครัวเห็นคุณคาและนําปรัชญา

ห น า | 30

ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชใ นการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพดว ยเชน กัน หลักในการ
แนะนําคือ การท่ีสมาชิกในครอบครัวใชชีวิตบนพื้นฐานของการรูจักตนเอง สามารถพึ่งตนเองไดและ
ดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งพอกนิ พอใชโดยไมเบยี ดเบยี นผูอ่นื ทาํ ใหเ กิดความสุขและความพอใจในการดําเนินชีวิต
อยางพอเพียง พยายามพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถอยูอยางพอเพียงไดในทุกสถานการณ
ทัง้ น้ีสมาชิกในครอบครัวอาจจะรว มกนั ทําแผนชวี ิต

เร่อื งท่ี 2 แผนชวี ติ

ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทุกคนตองการไปใหถึงเปา หมายดว ยกันทง้ั สิ้น แตการทีจ่ ะไปถึงเปาหมายได
จะตอ งมกี ารวางแผนชีวติ ทด่ี ี มีความมุง มน่ั ในการที่จะกา วไปใหถึง

การวางแผนอยางนอยก็ทําใหเรารูว าเราจะเดินไปทิศทางไหน ย้าํ เตือนวาตอ งทําอะไร ยังไมได
ทําอะไร แมแ ตแมบ านจะทําอาหารในแตละม้ือยังตอ งวางแผนและเห็นอาหารจานน้ันอยูในจิตนาการ
เหลอื แตออกไปหาวัตถดุ บิ และลงมือปรุงอาหารใหส ําเร็จ ซึ่งแมบ า นก็ตอ งเขียนรายการวัตถุดิบท่ีตอ งซื้อ
เปน การวางแผนกอนปรุงอาหารซึง่ จะไดไมม ปี ญหาวา กลบั บา นแลว ลืมซือ้ ซง่ึ เหตกุ ารณน้ีมักเกิดข้ึนบอย
ๆ ชีวิตคนเราก็เชน เดียวกัน ตอ งคิดกอนปรุงโดยตอ งรูวาจะปรุงใหเปนอะไร ซึ่งเรียกวา แผนชีวิต แต
สาํ หรบั คนทยี่ งั ไมร ูก ็ตอ งเขยี นวา ตวั เองชอบอะไร หรอื ตอ งการอะไรจะดกี วา ดาํ เนนิ ชวี ิตโดยไรจดุ หมาย

แผนชวี ิต คือ สง่ิ ทเ่ี ราฝนหรอื คาดหวงั อยากจะใหเกดิ ขึ้นจรงิ ในอนาคตโดยเรา
จะตอ งวางแผน กาํ หนดทิศทางหรอื แนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ิต
เพอ่ื ใหเ ราไปถึงเปา หมาย ทําใหเราเกดิ ความพึงพอใจและสขุ

แผนชวี ติ มีหลายดาน เชน แผนชวี ติ ดานอาชีพ แผนชีวิตดานครอบครัว เปนตน แผนชีวิตแตล ะ
คนแตล ะครอบครัวจะแตกตางกันขึ้นอยกู ับวา ใครจะใหความสําคัญกบั แผนชวี ติ ดานใดมากกวากนั

แผนดา นการพัฒนาอาชีพ ใหม องถึงศักยภาพท่ีมีการพัฒนาได ความถนัด ความสามารถของ
ตนเอง มองถึงทุนที่มีในชุมชน เชน ทรัพยากร องคค วามรู ภูมิปญญา แหลงเงินทุน การตลาด ความตอ ง
การของคนในชุมชน โดยมกี ารจดั การความรูข องตนเองเพื่อใหเกดิ ความรูใหม

แผนชีวิตดา นครัวเรือน ใหม องถึงหลักธรรมในการดํารงชีวิต การสรางภูมิคุมกันใหกับคนใน
ครอบครัวที่มีการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อนําองคค วามรูม าสรา งภูมิคุมกันที่ดี นอกจากนี้การนําบัญชี
ครัวเรือนมาวิเคราะหร ายจายที่ไมจ ําเปน มาจัดทําแผนการลดรายจาย เพิ่มรายไดแ ละตองมีการประเมิน
แผนทท่ี ําดว ยวา สาํ เร็จมากนอ ยเพยี งใด แผนชีวติ ดา นครวั เรอื น เชน

