ใบความรูท้ ี่ 1 ความหมาย ความสาคญั ประเภทของแหล่งเรยี นรู้
******************************************************************************************
ความรหู้ รือข้อมลู สารสนเทศเกิดขึน้ และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลา และมกี ารเผยแพร่ ถงึ กันโดย
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศภายในไม่กวี่ นิ าที ทาให้มนุษย์ตอ้ งเรยี นรูก้ ับสิ่งที่เปล่ียนแปลงใหม่ๆ เพือ่ ให้สามารถ
รู้เท่าทันเหตกุ ารณ์ และนามาใช้ให้เกิดประโยชนต์ ่อการดารงชวี ติ ไดอ้ ย่างมีความสุข ความรูห้ รือข้อมูล
สารสนเทศตา่ ง ๆ ดังกลา่ วมอี ยูใ่ นแหล่งเรียนรลู้ อ้ มรอบตวั เรา ดงั นน้ั การเรยี นรู้ท่ี เกดิ ขึ้นภายในหอ้ งเรียนย่อม
เป็นการไมเ่ พียงพอในความรทู้ ีไ่ ดร้ บั
ความหมายของแหล่งเรยี นรู้
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง บรเิ วณ ศนู ยร์ วม บอ่ เกิด แหง่ หรอื ทม่ี สี าระเน้ือหาเป็นขอ้ มลู ความรู้
ความสาคัญของแหลง่ เรียนรู้
แหล่งเรยี นรมู้ บี ทบาทสาคญั ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ดงั น้ี
1. เป็นแหล่งที่มีข้อมูล/ ความรู้ ตามวัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้น้ัน เช่น สวนสัตว์ ให้ความรู้เรื่อง
สตั ว์ พิพิธภัณฑ์ใหค้ วามรเู้ รือ่ งโบราณวตั ถสุ มยั ตา่ ง ๆ
2. เป็นสื่อการเรียนรู้สมัยใหม่ที่ความรู้ก่อให้เกิดทักษะ และช่วยการเรียนรู้สะดวกรวดเร็ว เช่น
อินเทอร์เนต็
3. เป็นแหล่งช่วยเสริมการเรียนรู้ของการศึกษาประเภทต่าง ๆ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4. เป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีมนุษย์เข้าไปหาความรู้ได้ด้วยตนเองตามความสนใจ และ
ความสามารถ
5. เป็นแหล่งท่ีมนุษย์สามารถเข้าไปปฏิบัติได้จริง เช่น การประดิษฐ์เครื่องใช้ต่าง ๆ การ ซ่อม
เคร่อื งยนต์ เปน็ ตน้ ช่วยกระตุ้นใหเ้ กดิ ความสนใจ ความใฝ่รู้
6. เป็นแหล่งท่ีมนุษย์สามารถเข้าไปเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาการใหม่ ๆ ยังไม่มีของจริงให้เห็น หรือไม่
สามารถเข้าไปดจู ากของจริงไดโ้ ดยเรียนรู้ การดภู าพยนตร์ วีดทิ ัศน์ หรอื สื่ออ่ืน ๆ
7. เป็นแหลง่ ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในท้องถ่ินให้เกิดความตระหนกั และ เห็นคณุ คา่ ของ
แหล่งเรียนรู้
8. เป็นส่ิงท่ีช่วยเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ค่านิยมให้เกิดการยอมรับส่ิงใหม่ แนวคิดใหม่ เกิดจินตนาการ
และความคดิ สร้างสรรคก์ ับผู้เรยี น
9. เป็นการประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายและเพม่ิ รายได้ใหแ้ หล่งเรียนรู้ของชุมชน
ประเภทของแหลง่ เรียนรมู้ กี ารแบง่ แยกตามลกั ษณะได้ 6 ประเภท ดงั นี้
1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีสามารถถ่ายทอด
ความรดู้ ้วยรูปแบบวิธตี ่าง ๆ ทตี่ นมอี ยู่ใหผ้ ู้สนใจหรอื ผูต้ ้องการเรยี นรู้ เช่น ผเู้ ชย่ี วชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ผู้
อาวุโสที่มีประสบการณ์มามาก หรืออาจจะเป็นบุคคลที่ ได้รับแต่งตั้งเป็นทางการ มีบทบาทสถานะทางสังคม
หรืออาจเป็นบุคคลที่เป็นโดยการงานอาชีพ หรือบุคคลท่ีเป็นโดยความสามารถเฉพาะตัว หรือบุคคลท่ีได้รับ
แต่งตัง้ เป็นภูมิปัญญา
2. แหล่งเรียนรปู้ ระเภทธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ โดยธรรมชาติ และให้ ประโยชน์
ต่อมนุษย์ เช่น ดิน น้า อากาศ พืช สัตว์ ต้นไม้ แร่ธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติ เหล่าน้ีอาจถูกจัดให้เป็น
อทุ ยาน วนอุทยาน เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ สวนพฤกษศาสตร์ ศนู ย์ ศกึ ษาธรรมชาติ เป็นต้น
3. แหล่งเรียนรู้ประเภทวัสดุและสถานท่ี ได้แก่ อาคาร ส่ิงก่อสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ และส่ิง
ต่าง ๆ ท่ีประชาชนสามารถศึกษาหาความรู้ให้ได้มาซึ่งคาตอบ หรือส่ิงที่ต้องการจากการเห็น ได้ยิน
สัมผัส เช่น ห้องสมุด ศาสนสถาน ศูนย์การเรียน พิพิธภัณฑ์ สถานประกอบการ ตลาด นิทรรศการ
สถานทที่ างประวัติศาสตร์ ชุมชนแห่งการเรียนร้ตู ่าง ๆ
4. แหล่งเรียนรู้ประเภทส่ือ ได้แก่ สิ่งท่ีทาหน้าท่ีเป็นส่ือกลางในการถ่ายทอดเนื้อหา ความรู้
สารสนเทศ ให้ถึงกันโดยผ่านประสาทสัมผัส ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น กาย และใจ แหล่งเรียนรู้ ประเภท
น้ี ทาให้กระบวนการเรียนรู้เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพสูง ท้ังส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ส่ือส่ิงพิมพ์
สือ่ โสตทัศน์
5. แหล่งเรียนรู้ประเภทเทคนิค สิ่งประดิษฐ์คิดค้น ได้แก่ ส่ิงท่ีแสดงถึงความก้าวหน้าทาง
นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ท่ีได้มีการประดิษฐ์คิดค้นหรือพัฒนาปรับปรุงข้ึนมาให้มนุษย์ได้
เรยี นร้ถู งึ ความก้าวหนา้ เกิดจินตนาการ แรงบนั ดาลใจ
6. แหล่งเรียนรปู้ ระเภทกิจกรรม ได้แก่ การปฏิบตั กิ ารด้านประเพณีวฒั นธรรม ตลอดจนการ
ปฏิบัติการความเคล่ือนไหวเพื่อแก้ปัญหา และปรับปรุงพัฒนาสภาพต่าง ๆ ในท้องถิ่น การท่ี มนุษย์
เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การรณรงค์ป้องกันยาเสพติด การส่งเสริมการเลือกตั้ง ตาม
ระบบประชาธิปไตย การรณรงคค์ วามปลอดภัยของเด็กและสตรีในท้องถ่นิ
ใบความรทู้ ี่ 2 แหล่งเรียนรปู้ ระเภทห้องสมดุ
******************************************************************************************
ห้องสมุดเปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ ีส่ าคญั ประเภทหนึง่ ท่ีจัดหา รวบรวมสรรพวิชาการต่าง ๆ ที่เกิด ขึน้ จากทั่ว
โลกมาจัดระบบ และให้บรกิ ารแกก่ ลุม่ เป้าหมายศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิต
ปัจจุบันมีคาอ่ืน ๆ ที่หน่วยงานต่าง ๆ ใช้ในความหมายของคาว่า ห้องสมุด เช่น ห้องสมุด และศูนย์
สารสนเทศ สานักบรรณาสารการพัฒนา สานักบรรณสารสนเทศ สานกั หอสมดุ สานัก วทิ ยบริการ เปน็ ต้น
ห้องสมุดโดยท่วั ไปแบ่งออกเปน็ 5 ประเภท ดงั น้ี
1. หอสมดุ แหง่ ชาติ
นับเปน็ หอ้ งสมดุ ทใี่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศ ดาเนินการโดยรฐั บาล ทาหน้าท่ี
หลัก คือ รวบรวมหนังสือ ส่ิงพิมพ์ และส่ือความรู้ ทุกอย่างที่ผลิตขึ้นในประเทศ
และ ทุกอย่างท่ีเกี่ยวกับประเทศ ไม่ว่าจะจัดพิมพ์ในประเทศใด ภาษาใด ทั้งนี้
เป็นการอนุรักษ์สื่อความรู้ ซ่ึงเป็นทรัพย์สินทาง ปัญญาของชาติมิให้สูญไป และ
ให้มไี วใ้ ชใ้ นอนาคต นอกจากรวบรวมสงิ่ พมิ พ์ในประเทศแล้ว ก็มี หน้าท่ีรวบรวม
หนังสือที่มีคุณค่า ซ่ึงพิมพ์ในประเทศอ่ืนไว้เพ่ือการค้นคว้าอ้างอิง ตลอดจนทา
หนา้ ท่ี เป็นศูนย์รวบรวมบรรณานกุ รมต่าง ๆ และจัดทาบรรณานุกรมแห่งชาติออกเผยแพรใ่ ห้ทราบทั่ว กันว่ามี
หนังสืออะไรบ้างท่ีผลิตขึ้นในประเทศ หอสมุดแห่งชาติจึงเป็นแหล่งให้บริการทางความรู้แก่ คนท้ังประเทศ
ชว่ ยเหลอื การคน้ ควา้ วิจยั ตอบคาถาม และใหค้ าแนะนาปรกึ ษาเก่ียวกบั หนังสอื
2. หอ้ งสมุดประชาชน
ห้องสมดุ ประชาชนดาเนินการโดยรัฐ อาจจะ เปน็ รฐั บาลกลาง รัฐบาล
ท้องถิ่น หรอื เทศบาล แล้วแต่ระบบ การปกครอง ตามความหมายเดมิ
ห้องสมุดประชาชนเปน็ หอ้ งสมดุ ทปี่ ระชาชนต้องการใหม้ ใี นชมุ ชนหรือเมอื ง
ที่เขา อาศัยอยู่ ประชาชนจะสนบั สนนุ โดยยินยอมให้รัฐบาลจา่ ยเงิน รายได้