ห น า | 31

(1)การจัดทําบัญชีรายรับ - รายจา ยในครัวเรือน มีการวางแผนการใชจาย เชน จา ย 3 สว น อ
อม 1 สวน เพ่ือใหเ กิดการมีระเบียบวินัยในการใชจ าย การลด ละ เลิกอบายมุข การศึกษาใหร ูเ ทา ทันกระ
แสบรโิ ภคนยิ ม การวางแผนควบคุมรายจา ยในครวั เรอื น

(2)การลดรายจายในครวั เรอื น เชน การปลกู ผักสวนครวั การผลิตปุยชีวภาพไวใ ชทดแทนปุย เค
มี การผลติ ผลิตภณั ฑเ ครอ่ื งใชภายในครวั เรอื น

(3)การเพิม่ รายไดใ นครวั เรอื น แปรรปู ผลผลติ การทําเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพืชสมุนไพร
ฯลฯ หรอื อาจจะเรม่ิ จาก การจัดทําแผนชีวิตครวั เรอื น อาจจะดาํ เนนิ การ ดงั น้ี

1. จัดทาํ ขอมลู ของครวั เรอื น
2. คนหาศักยภาพของตนเอง ทักษะในการประกอบอาชีพ ทุน สถานการณในการ

ประกอบอาชีพ
3. คน หาปญหาของครวั เรอื น
4. กาํ หนดเปา หมายของครวั เรอื นเพอ่ื ใหหลดุ พนจากความยากจน
5. วางแผนการแกป ญหาของครวั เรอื น
6. บนั ทกึ การปฏิบตั ติ ามแผน
7. บันทึกการประเมนิ ผล



ห น า | 32

กรณีตวั อยาง สรุ ชัย มรกตวิจิตรการ เกษตรพอเพยี ง แหงบานปาไผ *

บา นเกษตรกรพอเพยี งตามแนวพระราชดาํ ริของ สุรชัย มรกตวิจิตรการ ต้ังอยูท่ีบา นปา ไผ ต.แม
โปง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม สุรชัย ไดเลาชีวิตของตนเองวา “ชีวิตคงไมมาถึงวันน้ีหากไมมีศรัทธา
แรงกลาตอ องคพ ระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว ผมเร่ิมตนจากศูนย เดิมผมคา ขายเส้ือผาสําเร็จรูป ป 2540 เจอ
วกิ ฤตเศรษฐกิจ มีหนี้สนิ แปดแสนบาท คิดจะฆาตวั ตาย แมใ หสติวาทําไมไมส ู ทําใหผมคิดใหม ต้ังสติแล
วมุงหนา ไปท่ีศูนยการศึกษาการพัฒนาหว ยฮอ งไคร อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ดวยใจที่มุงมัน่ วามีกิน
แนหากเดนิ ตามแนวทางของในหลวง ท่ีนเ่ี องไดเรยี นรูและทําความเขา ใจคําวา “เศรษฐกิจพอเพียง” อยา ง
ถองแท”

เราเร่ิมตนจากการเลี้ยงสัตวตามความถนัดท้ัง ปลา ไก วัว กบ ตอ มาปลูกพืชผักสวนครัว โรง
เพาะเหด็ กลายเปน ไรนาสวนผสมทท่ี ําทกุ อยา งเชอ่ื มโยงกนั อยางเปน ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ

เวลาผานไปไมกี่ป สรุ ชัยกลายเปน ผูเชี่ยวชาญ มีความรูในส่ิงที่ตนเองลงมือทํา ไมว าจะเปนการ
ทําปุยหมัก ปุย อินทรีย การเลี้ยงหมูหลุม การเล้ียงไก วัว ปลา กบ การทํากาซชีวภาพจากมูลสัตว การนํา
ของเหลวจากสตั วไปเล้ยี งพชื การนาํ ของเหลวจากพืชไปใชก ับสตั ว