จากภาษตี า่ ง ๆ ในการจดั ตั้งและดาเนนิ การห้องสมดุ ประเภทนี้ให้เปน็
บรกิ ารของรัฐ จึงมไิ ด้เรยี กค่าตอบแทน เช่น คา่ บารุงหอ้ งสมดุ หรือคา่ เชา่
หนังสอื ท้ังน้ีเพราะถอื วา่ ประชาชนไดบ้ ารุงแล้ว โดยการเสียภาษีรายไดใ้ หแ้ ก่ประเทศ หนา้ ทข่ี องห้องสมุด
ประชาชนก็คอื ให้บริการหนังสอื และสอ่ื อน่ื ๆ เพอื่ การศกึ ษาตลอดชวี ติ บริการขา่ วและเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ท่ี
ประชาชนควรทราบ ส่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ นและการร้จู กั ใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ให้ ข่าวสาร ข้อมูลท่ี
จาเป็นตอ้ งใชใ้ นการปฏิบตั งิ านและการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ
3. ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย
เปน็ ห้องสมดุ ทีต่ ัง้ อยู่ในสถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ทาหนา้ ที่ส่งเสริม
การเรยี นการสอนตามหลกั สูตร โดยการจดั รวบรวมหนังสือและสือ่ ความรู้อืน่ ๆ
ในหมวดวิชา ต่าง ๆ ตามหลักสูตร ช่วยเหลือในการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์
และผู้เรียน ส่งเสริมพัฒนาการทางวิชาการของอาจารย์ และผู้เรียน และช่วย
จัดทาบรรณานุกรมและดรรชนสี าหรับค้นหาเร่ืองราวทต่ี อ้ งการ แนะนา ผ้เู รียน
ในการใช้หนังสอื อา้ งอิงบตั รรายการและคู่มือสาหรบั การค้นเร่อื ง
4. หอ้ งสมุดโรงเรียน
เป็นห้องสมุดท่ีต้ังอยู่ในโรงเรียนมัธยมและโรงเรียนประถมศึกษา มี
หน้าท่ีส่งเสริมการ เรียนการสอนตามหลักสูตร โดยการรวบรวมหนังสอื และสอ่ื
ความรอู้ ่ืน ๆ ตามรายวิชา แนะนา สอนการใชห้ ้องสมุดแก่ นกั เรยี น จดั กิจกรรม
ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน แนะนาให้รู้จัก หนังสือที่ควรอ่าน ให้รู้จักวิธีศึกษา
ค้นคว้าหาความร้ดู ้วย ตนเอง ให้รู้จักรักและถนอมหนังสือ และเคารพสิทธิของ
ผู้อ่ืน ในการใช้ห้องสมุดและยืมหนังสือซึ่งเป็นสมบัติของทุกคน ร่วมกัน ร่วมมือกับครูอาจารย์ในการ
จัดชวั่ โมงใช้หอ้ งสมดุ จัด หนังสือ และสื่อการสอนอ่นื ๆ ตามรายวชิ าใหแ้ ก่ครูอาจารย์
5. ห้องสมุดเฉพาะ
เป็นห้องสมุดซึ่งรวบรวมหนังสือในสาขาวชิ าบางสาขาโดยเฉพาะ มักเป็นส่วนหน่ึงของ หน่วย
ราชการ องคก์ าร บรษิ ทั เอกชน หรอื ธนาคาร ทาหนา้ ที่จัดหาหนังสอื และให้บรกิ ารความรู้ ขอ้ มลู และ
ข่าวสารเฉพาะเรื่องที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ ห้องสมุดเฉพาะจะเน้นการ
รวบรวมรายงานการค้นคว้าวิจัย วารสารทางวิชาการ และเอกสารเฉพาะเร่ืองที่ผลิตเพื่อการใช้ใน
กลุ่มนักวิชาการบริการของห้องสมุดเฉพาะจัดพิมพ์ข่าวสารเกี่ยวกับส่ิงพิมพ์เฉพาะเร่ืองส่งให้ถึงผู้ใช้
จัดสง่ เอกสารและเรือ่ งย่อของเอกสารเฉพาะเรื่องให้ถงึ ผใู้ ชต้ ามความสนใจเป็นรายบุคคล
ในปัจจุบันน้ี เนื่องจากการผลิตหนังสือและส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ โดยเฉพาะวารสารทางวิชาการ
รายงานการวิจัย และรายงานการประชุมทางวิชาการมีปริมาณเพ่ิมข้ึนมากมาย แต่ละสาขาวิชา แยก
ย่อยเป็นรายละเอียดลึกซึ้ง จึงยากที่ห้องสมุดแห่งใดแห่งหน่ึงจะรวบรวมเอกสารเหล่าน้ีได้หมด ทุก
อย่าง และให้บริการได้ทุกอย่างครบถ้วน จึงเกิดมีหน่วยงานดาเนินการเฉพาะเรื่อง เช่น รวบรวม
หนังสือและส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ เฉพาะสาขาวิชาย่อย วิเคราะห์เนื้อหา จัดทาเร่ืองย่อ และดรรชนีค้นเรื่อง
น้ัน ๆ แล้วพิมพ์ออกเผยแพร่ให้ถึงตัวผู้ต้องการเรื่องราวข่าวสารและข้อมูล ตลอดจนเอกสารในเรื่อง
น้ัน หน่วยงานที่ทาหน้าที่ประเภทนี้ จะมีชื่อเรียกว่า ศูนย์เอกสาร ศูนย์สารสนเทศ ศูนย์ข่าวสาร หรือ
ศูนย์สารนิเทศ เช่น ศูนย์เอกสารการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ศูนย์ข่าวสารการประมง เป็นต้น ศูนย์
เหล่าน้ีบางศูนย์เป็นเอกเทศ บางศูนย์ก็เป็นส่วนหน่ึงของห้องสมุด บางศูนย์ก็เป็นส่วนหนึ่งของ
หนว่ ยงานเชน่ เดียวกบั ห้องสมดุ เฉพาะ
ห้องสมดุ ประชาชน
ในที่นี้จะกล่าวถึงห้องสมุดประชาชนเป็นหลัก เน่ืองจากเป็นห้องสมุดท่ีให้บริการในทกุ อาเภอ
และใน กทม.บางเขต หรือให้บริการประชาชนทวั่ ไป และอยูใ่ นชมุ ชนใกลต้ ัวผ้เู รยี นมากท่สี ดุ
ห้องสมุดประชาชน หมายถึง สถานท่ีจัดหา รวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศ เพ่ือการอ่าน และ
การศึกษาค้นคว้าทุกชนิด ทุกประเภท มีการจัดระบบหมวดหมู่ตามหลักสากล เพื่อการบริการ และ
จัดบริการอย่างกว้างขวางแก่ประชาชนในชุมชน สังคม โดยไม่จากัดเพศ วัย ความรู้ เชื้อชาติ ศาสนา
รวมท้ังการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านโดยมบี รรณารักษศาสตร์เปน็ ผูอ้ านวยความสะดวก
ห้องสมุดประชาชนดาเนินการโดยหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ สานักงาน กศน. (ห้องสมุด
ประชาชนทั่วประเทศ) กรุงเทพมหานคร (ห้องสมุดประชาชนในเขต กทม.) เทศบาล (ห้องสมุด
ประชาชนเทศบาล) เปน็ ตน้
ประเภทของห้องสมดุ ประชาชน (สังกัดสานักงาน กศน.)
ห้องสมดุ ประชาชน แบง่ ตามขนาดไดเ้ ปน็ ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ดังน้ี
1. ห้องสมุดประชาชนขนาดใหญ่ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัด ส่วนใหญ่ต้ังอยู่ใน เขต
อาเภอเมือง และหอสมดุ รัชมังคลาภิเษกพระราชวงั ไกลกงั วล หวั หนิ ซึง่ มีลักษณะอาคารส่วนใหญ่ เปน็
2 ชั้น ช้ันบนจัดบริการหนังสือ เอกสาร และส่ือเก่ียวกับการศึกษาตามหลักสูตรระดับต่าง ๆ โดย
จัดเป็นห้องการศึกษานอกโรงเรียนและห้องโสตทัศนศึกษา ห้องหรือมุมหนังสือมหาวิทยาลัย สุโขทัย
ธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยรามคาแหง และห้องหรือมุมศูนย์ข้อมูลชุมชนท้องถ่ิน เป็นต้น ส่วนช้ันล่าง
จัดเป็นชั้นหนังสือและบรกิ ารหนังสือ เอกสาร ส่ือความรทู้ างวชิ าการ สารคดีโดยทัว่ ไป และจัดบริการ
หนงั สือสาหรบั เด็ก สือ่ สาหรบั เดก็ เยาวชน มุมจดั กจิ กรรมสาหรบั เด็ก
2. ห้องสมุดประชาชนขนาดกลาง ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ลักษณะ
อาคารเป็น 2 ช้ัน มรี ูปแบบอาคารเหมือนกันเกอื บทกุ แห่ง ชน้ั บนจดั เปน็ ห้องศนู ยข์ อ้ มลู ทอ้ งถนิ่ บริการ
เก่ียวกับข้อมูลชุมชน ห้องการศึกษานอกโรงเรียน บริการส่ือความรู้หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน
ทุกหลักสูตร ทุกประเภท ตลอดจนห้องโสตทัศนศึกษาและห้องการศึกษาดาวเทียมไทยคม และห้อง สาคัญ
ท่ีสดุ หอ้ งหนึ่งคือหอ้ งเฉลิมพระเกยี รตฯิ จดั บริการขอ้ มูลเกย่ี วกบั พระราชประวัติ พระราชกรณยี กจิ โครงการใน
พระราชดาริหนังสือพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพระราชวงศ์ที่
เก่ียวข้อง เป็นต้น ชั้นล่างจัดบริการมุมเด็กซึ่งประกอบด้วยส่ือความรู้สาหรับเด็ก เคร่ืองเล่นพัฒนาความพรอ้ ม
สื่อความรู้ทุกประเภท รวมทั้งเป็นท่ีจัดกิจกรรมสาหรับเด็ก และจัดสื่อ เอกสารหนังสือวิชาการ สารคดี ความรู้
ท่ัวไปสาหรับผูใ้ หญ่ ประชาชนท่ัวไป
ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นห้องสมุดที่ได้พระราชทานพระราชานุญาตจาก สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสท่ีทรงมีพระชนมายุครบ 36 พรรษา และพระองค์ทรง
เสดจ็ เปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ทุกแห่งดว้ ยพระองคเ์ อง
3. ห้องสมุดประชาชนขนาดเล็ก ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนอาเภอท่ัวไปจัดบริการหนังสือ และส่ือ