“ในหลวงสอนคนไทยมากวา 20 ป วา ใหเ ชอ่ื มธรรมชาติเขา ดว ยกัน คนไทยไมช อบคิด ไมชอบ
วิเคราะห ไมลงมือทํา แตใชเ งินนําหนา ตองแกด วย 5 ร คือ รวมพลัง รวมคิด รวมกันทํา รวมกันสรุป
บทเรียน และรวมกันรับผล และยึดคําสอนที่วา ตอ งระเบิดจากขางใน คือเขาใจตัวเองกอน สิ่งแรกคือต
นทุนตํ่า ทําบัญชีครัวเรือน ตัดส่ิงฟุมเฟอยออกจากชีวิต คิดอยา งรอบคอบ ไมขีเ้ กียจ สรางภูมิคุมกัน ไม
หลงกระแส ไมห ลงวตั ถุนยิ ม ที่สําคัญไมแขง กับคนรวย แตท ุกคนตองคิดตองฝนเองวา อะไรเหมาะทีส่ ุด
จะสาํ เร็จหรอื ลม เหลวอยทู ่คี ุณภาพคน

ปจ จุบัน สุรชัย ยังเดินหนาตามแผนชีวิตของตนเอง เพ่ือหวังปลดหนี้ภายในไมเ กิน 5 ป ดวย
การกูเงนิ 2 ลานบาท ซือ้ ทด่ี นิ หลงั บา นเพือ่ สรางฐานการผลติ

ผมตองการพิสูจนวา คนจนหากมุง ม่ันท่ีจะสูแบบเขาใจศักยภาพตนเองรับรองอยูไดอ ยา งมี
ศกั ดิ์ศรี และเปนชีวิตท่ียง่ั ยืนปลอดภยั ”

------------------------------------
* จนิ ตนา กิจมี หนงั สอื พิมพม ติชน หนา 10 วนั เสารท ี่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2552

ห น า | 33

กจิ กรรมท่ี 7
ใหผูเรียนวางแผนชีวิตของตนเองดา นอาชีพและดานชีวิตครอบครัว โดยคํานึงถึงหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนชวี ิต รายละเอยี ดแผนชีวิต

1. ดานอาชีพ 1. ตองการประกอบอาชีพ……………………………………………………………..
ดานครอบครัว
2. ปจ จยั ที่พิจารณาประกอบอาชีพน้ี ..............................................................................
- เงินลงทุน....................บาท
- มีความรูวิชาชีพนี้……………………………….…….…………………………….
- ประสบการณที่เก่ยี วของกับวิชาชีพ............................................................................
- ลูกคากลุมเปาหมายไดแก………………………………….………………………..
- สถานที่ประกอบอาชีพ………………………………………………………………
- ความรูค วามสามารถ....................................................................................................
- เคร่ืองมือและอปุ กรณ...................................................................................................
- การประชาสัมพันธ /โฆษณา.......................................................................................
- แรงงาน...................คน
- วนั เวลา เปด บรกิ าร..............................................................................................
- สภาพ / สถานการณอาชีพนใี้ นพนื้ ท่ปี ระกอบอาชพี ...................................................
- คูแขงทางการคา……………………………………………………………………..
- กลยุทธการขาย……………………………………………………..………………

บาน / ท่อี ยู อาศัย
- ปรบั ปรงุ …………………….…………………………………..………………
- พฒั นา………………………………………………………..…………………

สขุ ภาพ
- ของตนเอง……………………………………………………..…….…………
- สมาชิกในครอบครัว……………………………………………….……..……

การปฎิบัติธรรม
- ยึดหลกั ธรรม...............................ในการดาํ เนนิ ชวี ิต

- การรวมกิจกรรมที่วัด……………………………………….……….……..……
- ปฏิบัติธรรมในครอบครัวโดย……………………………………………….……

ห น า | 34

แผนชีวิต รายละเอยี ดแผนชวี ิต
แผนชวี ติ
เศรษฐกิจ
- ลดรายจา ยโดย...............................................................................................
- เพม่ิ รายไดโดย................................................................................................
(รายละเอียด/แนวทางปฏิบัติ)
- ออม / ฝากเงินกับ.....................................................................
- ลงทนุ โดย

ห น า | 35

บทท่ี 5 การประกอบอาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งเพ่ือการสรา งรายได อยางมน่ั คง ม่ังค่ัง
และยง่ั ยืน