ความรู้ประเภทต่าง ๆ จัดมุมเด็กและครอบครัว มุมวารสารหนังสือพิมพ์ มุมการศึกษานอก โรงเรียนและ
หนงั สอื วิชาการ สารคดที ัว่ ไป รวมทงั้ หนังสืออา้ งอิง เปน็ ตน้
ความสาคญั ของหอ้ งสมุดประชาชน
ห้องสมุดประชาชนมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาคนในชุมชน และของประเทศ ในทกุ ดา้ น
ดังน้ี
1. เป็นแหล่งกลางในการจัดหารวบรวม และบริการข้อมูลข่าวสารสาคัญที่ทันเหตุการณ์ และความ
เคลอ่ื นไหวของโลกท่ปี รากฏในรูปลกั ษณต์ า่ ง ๆ มาไวบ้ รกิ ารแก่ประชาชน
2. เป็นแหล่งเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัยที่ให้พื้นฐานความคิดของประชาชนโดย ส่วนรวมและเป็น
พ้ืนฐานความเติบโตทางสติปัญญาและวฒั นธรรมอย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต
3. เป็นศูนยข์ ้อมลู ชุมชนในการส่งเสริมกจิ กรรมด้านการศึกษาและวัฒนธรรมของชุมชน
4. เป็นแหลง่ กลางท่จี ะปลกู ฝงั ให้ประชาชนมนี ิสัยรกั การอา่ น การศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้ การ
ศึกษาวจิ ัย
5. เป็นแหลง่ ทีป่ ระชาชนสามารถใช้หนังสอื สอื่ ความรูต้ า่ ง ๆ ใหเ้ ป็นประโยชนอ์ ย่างเตม็ ที่ ตามความ
ตอ้ งการและสภาพแวดลอ้ มของประชาชน
6. เป็นแหล่งสนับสนุนการเผยแพรค่ วามรู้ ความคิด ทัศนคติ ประสบการณใ์ นรปู แบบ ของส่อื ตา่ งๆ
7. เป็นแหล่งการเรยี นรทู้ เ่ี ช่ือมโยงการศกึ ษานอกระบบ การศึกษาในระบบ และเช่ือมโยงแหลง่ เรยี นรู้
ต่าง ๆ
1. การบรกิ ารภายในหอ้ งสมุด
ห้องสมดุ ประชาชนทุกประเภทจะจดั บริการภายในหอ้ งสมดุ ตามความเหมาะสมของแต่ละ ห้องสมดุ
และการสนองตอบความตอ้ งการของผ้รู ับบริการ ดังน้ี
1.1 บรกิ ารการอา่ น การศกึ ษาคน้ ควา้ จัดสอ่ื ตา่ ง ๆ ในพ้ืนทที่ ่ถี กู จดั เป็นสัดส่วนและส่ิงอานวยความ
สะดวกตา่ ง ๆ
1.2 บรกิ ารสืบคน้ ดว้ ยคอมพิวเตอร์ เพ่อื การเขา้ ถึงสารสนเทศทตี่ ้องการได้อย่างรวดเร็ว ดว้ ย
โปรแกรม PLS (Public Library Service) โดยจดั บรกิ ารเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือการสบื คน้ และ แนะนาการใช้
1.3 บริการสืบค้นดว้ ยตู้บัตรรายการ โดยสารสนเทศทกุ ประเทภ ทกุ ชนิด จะถูกจดั ทารายการ คน้ เป็น
บัตรรายการ จัดเรียงไว้ในตบู้ ัตรรายการ แยกประเภทเป็นบัตรผู้แต่ง บัตรชื่อหนังสือและบัตรเรื่อง รวมท้งั บตั ร
ดรรชนีตา่ ง ๆ ไว้บริการ
1.4 บรกิ ารยมื -คนื หนงั สอื -สื่อความรตู้ า่ ง ๆ ให้ผใู้ ชบ้ ริการยืมอ่านนอกหอ้ งสมุด โดยแต่ละ แห่งจะ
กาหนด กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ ฯลฯ ตามความเหมาะสมของแต่ละหอ้ งสมุด และมกี ารใช้ ระบบเทคโนโลยใี น
การบริการทร่ี วดเร็ว
1.5 การบรกิ ารแนะแนวการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยแก่ผเู้ รียนและ
ประชาชนผสู้ นใจทว่ั ไป
1.6 บรกิ ารสอื่ เอกสารของสถาบนั อุดมศึกษา ทง้ั ของมหาวิทยาลยั รามคาแหง
มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
1.7 บรกิ ารข้อมูลสารสนเทศและเอกสารงานวจิ ยั ต่าง ๆ รวมท้ังหนังสืออ้างองิ
1.8 บรกิ ารการเรียนรกู้ ารใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมต่าง ๆ อินเทอร์เน็ต ส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ตา่ ง
ๆ
1.9 บรกิ ารสถานทีจ่ ดั กจิ กรรมเสรมิ ความรู้ตา่ ง ๆ
1.10 บรกิ ารแนะนาให้ความรู้แกน่ กั เรียน ผู้เรียน สถาบนั ตา่ ง ๆ รวมทัง้ ประชาชนในการรจู้ ัก
ใช้หอ้ งสมุดประชาชน
1.11 บรกิ ารแนะนาทางบรรณารักษศาสตรแ์ ก่บคุ ลากรเครอื ข่ายในการจดั ปรบั ปรงุ พัฒนา
แหล่งเรยี นรหู้ อ้ งสมดุ ของท้องถนิ่
1.12 บรกิ ารฝึกประสบการณ์การปฏบิ ตั ิงานหอ้ งสมดุ แก่นักเรียน ผเู้ รียน สถาบันตา่ ง ๆ
2. การบรกิ ารภายนอกหอ้ งสมดุ
2.1 บริการห้องสมดุ เคลอ่ื นที่กบั หนว่ ยงานองค์กรทอ้ งถิ่น
2.2 บรกิ ารหมนุ เวยี นสือ่ ในรูปแบบต่าง ๆ ไปยังศูนย์การเรียน แหล่งความรู้ ครอบครวั ฯลฯ
ท่อี ยูห่ า่ งไกลหอ้ งสมดุ ในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ เป้ ย่าม หีบ กระเป๋า ฯลฯ
2.3 บรกิ ารความรู้ทางสถานีวทิ ยุ โทรทศั น์ หอกระจายขา่ ว เสียงตามสาย แผ่นพับ แผ่นปลิว
ฯลฯ
2.4 บรกิ ารส่ือตา่ ง ๆ แกบ่ ุคลากร กศน. ท้ังครู วิทยากร ผเู้ รียนกลมุ่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ
ใบความรทู้ ่ี 3 ทักษะการเข้าถงึ สารเทศของหอ้ งสมดุ ประชาชน
******************************************************************************************
ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ช่วยลดข้ันตอนการหาข้อมูลของห้องสมุดประชาชน ผู้เรียน
สามารถคน้ หาได้จากอินเทอรเ์ น็ต ว่ามีหอ้ งสมดุ ประชาชนที่ใดบ้าง สถานทีต่ ั้ง เวลาเปดิ -ปิด หมายเลขโทรศัพท์
กจิ กรรมท่ใี ห้บริการ ช่วยใหผ้ ใู้ ช้สะดวกและสามารถเขา้ ถงึ หอ้ งสมดุ ได้งา่ ย
ห้องสมุดทุกประเภททุกชนิดจะมีการจัดระบบหมวดหมู่ของสารสนเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ สาคัญ
เพือ่ ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ สิง่ ท่ีต้องการสนใจได้ง่าย สะดวกรวดเรว็ และสะดวกในการบริหาร จดั การห้องสมุดเพอ่ื
การบริการกลุ่มเป้าหมายในระยะยาว
ระบบหมวดหมู่ที่ห้องสมุดนามาใช้จะเป็นระบบสากลท่ีท่ัวโลกใช้ และเหมาะกับกลุ่ม เป้าหมายเข้าถึง
ได้ง่าย ระบบท่ีนิยมใช้ในประเทศไทยเป็นส่วนใหญ่ มี 2 ระบบ ได้แก่ ระบบทศนิยม ของดิวอี้ ซ่ึงใช้ตัวเลขอา
รบิกเป็นสัญลักษณ์ แทนหมวดหมู่สารสนเทศ นิยมใช้ในห้องสมุดประชาชน กับอีกระบบหน่ึง ได้แก่ระบบ
รฐั สภาอเมรกิ ัน ใชอ้ ักษรโรมนั (A-Z) เป็นสญั ลกั ษณ์ นิยมใชใ้ นหอ้ ง สมดุ มหาวิทยาลยั
ระบบทศนิยมของดวิ อี้ แบ่งความรูใ้ นโลกออกเป็นหมวดหมู่จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดย่อย จากหมวด
ยอ่ ยแบ่งเปน็ หมู่ย่อย และหมยู่ อ่ ยๆ โดยใชเ้ ลขอารบกิ 0-9 เป็นสัญลักษณ์ ดังนี้
000 สารวิทยาความรู้เบด็ เตลด็ ทั่วไป
100 ปรชั ญาและวิชาท่เี กยี่ วข้อง
200 ศาสนา
300 สังคมศาสตร์
400 ภาษาศาสตร์
500 วทิ ยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์บริสุทธ)ิ์
600 เทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์ประยกุ ต)์
700 ศิลปกรรมและการบนั เทิง
800 วรรณคดี
900 ภูมิศาสตรแ์ ละประวตั ิศาสตร์
ระบบรัฐสภาอเมรกิ า (Library of Congress Classification)
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซ่ึงปรับปรุง และ
พัฒนาโดย เฮอร์เบริ ์ด พัทนมั (Herbirt Putnum) เมอ่ื ปี พ.ศ. 2445
ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั แบ่งหมวดหมวู่ ิชาออกเป็น 20 หมวด ใช้อักษรโรมันตัวใหญ่ A-Z ยกเว้น
ตวั อกั ษร I, O, W, X, Y เพ่อื สาหรบั การขยายหมวดหม่วู ชิ าการใหม่ ๆ ในอนาคต
ตารางการแบ่งหมวดหมหู่ นังสอื ระบบหอสมุดอเมรกิ นั แบง่ หมวดหมวู่ ิชาการเปน็ 20 หมวดใหญ่ ดงั นี้
1. หมวด A : ความรทู้ ว่ั ไป
2. หมวด B : ปรชั ญา ศาสนา
3. หมวด C : ประวตั ศิ าสตร์
4. หมวด D : ประวตั ศิ าสตร์สากล
5. หมวด E-F : ประวตั ิศาสตรอ์ เมรกิ า
6. หมวด G : ภูมศิ าสตร์ มานษุ ยวิทยา คติชนวทิ ยา
7. หมวด H : สงั คมศาสตร์
8. หมวด J : รัฐศาสตร์
9. หมวด K : กฎหมาย
10. หมวด L : การศกึ ษา
11. หมวด M : ดนตรี
12. หมวด N : ศิลปกรรม
13. หมวด P : ภาษาและวรรณคดี
14. หมวด Q : วิทยาศาสตร์
15. หมวด R : แพทยศาสตร์
16. หมวด S : เกษตรศาสตร์
17. หมวด T : เทคโนโลยี