สาระสําคญั

การประกอบตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การสรางรายได อยางมัน่ คง มัง่ คัง่ และ
ย่งั ยนื มุงเนนใหผูเรียนมกี ารพิจารณาอยา งรอบดา น มีความรอบคอบ และระมัดระวังในการวางแผนและ
การดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อมิใหเกิดความเสียหายตอการพัฒนา เปนการประกอบอาชีพที่คํานึงถึง
การมีรากฐานที่มั่นคงแข็งแรง ใหเจริญเติบโตอยา งมีลําดับขัน้ สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตทั้งทาง
กายภาพและทางจติ ใจควบคูกนั การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมิไดข ัดกับ
กระแสโลกาภิวัฒน ตรงกันขามกลับสง เสริมใหก ระแสโลกาภิวัฒนไ ดร ับการยอมรับมากขึน้ ดว ยการ
เลอื กรบั การเปลีย่ นแปลงทส่ี งผลกระทบในแงด ตี อประเทศ ในขณะเดยี วกนั เปน การสรางภูมิคุม กันในตัว
ที่ดีตอ การเปล่ียนแปลงในแงที่ไมด ีและไมอาจหลีกเลี่ยงได เพื่อจํากัดผลกระทบใหอยูใ นระดับไมกอ
ความเสยี หายหรอื ไมเ ปนอนั ตรายรา ยแรงตอประเทศ

ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั

ตระหนักในความสําคัญของการการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
การสรางรายได อยา งม่ันคง มัง่ คงั่ และย่งั ยืน พฒั นาประเทศภายใตก ระแสโลกาภิวัฒนแ ละเลือกแนวทาง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชใ นการดําเนินชีวิตอยา งสมดุลและพรอมรับตอ ความ
เปล่ียนแปลงของประเทศภายใตกระแสโลกาภิวัฒน

ขอบขา ยเน้อื หา

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตัดสินใจเขาสูอาชีพ
1.1 ความหมายความ ความสําคัญ
1.2 ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ
1.3 การตดั สนิ ใจเขาสอู าชีพ

ห น า | 36

เรอ่ื งท่ี 2 การสรางงานอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 กลุมอาชีพใหมที่เนนความ
เปน ไทย

2.1 เกษตรกรรม
2.2 อตุ สาหกรรม
2.3 พานชิ ยกรรม
2.4 ความคิดสรางสรรค
2.5 การอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง
เรือ่ งที่ 3 คุณธรรมที่สงผลใหประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ
3.1 มคี วามรู คอื ตอ งรอบรู รอบคอบ และระมดั ระวัง
3.2 คุณธรรมที่สงเสริมการประกอบอาชีพประสบความสําเร็จคือ ความสําเร็จ สุจริต

ขยัน อดทน แบงปน
3.3 ขอดีของการประกอบอาชีพอิสระ
3.4 กรอบแนวคดิ ในการประกอบอาชีพเพ่อื สรา งรายไดอ ยางมัน่ คง มัง่ คง่ั และย่งั ยนื

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ห น า | 37

เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตัดสินใจประกอบอาชีพ

1.1 ความหมาย ความสําคัญ

1.2 ประเภทของงานอาชีพ

1.3 กลุม งานอาชีพตาง ๆ

1.4 การตัดสินใจประกอบอาชีพ

1.1 ความหมาย ความสําคัญ

อาชีพ หมายถึงชนิดของงานหรือกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู เปนงานที่ทําแลวไดรับผล
ตอบเปน เงนิ หรอื ผลผลติ

อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คืองานทีบ่ ุคคลทําแลวไดรับผลตอบแทนเปนเงิน
ผลผลิต โดยหยดึ หลักสาํ คญั 5 ประกาศในการดาํ เนนิ การ ไดแ ก

1. ยึดหลักทางสายกลายในการดําเนินชีวิต
2. มีความสมดุลระหวางคน ชุมชนและสิ่งแวดลอม
3. มีความพอประมาณ พอเพียงในการผลิต การบริโภคและการบริการ
4. มภี ูมคิ มุ กันในการดําเนนิ ชวี ิตและการประกอบอาชีพ
5. มคี วามเทาทันสถานการณชุมชน สังคม
อาชีพมีความสําคัญตอชีวิตคนเราอยางมาก เพราะเปนความมัน่ คงของตนเองและครอบครัว คน
ทีม่ ีอาชีพจะเปนคนทีไ่ ดรับการยกยอง ไดรับการยอมรับนับถือ เราตองทํางานหาเงิน มีเงินรายได หรือ
สรางผลผลติ เนื่องจากตองตอ งดาํ รงชีวิตดวยปจจัย 4 คือ อาหาร เครือ่ งนุง หม ยารักษาโรคและทีอ่ ยูอ าศัย
การประกอบอาชีพจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งตอมนุษยทุกคน
1.2 ประเภทของงานอาชพี

อาชีพสามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภทคือ
1. อาชีพอิสระคืออาชีพทีต่ นเองเปนเองเปนเจาของกิจการ โดยลงทุนเอง วางแผนเอง

ตดั สินใจเอง จัดบริการและขายเอง
2. อาชีพรับจาง คืออาชีพที่อยูในกิจการของนายจาง มีรายไดจากคาจางและสวัสดิการ

ตาง ๆ
1.3 กลมุ งานอาชพี ตาง ๆ การสรางงานอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในที่นี้

ขอแบง กลมุ อาชีพเปน 5 กลมุ อาชีพใหม คอื 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครวั )

3. พาณิชยกรรม 4. ดานความคิดสรางสรรค 5 อํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง

ห น า | 38

1.4 การตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ
การตัดสินใจทีจ่ ะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตองมีสิ่งทีจ่ ะตองคิดหลายดานทัง้ ตองดู

ขอมูล มีความรู มีทุน แรงงาน สถานที่ มีกลวิธีการขายและคุณธรรมในการประกอบอาชีพดวย ขอควร
คาํ นึงในการตัดสนิ ใจประกอบอาชีพมี ดังนี้

1. การตัดสินใจประกอบอาชีพโดยใชขอมูลอยางเหมาะสม
ในการประกอบอาชีพ ผูเ รียนตองใชขอมูลหลายๆดานเพื่อการตัดสินใจ ขอมูลทีส่ ําคัญ

คือ ตองรูจ ักตนเองวามีความชอบหรือไม มีสภาพแวดลอมในครอบครัว ชุมชน ที่เหมาะสมกับการ
ประกอบอาชีพนั้น ๆ หรือไมและขอมูลที่สําคัญคือความรูทางวิชาการ

2. มคี วามรวู ชิ าชีพนนั้ ๆ
การประกอบอาชีพอะไรก็ตองมีความรูใ นวิชาชีพนั้นๆอยางดี เพราะการมีความรูใ นวิชา

นั้นๆ อยา งดีจะทาํ ใหสามารถปรับปรงุ พัฒนาอาชีพนัน้ ๆ ไดด ยี ง่ิ ขน้ึ
3. มีทุน แรงงาน และสถานที่
ทุน แรงงาน สถานที่ เปนองคประกอบสําคัญในการประกอบอาชีพทําใหเกิดความมั่นใจ

ในการประกอบอาชีพเปนไปอยางราบรื่น
4. มีวิธีการปฏิบัติงานและจัดการอาชีพ
มีขัน้ ตอน กระบวนการ การจัดการทีเ่ หมาะสม มีประสิทธิภาพ ทําใหงานประสบ

ความสาํ เรจ็ ลดตน ทนุ การผลิต มีผลผลติ ไดมาตรฐานตามทต่ี ง้ั เปา หมายไว
5. มีกลวิธีการขาย การตลาด
กลวิธีการขาย การตลาดที่สามารถตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจของลูกคา

ยอมทําใหยอดขายเปนไปตามเปาหมาย
6. มีการจัดการการเงินใหมีเงินสดหมุนเวียนสามารถประกอบอาชีพไปไดอยางตอเนือ่ งไม

ขดั ของ
7. การจัดทําบัญชีรายรับ – รายจายเพื่อใหทราบผลการประกอบการ
8. มีมนุษยสัมพันธและมีจิตบริการ การมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับลูกคา มีความเปนกันเอง

โดยเฉพาะการใชคําพูดที่เหมาะสมเพื่อสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ไปพรอมกับการมีจิตบริการให
ลูกคาดวยความจริงใจตองการเห็นลูกคามีความสุขในการบริโภคสินคา

ห น า | 39

9. มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ผูผ ลิตและผูขายมีความซือ่ สัตยตอลูกคาใชวัตถุดิบที่มี
คณุ ภาพ ไมใ ชสารเคมีที่มีพษิ ในผลติ ภณั ฑ ซ่ึงสง ผลตอสขุ ภาพ ส่งิ แวดลอม และการดําเนนิ ชีวติ ของลกู คา