18. หมวด U : วชิ าการทหาร
19. หมวด V : นาวกิ ศาสตร์
20. หมวด Z : บรรณารกั ษศาสตร์
สาหรับห้องสมุดประชาชนซ่ึงผู้ใช้บริการเป็นประชาชนทั่วไป การจัดหมวดหมู่หนังสือ
นอกจากระบบดังกล่าวแล้ว ยังมีช่ือหมวดหนังสือและส่ือเพ่ือเพิ่มความสะดวกในการค้นหา เช่น นว
นิยาย เรื่องสน้ั สารคดี ประวตั ิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กฬี า นันทนาการ เป็นต้น
การเขา้ ถึงสารสนเทศห้องสมดุ ประชาชน
ห้องสมุดประชาชนมีหลากหลายสังกัด เช่น สังกัดสานักงาน กศน. สังกัดกรุงเทพมหานคร
สังกัดเทศบาล การจัดระบบการสืบค้นห้องสมุดประชาชนได้อานวยความสะดวกในการสืบค้นสาร
สนเทศ ดงั น้ี
1. การใช้โปรแกรมเพื่อการสืบค้น ในยุคปัจจุบัน สานักงาน กศน. ได้พัฒนาโปรแกรม เพื่อ
บรหิ ารจัดการงานห้องสมดุ ให้ครบวงจร เชน่ ขอ้ มลู หนังสือ สื่อ ข้อมูล สมาชกิ ข้อมลู อ่ืน ๆ ดงั น้นั หาก
ผู้ใช้บริการต้องการรู้ว่ามีหนังสือหรือสื่อท่ีต้องการในห้องสมุดแห่งนั้นหรือไม่ ก็สามารถค้นหา ได้ด้วย
โปรแกรมดังกล่าว ซ่ึงห้องสมุดจะมีคอมพิวเตอร์ให้สืบค้นได้ด้วยตนเอง โดยพิมพ์คาท่ี เกี่ยวข้องกับ
หนังสือ เช่น ประวัติศาสตร์ สัตว์เล้ียงลูกดว้ ยนม การศึกษา โลกร้อน ฯลฯ ส่วน รายละเอียดวธิ ีการใช้
โปรแกรม สามารถศกึ ษาได้จากห้องสมุดประชาชนแหง่ นนั้
2. การสืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศดว้ ยบตั รรายการ
ห้องสมุดประชาชนบางแห่งอาจยังจัดบริการสืบค้นด้วยบัตรรายการ ซ่ึงมีลักษณะเป็น บัตร
แข็ง เกบ็ ไวใ้ นล้นิ ชกั ในตบู้ ัตรรายการ
ตัวอย่างลกั ษณะของบตั รรายการ
บตั รรายการหนังสอื ท่ปี รากฏข้างบน จะมีชื่อผู้แตง่ อยู่บรรทัดบนสดุ มีชื่อเรยี กวา่ บัตรผแู้ ต่ง
ใบความร้ทู ่ี 4 การใชแ้ หล่งเรียนรู้สาคัญ ๆ ภายในประเทศ
******************************************************************************************
หอ้ งสมุดประชาชน เฉลมิ ราชกมุ ารี
ในโอกาสม่งิ มงคลสมัยทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระ ชนมายุ 36
พรรษา เม่ือปีพุทธศักราช 2534 กระทรวงศึกษาธิการได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้ดาเนิน
โครงการจัดต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพ่ือเฉลิมพระเกียรติและเพื่อสนองแนวทางพระราชดาริ
ในการส่งเสริมการศกึ ษาสาหรับประชาชนท่ไี ดท้ รงแสดงในโอกาสต่าง ๆ เช่น
ในโอกาสท่ีทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จเป็นองค์ประธานในการประชุมสมัชชาสากล ว่าด้วย
การศึกษาผู้ใหญ่ เมอ่ื วันท่ี 12 มกราคม 2533 ไดท้ รงพระราชทานลายพระหตั ถ์เชญิ ชวนให้
“ร่วมกันทาใหช้ าวโลกอา่ นออกเขียนได้”
และในบทพระราชนพิ นธ์เรอื่ ง “ห้องสมุดในทศั นะของขา้ พเจา้ ” ไดท้ รงกลา่ ววา่
“...ความรู้ของมนุษย์เป็นมรดกที่ตกทอดกันมาแต่โบราณ เม่ือมีการประดิษฐ์คิดค้นอักษรข้ึน ผู้มี
ความรู้ก็ได้บันทึกความรู้ของตน ส่ิงที่ตนค้นพบเป็นการจารึก หรือเป็นหนังสือทาให้บุคคลอื่นใน สมัยเดียวกัน
หรอื อนชุ นรุ่นหลังไดม้ โี อกาสศึกษาทราบถงึ เร่อื งน้นั ๆ และไดใ้ ช้ความรู้เกา่ ๆ เป็นพืน้ ฐาน ที่จะหาประสบการณ์
คิดค้นส่งิ ใหมๆ่ ทีเ่ ปน็ ความกา้ วหนา้ เปน็ ความเจรญิ สืบต่อไป...
ห้องสมุดเป็นสถานท่ีเก็บเอกสารต่าง ๆ อันเป็นแหล่งความรู้ดังกล่าว แล้วจึงเรียกได้ว่า เป็นครู เป็นผู้
ชี้นาใหเ้ รามปี ญั ญาวิเคราะหว์ จิ ารณใ์ หร้ ู้สิ่งควรรอู้ ันชอบด้วยเหตผุ ลได้
ขา้ พเจา้ อยากใหเ้ รามีหอ้ งสมดุ ท่ีดี มีหนงั สอื ครบทุกประเภทสาหรบั ประชาชน...”
ด้วยความจงรักภักดแี ละความมุ่งมั่นศรัทธาที่จะร่วมสนองแนวทางพระราชดาริ ในการส่งเสรมิ โอกาส
ทางการศึกษา ภายในปี 2533 และ 2534 ได้มีประชาชนในแต่ละพ้ืนท่ี หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชนให้
ความสนับสนุนกระทรวงศึกษาธิการจัดต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จานวน 59 แห่ง ในพื้นที่ 47
จังหวัด เกินเป้าหมายทีก่ าหนดไว้เดิม 37 แห่ง และนับเน่ืองจากนั้น ยังมีข้อเสนอจากจงั หวัดต่าง ๆ ขอเข้ารว่ ม
โครงการเพ่ิมเติมจวบจนปัจจุบันมีห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จานวน 82 แห่ง (ข้อมูลจากสถาบัน
พัฒนาวตั กรรมการเรียนรู้ สานกั งาน กศน. พฤศจิกายน 2553)
บทบาทหนา้ ท่ี
1. ศูนย์ข่าวสารข้อมูลของชุมชน หมายถึง การจัดห้องสมุดให้เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า วิจัย
โดยมีการจัดบริการหนังสือ เอกสารสิ่งพิมพ์ ส่ือโสตทัศน์ ตลอดจนการจัดทาทาเนียบ และการแนะแนวแหล่ง
ความรูอ้ นื่ ๆ ท่ีผ้ใู ช้บรกิ ารสามารถไปศกึ ษาเพ่ิมเติม
2. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน หมายถึง การเป็นแหล่งส่งเสริมสนับสนุนและจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย โดยห้องสมุดอาจดาเนินการเอง หรือประสานงานอานวยความสะดวกให้ชุมชนหรือ
หน่วยงานภายนอกมาจดั ดาเนนิ การ
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจัดขึ้นจะให้ความสาคัญแก่ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การแนะแนว
การศึกษา และการพัฒนาอาชีพ การสนับสนุนการเรียนรูด้ ้วยตนเอง การจดั การศึกษานอกโรงเรยี น สายสามัญ
การจัดกลุ่มสนใจและชั้นเรียนวิชาชีพ การส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปของ นิทรรศการ การอภิปราย
การเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในครอบครัว การถ่ายทอดความรู้จากผู้รู้ในชุมชนและการแสดงภาพยนตร์และสื่อ
โสตทศั น์
3. ศูนย์กลางจัดกิจกรรมของชุมชน หมายถึง การให้บริการแก่ชุมชนในการจดั กิจกรรมการศึกษาและ
ศิลปวัฒนธรรม เช่น การประชุมขององค์กรท้องถ่ินและชมรมต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ การแสดงผลิตภัณฑ์
การจดั กิจกรรมวันสาคัญตามประเพณี การจดั สวนสุขภาพ สนามเดก็ เล่นและสวนสาธารณะ เป็นตน้
4. ศูนย์กลางสนับสนุนเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน หมายถึง การจัดให้เกิดกระบวนการท่ีจะเช่ือม
ประสานระหว่างหอ้ งสมุดและแหลง่ ความร้ใู นชมุ ชนอ่ืน ๆ เชน่ ทอ่ี า่ นหนงั สือประจาหมูบ่ า้ น สถานศกึ ษา แหลง่
ประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ด้วยการผลิตและเผยแพร่เอกสารสิ่งพิมพ์ไป สนับสนุนเวียนหนังสือ
จดั ทาทาเนียบผรู้ ู้ในชมุ ชน จัดกิจกรรมเพ่อื ใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหวา่ งชมุ ชน เป็นต้น
อาคารห้องสมดุ ประชาชน เฉลิมราชกมุ ารี
ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี ท่จี ดั สร้างขึ้นในรุ่นแรกจะเปน็ อาคาร 2 ชัน้ มเี นื้อทใี่ ช้
สอยประมาณ 320 ตารางเมตร และมรี ูปทรงท่คี ลา้ ยคลงึ กัน จะตา่ งกนั เฉพาะบรเิ วณหลงั คาและ จั่ว
ท้ังนี้เปน็ ไปตามมตขิ องคณะกรรมการอานวยการโครงการ ทก่ี าหนดให้ห้องสมดุ มีท้ังเอก
ลักษณะเฉพาะของห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี และในขณะเดยี วกันใหม้ เี อกลักษณเ์ ฉพาะ
ภาค
การบรกิ ารของหอ้ งสมดุ ประชาชน เฉลมิ ราชกมุ ารี
บรกิ ารหนงั สอื ทัว่ ไป
หนังสือที่จัดบริการประกอบด้วย หนังสืออ้างอิง นวนิยาย สารคดี และแบบเรียนในระดับ
ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรบั ผู้เรียนนอกโรงเรียนท่จี ะสามารถยืมหนังสือเรียนไปใช้ นอกจากนี้ ยัง
มีหนงั สือพิมพแ์ ละวารสารจดั บรกิ าร พร้อมกับกฤตภาค จุลสาร และสงิ่ พมิ พ์อ่นื ๆ
บริการพิเศษท่เี ปน็ เอกลักษณ์เฉพาะสาหรบั ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ได้แก่
บริการศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น ห้องสมุดแต่ละแห่งจะจัดศูนย์ข้อมูลท้องถ่ินตามพระราโชบายของ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีมีพระราชประสงค์ให้ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิม
ราชกุมารี” จัดรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ อาเภอ และจังหวัดท่ีตั้งในรูปของสถิติ เอกสารส่ิงพิมพ์ บท
สมั ภาษณ์ แผนที่ ตลอดจนภาพถ่าย
ในปัจจุบัน ศูนย์ข้อมูลภายในห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ยังมีความแตกตา่ งกนั ใน
ความสมบูรณแ์ ละวิธกี ารนาเสนอ แตส่ ่วนใหญจ่ ะมขี อ้ มลู ในเรื่องดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ขอ้ มลู สภาพท่วั ไป
2. ข้อมูลทางสังคม
3. ขอ้ มูลทางการเมอื งการปกครอง
4. ขอ้ มลู ทางการศกึ ษา
5. ขอ้ มูลทางศลิ ปวฒั นธรรม
6. ขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7. ขอ้ มลู ทางการเกษตร
8. ขอ้ มูลทางอตุ สาหกรรม
9. ข้อมูลทางเศรษฐกิจ
มุมนักเขียนท้องถิ่น ได้มีความพยายามท่ีจะประกาศเกียรติคุณและรวบรวมผลงานนักเขียน
ท้องถ่ินที่มีผลงานมีชื่อเสียงระดับชาติ และเป็นที่รู้จักภายในท้องถิ่น ท้ังน้ีเพื่อให้ประชาชนในแต่ละ
พ้ืนท่ีเกิดความภาคภูมิใจในพลงั ความสร้างสรรคใ์ นท้องถิ่นของตนและเยาวชนรนุ่ หลังเกิดแรงบันดาล
ใจ ที่จะเจริญรอยตาม
มุมวรรณกรรมพื้นบ้าน นอกจากมุมนักเขียนท้องถ่ินแล้ว ห้องสมุดยังมุ่งเพ่ือจะรวบรวม
วรรณกรรมพืน้ บา้ นท้ังทีอ่ ย่ใู นรปู ของเอกสารสงิ่ พิมพ์ และเป็นตานานเลา่ สบื ต่อกันมา
มุมธรรมะ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” หลายแห่งได้ริเริ่มห้องธรรมะหรือมุมธรรมะ ซ่ึง
นอกจากจะนาเสนอประวัตแิ ละผลงานของพระสงฆท์ ่ีเปน็ ทเ่ี คารพในพื้นทแ่ี ล้ว ยังจัดหนังสอื พระไตรปฎิ ก และ
รวบรวมหนงั สือธรรมะ ตลอดจนเทปธรรมะเพอ่ื ประโยชน์ในการศกึ ษาคน้ คว้าอกี ด้วย
บริการแนะแนว เนื่องจากผู้ใช้บริการห้องสมุดจานวนไม่น้อยเป็นประชาชนนอกระบบโรงเรียน จึงมี
การจัดมุมแนะแนวขึ้นในหลายแห่ง เพ่ือให้ข้อมูลเกี่ยวกับโอกาสในการศึกษานอกระบบโรงเรียน ประโยชน์ที่
จะได้รบั และข้อมลู เกีย่ วกับแหลง่ ทีจ่ ัดสอน ค่าเลา่ เรยี น และรายละเอยี ดพ้ืนฐานอนื่ ๆ
ห้องเด็กและครอบครวั
ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” แต่ละแห่งได้จัดบริเวณเฉพาะสาหรับเด็กและเยาวชน ให้มาใช้
บริการร่วมกันด้วยการจัดหนังสือและสื่อนานาชนิดซึ่งมีทั้งสื่อทดลองท่ีผู้ใช้สามารถทดลองด้วยตนเองหรือเป็น
กลุม่ เครอื่ งเลน่ และส่อื สาธิต
ในบริเวณดังกล่าว จะจัดบรรยากาศให้ดึงดูดใจ โดยอาจจาลองภาพจากตานานพ้ืนฐาน เทพนิยาย
หรือสภาพภูมิประเทศทั้งใกล้และไกลตัวมาตกแต่ง พร้อมกับจัดที่นั่งอ่าน ท่ีน่ังเล่นท่ีเหมาะสม มีบริเวณจัด
กิจกรรมท่ีเด็กและครอบครัวสามารถมีส่วนรว่ มและแสดงออก เชน่ การเล่านิทาน การแสดง ละครหนุ่ การวาด
ภาพ การแข่งขันอ่านเขียน เป็นต้น ห้องสมุดบางแห่ง เช่น ท่ีอาเภอโพธทิ์ อง ได้ สอดแทรกการปลูกฝังระเบียบ
วินยั ให้กับเดก็ ดว้ ยการจัดระบบใหเ้ ด็ก ไมว่ ่าจะเลก็ เพยี งใดไดฝ้ ึกหดั เบกิ และเก็บของเล่นให้เป็นระเบียบ
การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านทีห่ ลากหลายและตอ่ เน่อื ง การรักษาระเบยี บวินัยภายในห้องสมดุ การ
ส่งเสริมให้ครอบครัวมาใช้บริการร่วมกัน การดูแลสภาพเคร่ืองเล่นให้ใช้การได้ ตลอดจนการเสริมหนังสือและ
ส่อื ให้มีพอเพยี ง จงึ เปน็ ประเด็นทที่ ้าทายผมู้ ีส่วนร่วมในการจัดห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ทกุ คน
หอ้ งโสตทัศนศกึ ษา
ห้องโสตทัศนศึกษา เป็นห้องท่ีมุ่งพัฒนาให้เป็นศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาของอาเภอ โดยมี
วัตถุประสงค์ที่จะจัดบริการส่ือเพ่ือการศึกษาค้นคว้า เพ่ือส่งเสริมการศึกษาด้วยตนเอง เพื่อประกอบการเรียน
การสอน ทง้ั ในและนอกระบบโรงเรียน และเพือ่ สง่ เสริมศิลปวฒั นธรรมและการนนั ทนาการ
ในแต่ละห้องสมุดจะมีสื่อพื้นฐาน ซ่ึงได้แก่ สไลด์ CD C.A.I CD-ROM และคู่มือประกอบ การฟังและ
การชมซึ่งจะมีเนอื้ หา ดงั น้ี
1. สอื่ การศึกษาสาหรับศกึ ษาด้วยตนเอง หรอื เสรมิ หลักสูตรการศึกษาสายสามัญท้ังใน และนอกระบบ
โรงเรียน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และในบางแห่งมีถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้โดยได้รับการ
สนับสนนุ จากศนู ยเ์ ทคโนโลยที างการศึกษาและมหาวทิ ยาลัยเปิด
2. สอื่ การศึกษาสายอาชีพ สาหรบั ศกึ ษาดว้ ยตนเองหรอื ประกอบการเรียนตามหลกั สตู ร
3. สือ่ ทีใ่ หค้ วามรูท้ ่วั ไปเชิงสารคดี เชน่ เรอ่ื งศิลปวฒั นธรรม การท่องเท่ยี ว เปน็ ต้น
4. สอ่ื ท่ใี หค้ วามรูใ้ นเร่ืองธรรมะ และศาสนา
5. ส่อื ดนตรีประเภทตา่ งๆ ทงั้ ดนตรพี ้นื บ้าน ดนตรไี ทย และดนตรีสากล
6. สอื่ บันเทงิ
หอ้ งอเนกประสงค์
ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” มีบทบาทในการเป็นศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชน ใน
การวางแผนเบื้องต้น จึงกาหนดให้มีห้องอเนกประสงค์ที่จะสามารถจัดกิจกรรมการศึกษาท่ีหลาก หลายท้ังใน
รปู ของพพิ ิธภัณฑ์ท้องถนิ่ นทิ รรศการ การอภปิ ราย การพบกลมุ่ ของผูเ้ รยี นหรอื การเรยี นการสอนกลมุ่ สนใจ ซงึ่
มเี นือ้ หาดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ประวัติศาสตร์ โบราณคดีของพื้นที่น้ัน ๆ ทั้งในภาพรวมและเจาะลึกในบางประเด็น เช่น ห้องสมุด
อ่าวลึก แสดงนิทรรศการถา้ หวั กะโหลกและลูกปดั โบราณ ห้องสมุดปัตตานีจัดหอ้ งพิเศษ เพือ่ นาเสนอเร่ืองเมอื ง
โบราณ ห้องสมุดพฒั นานิคมจดั นิทรรศการตามรอยสมเด็จพระนารายณ์และห้องสมุดทองผาภูมิ เสนอเส้นทาง
เดนิ ทัพ เป็นตน้
2. ภมู ิศาสตร์และส่งิ แวดล้อม ห้องสมุดแต่ละแห่งจะนาเสนอแผนที่แสดงอาณาเขตและสภาพ
ทางภูมิประเทศ พร้อมกับเสนอประเด็นปัญหา เช่น ห้องสมุดน้าพองเสนอนิทรรศการลาน้า แห่งชีวิต
ห้องสมุดบางปะกงจัดนิทรรศการป่าชายเลน ห้องสมุดวิเศษชัยชาญแสดงเรื่องแม่น้าน้อย ห้องสมุดสิง
หนคร เนน้ การสรา้ งความตระหนกั ในเร่ืองทะเลสาปสงขลา เปน็ ตน้
3. ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ห้องสมุดหลายแห่งให้ความสนใจต่อการนาเสนอนิทรรศการท่ี
เกี่ยวกับความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมประเพณีและการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของประชาชน
เช่นห้องสมดุ แม่สะเรียงเสนอเรือ่ งไทยใหญแ่ ละชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ห้องสมุดทจ่ี ัตุรสั แสดงวฒั นธรรมชาว
ชัยภูมิ ท่ีมีพ้ืนฐานไทยโคราช และลาว ห้องสมุดลาดหลุมแก้วจดั นทิ รรศการวฒั นธรรมมอญ ห้องสมุด
ศีขรภูมิเนน้ เรอื่ งสว่ ย ในขณะที่ห้องสมดุ กาบเชงิ เน้นเรอื่ งวฒั นธรรมเขมร เป็นต้น
4. อาชีพ เป็นหัวข้อท่ีมีการนาเสนออย่างกว้างขวางท้ังในแง่ของการแสดงวิวัฒนาการของ
อาชพี ในพ้นื ท่ี เชน่ การทาเคร่อื งป้ันดินเผาที่หอ้ งสมุดชุมพวง ผ้ายกดอกทลี่ าพูน ผ้าไหม ผ้าขิต ผ้าแพร
วา ในห้องสมุดเขตอีสาน จนถึงการทาขนมเค้กที่ขึ้นชื่อของจังหวัดตรัง การประกาศเกียรติคุณครู
ชาวบ้าน ที่มีความรู้ และประสบการณ์ท่ีมีคุณค่าแก่การสนับสนุนให้ถ่ายทอดไปสู่ประชาชน การ
ปรบั ปรุงอาชีพ ในพนื้ ท่ีและการนาเสนอทางเลือกใหม่ตลอดจนขน้ั ตอนในการประกอบอาชพี