เรื่องที่ 2. การสรางงานอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ในที่นี้ไดแบงกลุม อาชีพ 5 กลุมอาชีพใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ใน

ครอบครัว) 3. พาณิชยกรรม. 4. ดานความคิดสรางสรรค 5. อํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง โดย

วเิ คราะห แบงกลมุ 5 กลุมอาชีพใหม ดานการผลติ กับดานการบริการ

กลมุ อาชีพ ดานการผลติ ดานการบรกิ าร
1. เกษตรกรรม
1. แปรรูปผลผลิต * พืช ตนไม ตัวอยางการตบ
2. อุตสาหกรรม (ใน
ครอบครวั ) - อาหารหลกั แตง ตนไม การจดั ดอกไม

3. พาณชิ ยกรรม - อาหารวาง - ขนม ประดับในงานมงคล งานศพ
4. ดานความคิดสรางสรรค
- เคร่ืองด่ืม (นํ้าตะไคร กระเจี๊ยบ การดูแลตนไม การจดั สวน
* สตั ว เชน เลยี้ งสนุ ัข การดูแล
ใบเตย ขงิ สัปปะรด เสาวรส ฯลฯ)
ตดั ขน
2. เพาะเหด็ (แปรรปู )

3. เพาะพนั ธุไม

4.การเล้ียงไกไ ข

5. ขยายพันธพุ ืช

6. ปลูกสมุนไพร

1. ไมน วดเทา ไมก ดเทา * บรรจสุ ินคา

2. ผลติ ภณั ฑจ ากกะลามะพราว * สง สินคาตามบา น ราน โดย

3. ผลติ เครื่องประดับทํามือ ใชม อเตอรไ ซต

4. ผลติ สนิ คาจากวัสดเุ หลือใช * ประกอบสินคา/ผลติ ภณั ฑ

5. รองเทาแตะ เคร่ืองใช ประดับตบแตง เชน ประกอบชอดอกไม

6. ตะกราจะกาบหมาก

7. เกาอี้ทางมะพราว

1. นํา้ เตา หกู ับ ปาทองโก * การขายตรง

2. เครื่องดื่ม น้ําเตาหู กาแฟ * การขายปลีก

3. ผลิตปยุ ชวี ภาพ นํา้ หมกั * การขายสง

1. ออกแบบบรรจุภัณฑ (ผา กระดาษ * บริการผกู ผาตบแตง งานพิธี

ห น า | 40

กลมุ อาชพี ดานการผลิต ดา นการบรกิ าร
ตางๆ
5. การอํานวยการและอาชีพ พลาสติค ฯลฯ) * ลาํ ตัด หมอราํ
เฉพาะทาง 2. ออกแบบเครื่องใชตางๆ (ดวยวสั ดุ * รองเพลงพ้นื บาน
เหลอื ใชตา งๆ) * เปาขุย
3. ออกแบบเฟอรน เิ จอร
4. ดนตรพี น้ื บา น (โปงลาง อังกระลุง) * หวั หนา งาน
5. การออกแบบเครอ่ื งประดับ * Organizer รบั จดั งานวนั เกิด
ฉลองงานแตง
การแพทยทางเลือก (การนวดแผนไทย * รับตบแตงสถานที่
ผอนคลาย บําบัด รกั ษา)

เรื่องท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ท่สี งผลตอความสาํ เรจ็

แนวทางการประกอบอาชีพใหประสบผลสําเร็จ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมี
เง่อื นไขความรูและคุณธรรมดงั น้ี