5. การส่งเสริมคุณภาพชีวิต ห้องสมุดหลายแห่งได้รับความร่วมมือในการจัดนิทรรศการ
เก่ียวกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิต เช่น นิทรรศการเรื่องคุณค่าทางโภชนาการของพืชผักพื้นเมืองท่ี
หนองบัวลาภู นิทรรศการเรื่องการขาดวิตามินเอ ท่ปี ตั ตานี เร่อื งอุบัติภัยท่ศี ีขรภมู ิ การพัฒนาชายแดน
ทหี่ อ้ งสมดุ นาดี เปน็ ต้น
6. คนดีมีฝีมือ นอกเหนือการจัดมุมนักเขียนท้องถ่ินในห้องอ่านหนังสือทั่วไปแล้ว ยังมีความ
พยายามที่จะรวบรวมประวัติและผลงานของคนดีมีฝีมือท่ีเกิดในอาเภอ และจังหวัด เพื่อเผยแพร่ใน
หอ้ งนดี้ ว้ ย
7. ภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดแทรกภายในนิทรรศการแต่ละหัวข้อ มีความพยายามท่ีจะเสนอ
ผลงานและประสบการณ์จากผ้รู ู้ในชุมชน เช่น หมอยาสมุนไพร ช่างทอผ้า ช่างตีเหล็ก เกษตรกร ท่ีทา
ไร่ทานาสวนผสม ทง้ั น้ีเพอื่ ให้หอ้ งสมุดได้เปน็ ส่ือกลางระหวา่ งเทคโนโลยจี ากภายนอกและภูมิปัญญาที่
ได้ส่ังสมไว้ในแตล่ ะพ้ืนที่
ห้องเฉลมิ พระเกียรติ
หัวใจของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” คือห้องเฉลิมพระเกียรติซ่ึงมีวัตถุประสงค์ ท่ี
จะนาเสนอพระราชประวัติ พระปรีชาญาณ และพระมหากรุณาธิคุณที่สถาบันพระมหากษัตริย์มีต่อ
ประชาชนชาวไทย ห้องเฉลมิ พระเกยี รติจึงแบง่ เป็น 4 ส่วน กล่าวคอื
1. นิทรรศการเก่ยี วกบั พระราชประวตั ขิ องสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
2. พระราชนพิ นธ์ของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชนพิ นธ์ ของ
พระบรมวงศานวุ งศ์ ในราชวงศ์จกั รี หนังสือเทดิ พระเกยี รติสถาบนั พระมหากษตั ริย์และราชวงศ์จักรรี
3. นทิ รรศการเกีย่ วกับพระอจั ฉริยภาพของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ในด้านต่างๆ เชน่ ศลิ ปกรรม วรรณกรรม การดนตรี
4. พระราชกรณียกจิ และโครงการพระราชดาริในรัชกาลปัจจุบันของสมเด็จพระเทพรตั น ราช
สดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
การนาเสนอนั้น จะแตกต่างในแต่ละห้องสมุด ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย ภาพซึ่งส่วนหนึ่ง
ได้รบั พระมหากรณุ าธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มพระราชทาน และอกี ส่วนหน่ึงไดจ้ ากประชาชนใน
พื้นท่ีท่ีเก็บรักษาไว้ด้วยความเทิดทูนบูชา หลายภาพมีอายุกว่า 20 ปี หนังสือ กฤตภาค สิ่งที่จาลอง
ผลงาน ฝพี ระหัตถ์ และส่ือโสตทัศน์
ห้องสมุดวิทยาลยั และมหาวทิ ยาลัย
ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย เป็นแหล่งเรียนรู้หลักในสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาท หน้าที่
สง่ เสริมการเรียนการสอนตามหลกั สูตรท่ีเปิดในวทิ ยาลัยหรอื มหาวทิ ยาลยั น้นั ๆ เปน็ สาคัญ โดยการจัดรวบรวม
หนังสือและสื่อความรู้อ่ืน ๆ ในสาขาวิชาตามหลักสูตร ส่งเสริมช่วยเหลือการ ค้นคว้าวิจัยของอาจารย์และ
ผู้เรียน ส่งเสริมพัฒนาการทางวิชาการของอาจารย์และผู้เรียนโดย จัดให้มีแหล่งความรู้ และช่วยเหลือจัดทา
บรรณานุกรมและดรรชนีสาหรับค้นหาเรื่องราวที่ต้องการ แนะนาผู้เรียนในการใช้หนังสืออ้างอิงบัตรรายการ
และคมู่ ือสาหรับการค้นเรอื่ ง
ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย เน้นการให้บริการกับนิสิตผู้เรียนของวิทยาลัยนั้น ๆ แต่ก็มีหลาย
แห่งท่ีเปิดให้ประชาชนเข้าไปใช้บริการได้ตามข้อกาหนดของวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยนั้น (ให้ค้นคว้าข้อมูล
เพิ่มเตมิ ในอินเทอร์เน็ต)
ตัวอย่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยเปิด มีช่ือ เรียกว่า
“สานักบรรณสารสนเทศ” มีบริการทั้งในมหาวิทยาลัยส่วนกลาง (กทม.) ระดับภาค ที่ ประชาชนมีโอกาสเข้า
ใช้บริการได้ โดยเสียค่าบารุงรายวัน จังหวัดที่เปิดให้บริการ ได้แก่ นครศรีธรรมราช เพชรบุรี นครสวรรค์
สุโขทัย อุดรธานี อุบลราชธานี ลาปาง จันทบุรี ยะลา และ นครนายก เน้นเพื่อการเรียนของ มสธ. ตาม
หลกั สูตรตา่ ง ๆ และหนงั สอื ทั่วไป เชน่ นวนยิ าย เรอื่ งสัน้ หนังสือเยาวชน
หอสมุดแห่งชาติของไทย สถาปนาข้ึนด้วยพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระมหากษัตราธิราช ในพระ
บรมราชจกั รวี งศ์ โดยการรวบรวมหอพระมณเฑยี รธรรม หอพระสมดุ วชริ ญาณ และหอพุทธสาสน สังคหะ เข้า
ดว้ ยกัน ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี ๕ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้มีพระ
บรมราชโองการประกาศจัดการหอพระสมุดวชิรญาณ ให้เป็นหอสมุดสาหรับ พระนคร เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม
พุทธศักราช 2448 และไดว้ ิวฒั นาการเปน็ สานักหอสมุดแห่งชาตปิ จั จบุ นั
บทบาทและหน้าที่
1. ดาเนินการจัดหา รวบรวม และสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญา วิทยาการ ศิลปกรรม และ
วัฒนธรรมของชาติในรูปของหนังสือตัวเขียน เอกสารโบราณและจารึก หนังสือตัวพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ ส่ือ
โสตทศั นวัสดุ และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ทผ่ี ลติ จากในประเทศและต่างประเทศ
2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ดาเนินงานด้านเทคนิควิชาการบรรณารักษศาสตร์ สารนิเทศศาสตร์ และ
เทคโนโลยีสารนิเทศตามหลักมาตรฐานสากล ตลอดจนให้การฝึกอบรมแก่ บุคลากรของหน่วยงาน และ
สถาบันการศึกษาท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ
3. ให้บริการการอ่าน ศึกษาค้นคว้า และวิจัยแก่ประชาชนเพ่ือให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4. เปน็ ศูนยป์ ระสานงานระบบสารนิเทศทางวชิ าการแหง่ ชาติ
5. เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย และภูมิภาคเอเซียตะวันออก เฉียงใต้ ศูนย์
กาหนดเลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือและวารสาร ศูนย์กาหนดรายละเอียดทาง บรรณานุกรมของหนังสือ
ทจี่ ดั พมิ พ์ในประเทศ และเปน็ ศนู ย์กลางแลกเปลีย่ นและยืมสิ่งพมิ พใ์ นระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ
หอสมดุ แห่งชาตสิ าขาตา่ ง ๆ
หอสมดุ แห่งชาติ นอกจากจะตง้ั อยู่ท่ีทา่ วาสุกรี เทเวศน์ เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ ยังมหี อสมดุ แห่งชาตสิ าขา
ในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ อีก 17 แห่ง ดงั นี้
ภาคกลาง
หอสมุดแหง่ ชาติเขตลาดกระบงั เฉลมิ พระเกียรติ
280/8 หมู่ 2 ถนนหลวงพรตพิทยพยัต เขตลาดกระบงั กรุงเทพฯ 10520
โทรศัพท์ 0-2739 - 2297 - 8 โทรสาร 0 - 2739 - 2297 - 8
ตอ่ 206 เวลาเปิด - ปดิ ทาการ/บรกิ าร : 08.30 - 16.30 น.
วันจนั ทร์ - วันศกุ ร์ หยุดวนั เสาร์ - วนั อาทติ ย์ และวันนักขตั ฤกษ์
หอสมุดแห่งชาตอิ ินทรบ์ รุ ี สิงหบ์ รุ ี
109 หมู่ 1 ตาบลอินทร์บุรี อาเภอินทร์บรุ ี จงั หวัดสงิ ห์บุรี 16110
โทรศัพท์ 036 - 581 - 520
เวลาเปิด - ปดิ ทาการ/ บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วันอังคาร - วันเสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ – และวนั นักขตั ฤกษ์
หอสมดุ แหง่ ชาติรัชมงั คลาภิเษก กาญจนบรุ ี
ถนนแสงชโู ต ตาบลบา้ นเหนอื อาเภอเมอื ง จังหวดั กาญจนบรุ ี 71000
โทรศพั ท์ 034 - 513 924 - 6, 516 - 755 โทรสาร 034 - 513 -924
เวลาเปดิ - ปิดทาการ / บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น.
วนั อังคาร - วันเสาร์ หยุดวันอาทติ ย์ - วนั จันทรแ์ ละวนั นกั ขตั ฤกษ์
หอสมดุ แห่งชาตจิ งั หวัดสุพรรณบรุ ี เฉลิมพระเกยี รติ
ถนนสพุ รรณบรุ ี-ชัยนาท ตาบลสนามชัย อาเภอเมือง จังหวดั สุพรรณบรุ ี 72000
โทรศพั ท์ 035 - 535 - 343, 535 - 244 โทรสาร 035 - 535 -343
เวลาเปิด-ปดิ ทาการ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วันอังคาร – วันพุธและวนั นกั ขัตฤกษ
ภาคเหนือ
หอสมดุ แห่งชาติรชั มงั คลาภเิ ษก เชยี งใหม่
ถนนบญุ เรืองฤทธ์ิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์ 053 - 278 - 3223, 053 - 808 - 550 โทรสาร 053 - 808 - 550
เวลาเปิด-ปิดทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วันองั คาร - วันเสาร์
หยุดวนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ และวันนักขตั ฤกษ์
หอสมดุ แหง่ ชาติลาพนู
ถนนอินทรยงยศ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จงั หวดั ลาพูน 5100
โทรศัพท์ 053 - 511 - 911 โทรสาร 053 - 560 - 801
เวลาเปิด-ปิดทาการ/บรกิ าร : 09.11 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จันทร์ และวนั นักขตั ฤกษ์
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
หอสมดุ แหง่ ชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.9 นครราชสมี า
ถนนราชดาเนิน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา 30000
โทรศพั ท์ 044 - 256 - 029 - 30 โทรสาร 044 - 256 - 030
เวลาเปิด-ปดิ ทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วันจันทร์ – และวนั นักขตั ฤกษ์
หอสมุดแหง่ ชาตปิ ระโคนชยั บรุ ีรมั ย์
ถนนโชคชยั - เดชอุดม ตาบลประโคนชัย อาเภอประโคนชยั จังหวดั บรุ ีรมั ย์ 31140
โทรศัพท์ 044 - 671 - 239 โทรสาร 044 - 671 - 239
เวลาเปิด-ปิดทาการ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วันอังคาร-วันเสาร์
หยุดวนั อาทติ ย์ - วนั จนั ทร์ – และวันนกั ขัตฤกษ์
หอสมุดแห่งชาติเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ถนนอภบิ าลบัญชา อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครพนม 48000
โทรศัพท์ 144 - 512 - 200, 042 - 512 - 204 โทรสาร 042 - 516 - 246
เวลาเปดิ -ปดิ ทาการ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วันองั คาร-วนั เสาร์
หยดุ วนั อาทิตย์ - วนั จนั ทร์ – และวนั นกั ขตั ฤกษ์
ภาคตะวันออก
หอสมดุ แห่งชาตชิ ลบุรี
ถนนวชริ ปราการ ตาบลบางปลาสร้อย อาเภอเมือง จงั หวดั ชลบรุ ี 20000
โทรศพั ท์ 038 - 286 - 339 โทรสาร 038 - 273 - 231
เวลาเปิด-ปดิ ทาการ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วันเสาร์
หยุดวันอาทิตย์ - วันจนั ทร์ – และวนั นกั ขัตฤกษ์
หอสมดุ แหง่ ชาติรัชมังคลาภเิ ษก จันทบรุ ี
ถนนเทศบาล 3 อาเภอเมือง จังหวดั จนั ทบุรี 22000
โทรศัพท์ 039 - 321 - 333, 039 - 331 - 211, 322 - 168
เวลาเปิด-ปดิ ทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วันอังคาร-วันเสาร์
หยดุ วันอาทติ ย์ - วนั จันทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ
ภาคใต้
หอสมดุ แห่งชาตินครศรธี รรมราช
ถนนราชดาเนิน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช 80000
โทรศพั ท์ 075 - 324 - 137, 075 - 324 - 138 โทรสาร 075 - 341 - 056
เวลาเปดิ -ปิดทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วันองั คาร - วันเสาร์
หยุดวนั อาทติ ย์ - วนั จันทร์ และวนั นกั ขตั ฤกษ์
หอสมดุ แหง่ ชาติกาญจนาภเิ ษก สงขลา
ซอยบ้านศรัทธา ถนนนา้ กระจาย-อ่างทอง ตาบลพะวง อาเภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา 90100
โทรศัพท์ 074 - 333 - 063 -5 โทรสาร 074 - 333 - 065
เวลาเปดิ -ปดิ ทาการ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วันองั คาร - วนั เสาร์
หยุดวันอาทติ ย์ - วนั จนั ทร์ และวนั นักขตั ฤกษ์
หอสมุดแหง่ ชาติเฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิต์ พระบรมราชินีนาถ สงขลา
สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ถนนกาญจนวานิช ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
90110 โทรศัพท์ 074 - 212 - 211, 212 - 250 โทรสาร 074 - 212 - 211, 212 - 250 ตอ่ 201
เวลาเปิด-ปิดทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วันอังคาร - วันเสาร์
หยุดวันอาทิตย์ - วนั จันทร์ และวันนกั ขตั ฤกษ์
หอสมดุ แหง่ ชาติ วดั ดอนรกั สงขลา
ถนนไทรบุรี ตาบลยอ่ บาง อาเภอเมือง จังหวดั สงขลา 90000
โทรศพั ท์ 074 - 313 - 730 โทรสาร 074 - 212 - 211
เวลาเปิด-ปิดทาการ/บริการ : 09.00 - 17.00 น. วนั อังคาร-วนั เสาร์
หยุดวนั อาทติ ย์ - วันจันทร์ และวนั นักขัตฤกษ์
หอสมดุ แหง่ ชาติเฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ตรงั
วัดมัชฌิมภูมิ ถนนหยองหวน ตาบลทับเทย่ี ง อาเภอเมอื ง จงั หวัดตรงั 92000
โทรศัพท์ 075 - 215 - 450 โทรสาร 075 - 215 - 450
เวลาเปิด-ปิดทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วันอังคาร - วนั เสาร์
หยุดวันอาทติ ย์ - วันจันทร์ และวนั นักขัตฤกษ์
หอสมุดแห่งชาตวิ ดั เจรยิ สมณกจิ ภเู ก็ต
วัดหลงั ศาล ตาบลเขาโต๊ะแซะ อาเภอเมอื ง จงั หวัดภูเกต็ 83000
โทรศพั ท์ 076 - 217 -780 - 1 โทรสาร 076 - 217 - 781
เปดิ เปดิ -ปดิ ทาการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั อังคาร - วนั เสาร์
หยุดวนั อาทติ ย์ - วนั จันทร์ และวนั นักขตั ฤกษ์
ห้องสมดุ เฉพาะ
ห้องสมุดเฉพาะคือห้องสมุดซ่ึงรวบรวมหนังสือในสาขาวชิ าบางสาขาโดยเฉพาะ มักเป็น ส่วน
หนึ่งของหน่วยราชการ องค์การ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร ทาหน้าท่ีจัดหาหนังสือและให้ บริการ
ความรู้ ข้อมูล และข่าวสารเฉพาะเร่ืองที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานของหน่วยงานนั้น ๆ ห้องสมุด
เฉพาะจะเนน้ การรวบรวมรายงานการค้นควา้ วจิ ัย วารสารทางวิชาการ และเอกสารเฉพาะเรอ่ื งที่ผลิต
เพ่ือการใช้ในกลุ่มวิชาการบริการของห้องสมุดเฉพาะจะเน้นการช่วยค้นเร่ืองราว ตอบคาถาม แปล
บทความทางวิชาการ จัดทาสาเนาเอกสาร ค้นหาเอกสาร จัดทาบรรณานุกรมและดรรชนีค้นเรื่อง ให้
ตามต้องการ จัดพิมพ์ข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์เฉพาะเร่ืองส่งให้ถึงผู้ใช้ จัดส่งเอกสารและเรื่องย่อ ของ
เอกสารเฉพาะเรื่องให้ถงึ ผู้ใช้ตามความสนใจเปน็ รายบุคคล
ในปัจจุบันนี้เน่ืองจากการผลิตหนังสือและส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ โดยเฉพาะวารสารทางวิชาการ
รายงานการวจิ ยั และรายงานการประชุมทางวชิ าการมปี ริมาณเพ่ิมขึ้นมากมาย แตล่ ะสาขาวชิ ามีสาขา
แยกย่อยเป็นรายละเอียดลึกซึ้ง จึงยากท่ีห้องสมุดแห่งใดแห่งหน่ึงจะรวบรวมเอกสารเหล่านี้ได้หมด
ทุกอย่างและให้บริการได้ทุกอย่างครบถ้วน จึงเกิดมีหน่วยงานดาเนินการเฉพาะเรื่อง เช่น รวบรวม
หนังสือและส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ เฉพาะสาขาวิชาย่อย วิเคราะห์เนื้อหา จัดทาเรื่องย่อ และดรรชนีค้นเรื่อง
นน้ั ๆ แลว้ พิมพอ์ อกเผยแพรใ่ ห้ถึงตวั ผตู้ อ้ งการขอ้ มูล ตลอดจนเอกสารในเรอื่ งน้นั
ตัวอยา่ งห้องสมดุ เฉพาะ
ห้องสมุดมารวย เติมความรู้ เตมิ ความสนุก ทกุ อรรถรสแห่งการเรยี นรู้
ความเป็นมา
จัดต้งั ข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2518 ในนาม “หอ้ งสมุดตลาดหลักทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย” เพือ่ เป็น
แหลง่ สารสนเทศดา้ นตลาดเงิน ตลาดทนุ และสาขาวิชาทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ก่อนจะปรับปรุงรูปลักษณใ์ หม่