3.1 มีความรูคือ ตองรอบรู รอบคอบและระมัดระวงั
ความรอบรู มีความหมายมากกวาคําวา ความรูคือนอกจากจะอาศัยความรูในเชิงลึกเกี่ยวกับงาน
ท่จี ะทาํ แลว ยงั จาํ เปนตองมีความรใู นเชงิ กวา ง ไดแกความรู ความเขา ใจในขอเท็จจริงเกี่ยวกบั สภาว
แวดลอ มและสถานการณท ี่เกี่ยวพันธกับงานที่จะทาํ ท้ังหมด
ความรอบคอบ คือการทํางานอยางมีสติ ใชเ วลาคิดวิเคราะห ขอมลู รอบดา น กอ นลงมอื ทาํ ซง่ื
จะลดความผิดพลาด ขอบกพรอ งตา ง ๆ ทาํ ใหง านสาํ เร็จไดอยางมีประสทิ ธิภาพ ใชต นทุนต่ํา
ระมดั ระวงั คือความไมประมาท ใหความเอาใจใสในการทํางานอยางตอเนื่องจนงานสําเร็จ ไม
เกิดความเสยี หายตอชวี ิตและทรพั ยส ิน หรืออบุ ัติเหตอุ ันไมค วรเกิดขึ้น
3.2 คุณธรรมทส่ี ง เสรมิ การประกอบอาชพี ใหประสบความสําเร็จคอื ความซอื่ สัตย สจุ ริต ขยนั
อดทน แบงปน การประกอบอาชีพตองสัมพันธเกี่ยวของกับบุคคล สังคมและสิ่งแวดลอมอยางหลีกเลี่ยง
ไมไ ด เพอ่ื ใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ไดร บั การสนบั สนุนจากผูเกย่ี วขอ ง
ผรู ว มงาน และลกู คา ผูป ระกอบอาชีพตองมคี ณุ ธรรม ซอื่ สัตย สจุ ริต ขยนั อดทน แบงปน

ห น า | 41

ความขยัน อดทน คือความตั้งใจเพียรพยายามทําหนาที่การงาน การประกอบอาชีพอยางตอเนื่อง
สม่ําเสมอ ความขยันตองปฏิบัติควยคูกับการใชสติปญญา แกป ญหาจนงานเกดิ ผลสําเร็จ
ผทู มี่ คี วามขยัน คือผูท่ีต้งั ใจประกอบอาชีพอยา งจริงจงั ตอเนื่อง ในเร่อื งทถ่ี ูกทีค่ วร มีความพยายามเปน
คนสงู าน ไมท อถอย กลา เผชิญอปุ สรรค รักงานท่ีทํา ตัง้ ใจทาํ หนา ท่ีอยางจริงจงั

ซือ่ สตั ย คอื การประพฤติตรง ไมเ อนเอยี ง จรงิ ใจไมมเี ลหเ หล่ยี มผูท่ีมคี วามซื่อสตั ย คือผทู ี่
ประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคตโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปนอันตราย และคํานึงถึง
ผลกระทบกับสภาพแวดลอม

ความอดทน คอื การรักษาสภาวะปกติของตนไวไมวาไมวาจะกระทบกระทั่งปญหาอุปสรรคใด
ผมู ีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญญาแลว ลวนตองอาศัย ขันติ หรือความอดทน
ในการตอสูแกไ ขปญหาตา งใหงานอาชพี บรรลคุ วามสาํ เรจ็ ดว ยกันทง้ั สิน้

การแบง ปน / การให คือการแบง ปนสิง่ ทเ่ี รามี หรือสิง่ ทีเ่ สามารถใหแกผ ูอน่ื ไดแ ละเปน
ประโยชนแกผ ทู ี่รับ การใหผ ูอ่นื ท่บี ริสทุ ธใิ จไมห วังสง่ิ ตอบแทนจะทําใหผใู หไ ดรับความสขุ ทเี่ ปนความ
ทรงจําที่ยาวนาน

การประกอบอาชีพโดยรูจักการแบงปนหรือใหสิ่งตาง ๆ ที่สามารถใหไดแกลูกคาและชมุ ชนของ
เรายอมไดรับการตอบสนองจากลูกคาในดานความเชื่อถือ

ห น า | 42

กิจกรรมที่ 9

1. การประกอบอาชีพมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของผูเรียนอยางไร?
1……………………………………………………………………………………………
2……………………………………………………………………………………………
3…………………………………………………………………………………………..
4……………………………………………………………………………………………
5……………………………………………………………………………………………

2. จงยกตัวอยางอาชีพ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
อาชีพกลุมเกษตรกรรม เชน................................................................................................
............................................................................................................................................
อาชีพกลุมอุตสาหกรรม เชน................................................................................................
............................................................................................................................................
อาชีพกลมุ พาณิชยกรรม เชน................................................................................................
.............................................................................................................................................
อาชีพดานความคิดสรางสรรค เชน........................................................................................
..............................................................................................................................................
อาชีพดานการอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง เชน ..................................................................
....................................................................................................................................................

3. เมือ่ ผูเรียนประกอบอาชีพแลว จะนาํ คุณธรรม.........................มาใชในการประกอบอาชีพ และจะมี
แนวทางปฏิบัติตามคุณธรรมนี้อยางไร.............................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

ห น า | 43

กิจกรรมที่ 10
ใหผูเรียนวางแผนแนวทางการประกอบอาชีพของตนเองทั้งที่เขาสูอาชีพใหมและพัฒนาอาชีพ

โดยมขี ้นั ตอนดงั นี้
ขนั้ ตอนที่ 1. ใหผ เู รยี นแบงกลมุ ผูเรยี นออกเปน กลมุ ละ 5 – 7 คน แตก ลุมใหเลือก หัวหนากลมุ 1 คน

และเลขากลุม 1 คน รวมระดมพลังสมองแลกเปลึ่ยนเรียนรูตามหัวขอดังตอไปนี้
1. การประกอบอาชีพตามแนวของหลักปรัชญางของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. อาชีพที่เชื่อมั่นวาสามารถทําไดในครอบครัว ชุมชนของเรา
3. รวมกันรางรายละเอียด สิ่งที่ตองใช สิ่งที่ตองทําในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ (ทํา 1- 2

อาชีพ) ท้งั น้ใี หประธานเปนผูดาํ เนนิ การ เลขากลุมจดบันทกึ สรุปสาระสําคญั เพ่ือนาํ เสนอ
ขน้ั ตอนท่ี 2 ใหท กุ กลุมรว มกนั คัดเลือกอาชีพจากกจิ กรรมท่ี 1 ตามที่กลุมตกลงรวมทั้งอาชีพที่สามารถ
ทําเปนรายบุคคล และปนกลุม นํามาเขียนเปนโครงการประกอบอาชีพที่สามารถนําไปปฏิบัติไดจริง
ขน้ั ตอนที่ 3 ใหผเู รียนแตล ะคน แตละกลมุ นาํ โครงการประกอบอาชีพทนี่ ําเสนอ ( ตรวจสอบความ
สมบูรณ ) ไปประกอบอาชีพ โดยมีการรวมระดมทุน จัดหาทุน การแบงงานกันทํา การลงมติรวมกัน
ตดั สนิ ใจ ระยะเวลาดาํ เนนิ การตามความเหมาะสม แลว สรุปผลการประกอบอาชีพเสนอครู กศน.

ห น า | 44

แบบทดสอบหลังเรยี น

คําชแ้ี จง เลอื กคาํ ถามทถี่ ูกทีส่ ดุ เพยี งคําตอบเดยี ว
1. เศรษฐกิจพอเพยี งเปนเรอ่ื งเกยี่ วกับอะไร
ก. การเกษตร
ข. การคา ขาย
ค. การดาํ เนนิ ชีวติ
ง. การอตุ สาหกรรม

2. หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปนแนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนกลุม ใด
ก. พอคา นกั ธรุ กจิ
ข. นกั เรยี น นักศึกษา
ค. ขา ราชการ นกั การเมอื ง
ง. ประชาชนทุกคน

3. เปาหมายหลกั แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งคือขอ ใด
ก. พงึ่ พาตนเองเปน หลกั
ข. ชวยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั
ค. มอี าชีพเกษตรกรรมทุกครอบครัว

ง. ใชจ ายแตส่งิ จาํ เปน ตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ
4. คําวา “เดินทางสายกลาง” ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงการดําเนินชีวิต

แบบใด

ก. รจู กั คาํ วา พอดี พอประมาณ
ข. ลดรายจาย และเพิ่มรายไดใหสมดลุ
ค. ประหยัดรายจา ยใหมากทสี่ ุดเทาทจี่ ะทําได
ง. ดาํ เนนิ ชวี ติ แบบใดก็ไดข อเพยี งแตใหมคี วามสขุ
5. การเตรยี มตวั ใหพรอมทจ่ี ะเผชิญผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา นตา งๆ
หมายถึงขอ ใด

ก. การมีประสบการณ
ข. การมีความรู ความสามารถ
ค. มีภูมคิ ุม กนั ท่ีดีในตวั
ง. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม


Click to View FlipBook Version