และเปลย่ี นชอ่ื เป็น “หอ้ งสมดุ มารวย” ในปี พ.ศ. 2547 เพื่อเปน็ เกียรติแก่ ดร.มารวย ผดุงสทิ ธ์ิ
กรรมการ ผู้จัดการตลาดทรพั ยท์ รพั ยฯ์ คนที่ 5
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้บรกิ ารเผยแพรข่ อ้ มูล ความรู้ดา้ นการเงนิ การออม และการลงทนุ
2. เพื่อใหป้ ระชาชนผสู้ นใจมชี ่องทางในการเข้าถงึ แหล่งความรู้ผา่ นศูนย์การคา้ ชนั้ นาได้
สะดวกย่งิ ขนึ้
3. เพอ่ื ขยายฐานและสร้างผู้ลงทนุ หนา้ ใหม่
การดาเนนิ การ
หอ้ งสมดุ มารวยไดจ้ ดั มุมบริการสาหรับกลุม่ เป้าหมายในการใช้บรกิ าร ดังน้ี
1. Library Zone
รวบรวมข้อมูลส่ือสิ่งพิมพ์ท่ีผลิตโดย ตลท. บจ. บลจ. กลต. สมาคมฯ ท่ีเก่ียวข้อง เผยแพร่
ความรู้ด้านการวางแผนทางการเงิน การออม และการลงุทน ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ท่ี เก่ียวข้องให้
เป็นทีร่ จู้ ักอยา่ งกวา้ งขวาง ประกอบด้วยข้อมลู เก่ียวกับ
- SET Corner
- Magazine & Nespaper
- Listed Company : Annual Report
- Personal Finance
- Business & Management
- Literature & Best Seller : หนังสอื จาก MOU ระหวา่ งตลาดหลักทรพั ยฯ์ และสานกั พมิ พช์ นั้ น้า
- อื่น ๆ ประกอบดว้ ยหนงั สือทเี่ กี่ยวข้องกบั วัฒนธรรมการออม การลงทนุ และจริยธรรม เปน็ ต้น
2. E - Learing & Internet Zone
จัดคอมพิวเตอร์นาเสนอข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตในการติดตามหุ้นรวมท้ังส่งคาส่ังซ้ือ-ขาย ได้อย่าง
สะดวกรวดเร็ว เพื่อดึงดูดลูกค้าท่ีเป็นนักลงทุนน่ังผ่อนคลายโดยที่ไม่พลาดความเคล่ือนไหว สาคัญท่ีเก่ียวกับ
การซื้อ-ขาย หลักทรัพย์ ตลอดจนความรู้ในรูปแบบ e-learing, e-book รวมท้ังการ สืบค้นข้อมูลจาก
อนิ เทอร์เนต็
3. Coffee Zone
เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั Lifestyle ของผู้ใช้บรกิ าร โดยจาหนา่ ยเครื่องดื่ม ชา กาแฟ จาก Settrade.com
4. Activity Zone
เป็นการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ อาทิ การเชิญผู้ท่ีมีช่ือเสียงมา สัมภาษณ์ในเรื่อง
น่าสนใจและเช่ือมโยงเนื้อหาเกี่ยวข้องกับวิธีการบริหารเงิน และการลงทุน หรือเป็น กิจกรรมและนาหนังสือ
ขายดี หรอื การจัดเสวนาให้ความรูด้ ้านการออม การเงนิ การลงทนุ จากตัวแทน บล. บลจ. เป็นต้น
วดั โบสถแ์ ละมัสยิด
วัด
วัดเป็นศานสถานท่เี ป็นรากฐานของวฒั นธรรมในด้านต่าง ๆ และเป็นส่วนประกอบสาคญั ของท้องถ่นิ
และเป็นศูนย์กลางในการทากิจกรรมการศึกษาท่ีหลากหลายของชุมชนในท้องถิ่น วัดในประเทศไทยสามารถ
แบ่งได้ 2 ประเภท คอื
ก. พระอารามหลวง หมายถึงวัดท่ีพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้างหรือบูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ หรือเป็นวัด
ท่ีเจ้านายหรือขุนนางสรา้ งแล้วถวายเป็นวัดหลวงพระอารามหลวง แบ่งออกเป็น 3 ช้ัน ได้แก่ พระอารามหลวง
ชั้นเอก ชั้นโท และชนั้ ตรี
ข. พระอารามราษฎร์ เป็นวัดท่ีผู้สร้างไม่ได้ยกถวายเป็นวัดหลวง ซึ่งมีจานวนมาก กระจายอยู่ตาม
ทอ้ งถน่ิ ตา่ ง ๆ ทว่ั ไป
อนึ่ง นอกเหนือจากการแบ่งวัดออกเป็น 2 ประเภทแล้ว ยังมีวัดประจารัชกาลซ่ึงตาม โบราณราช
ประเพณี จะต้องมกี ารแตง่ ตัง้ วัดประจารัชกาลของพระเจ้าแผน่ ดินแตล่ ะพระองค์
ความสาคัญของวัด วัดมีความสาคัญนานัปการต่อสังคม เป็นแหล่งความรู้ของคนในชุมชน ท่ีมีค่ามาก
ในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการอบรมส่ังสอนโดยตรงแก่ประชาชนท่ัวไป และการอบรม สั่งสอนโดยเฉพาะแก่
กุลบุตรเพ่ือให้เตรียมตัวออกไปเป็นผู้นาครอบครัวและท้องถิ่นที่ดีในอนาคต หรือ การให้การศึกษาในด้าน
ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมต่างๆ นอกจากน้ีบริการ ต่าง ๆ ที่วัดให้แก่คนในท้องถิ่นใน
รูปของกจิ กรรมทางศาสนาตา่ ง ๆ นัน้ นบั เป็นการใหก้ ารศกึ ษาทาง อ้อม ประชาชนสามารถศกึ ษาเรียนร้ไู ด้ด้วย
ตนเอง จากการสังเกตพดู คุย ปรกึ ษาหารือ หรือเข้าร่วม กจิ กรรมตา่ ง ๆ ที่วัดจดั ใหบ้ รกิ าร ในสว่ นท่เี ปน็ สถานท่ี
พกั ผอ่ นหย่อนใจนั้น เมื่อประชาชนเข้าไปในวัด เพอื่ พกั ผ่อนหย่อนใจ กจ็ ะเกิดการเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ ไปด้วยในตัว
เช่น เรียนรู้วิธีปฏิบัติให้จิตใจผ่องใส สงบเยือกเย็น ตามหลักธรรมคาส่ังสอนของพุทธศาสนา ซึ่งพระจะเป็นผู้
ถ่ายทอดความรู้และวิธีปฏิบัติ ให้ นอกจากน้ีหากวัดบางวัดจัดบริเวณสถานที่ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เช่น ปลูกต้นไม้นานา พรรณ และเขียนชื่อต้นไม้ติดไว้ ผู้ท่ีเข้าวัดก็มีโอกาสจะศึกษาหาความรู้ในเร่ืองชนิดของ
พรรณไม้ เหลา่ น้นั ได้ดว้ ยตัวเอง
วดั กบั การจัดกจิ กรรมการศึกษา กจิ กรรมการศกึ ษาท่พี บในวดั ไดแ้ ก่
ก. ศึกษาและฝึกอบรมศีลธรรม สั่งสอนวิชาการต่าง ๆ ทั้งโดยตรง คือแก่ผู้มาบวชตาม
ประเพณี และแก่เด็กท่ีมาอยู่วัด และโดยอ้อมคือแก่ผู้มาทากจิ กรรมต่าง ๆ ในวัด หรือมาร่วมกจิ กรรม
ในวดั ทงั้ วิชาหนงั สือและวิชาช่างตา่ ง ๆ
ข. ก่อกาเนิดและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สืบทอดวัฒนธรรม รวบรวมศิลปกรรมเสมือน เป็น
พิพิธภัณฑ์
ค. สงเคราะห์ช่วยให้บตุ รหลานชาวบา้ นที่ยากจนไดม้ าอาศัยเลย้ี งชีพพร้อมไปกับได้ศึกษา เลา่
เรียนรับเลี้ยงและฝึกอบรมเดก็ ทีม่ ีปญั หา เด็กอนาถา ตลอดจนผ้ใู หญซ่ งึ่ ได้ทพ่ี กั พิง
ง. ให้คาปรึกษาแนะนาเกี่ยวกับปัญหาชีวิต ความทุกข์ ความเดือดร้อน ความรู้สึกคับแค้น
ข้องใจตา่ ง ๆ และปรกึ ษาหารือใหค้ าแนะนาส่งั สอนเกีย่ วกับวิธแี กป้ ัญหา
จ. ไกล่เกล่ียระงับข้อพิพาท โดยอาศัยความเคารพนับถือ เช่ือฟัง พระสงฆ์ทาหน้าที่ประดุจ
ศาลตัดสินความท่มี ่งุ ในทางสมคั รสมานสามัคคี เปน็ สาคญั
ฉ. ให้ความบันเทิงจดั งานเทศกาล งานสนกุ สนานร่าเริง และมหรสพต่าง ๆ ของชุมชน รวมท้ัง
เป็นท่ีเล่นสนุกสนานของเด็ก ๆ ช. เป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจที่ให้ความร่มร่ืนสดช่ืนของธรรมชาติ
พรอ้ มไปกบั ให้ บรรยากาศที่สงบเยือกเย็นทางจิตใจของพระศาสนา
ซ. เป็นสถานที่พบปะประดุจสโมสรท่ีชาวบ้านนัดพบ เป็นท่ีชุมนุมสังสรรค์ สนทนา
ปรึกษาหารอื กนั ในกิจกรรมทีเ่ หมาะสมและผอ่ นคลาย
ฌ. เป็นสถานที่แจ้งข่าว แพร่ข่าว และส่ือสัมพันธ์เก่ียวกับกิจการของท้องถิ่น ข่าวภายใน
ทอ้ งถ่นิ ข่าวจากภายนอกท้องถนิ่ เช่นขา่ วเกีย่ วกับเหตุการณ์ของประเทศชาติบา้ นเมือง อาศัยวัด เป็น
ศูนย์เผยแพร่ที่สาคัญท่ีสุด และวัดหรือศาลาวัดเป็นท่ีสาหรับกานันหรือผู้ใหญ่บ้าน ตลอดจน
นายอาเภอเรียกชาวบ้าน หรือลูกบ้านมาประชุม หรือถือโอกาสท่ีมีชุมชนในงานวัด แจ้งข่าวคราว
กจิ กรรมตา่ ง ๆ
ญ. เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของชุมชน ตลอดจนดาเนนิ การบางอย่างของบา้ นเมอื ง เช่น เป็นที่
กลา่ วปราศรัยหาเสียงของนกั การเมอื ง ท่จี ดั ลงคะแนนเสยี งเลือกตง้ั
ฎ. เปน็ สถานพยาบาล และเปน็ ที่ทรี่ วบรวมสบื ทอดตารายาแผนโบราณ ยากลางบ้าน ทรี่ กั ษา
ผู้ปว่ ยเจบ็ ตามภูมิรู้ซง่ึ ถ่ายทอดสบื ๆ มา
ฏ. ให้บริการที่พักคนเดนิ ทาง ทาหน้าท่ีดุจโรงแรม สาหรับผู้เดินทางไกล โดยเฉพาะจาก ต่าง
ถ่นิ และไมม่ ีญาตเิ พ่อื นพ้อง
ฐ. เป็นคลังพัสดุ สาหรับเก็บอุปกรณ์และเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ซึ่งชาวบ้านจะได้ใช้ร่วมกันเมื่อ มี
งานท่วี ดั หรือยมื ไปใช้เมอื่ ตนมงี าน
ฑ. เป็นสถานท่ีประกอบพิธีกรรม หรือให้บริการด้านพิธีกรรม ซ่ึงผูกพันกับชวี ติ ของทกุ คน ใน
ระยะเวลาและเหตุการณ์ต่าง ๆ ของชีวิตตามวัฒนธรรมประเพณีชุมชนไทยแต่ละชุมชน เช่น แต่ละ
หมู่บ้าน มีวัดประจาชุมชนของตน และต่างก็ยึดถือว่าวัดน้ีเป็นวัดของตน เป็นสมบัติร่วมกันของ คน
ทัง้ หมดในชมุ ชน วัดแต่ละวัดจึงเป็นเคร่ืองผนึกชุมชนใหร้ วมเปน็ หนว่ ยหนึ่ง ๆ ของสังคม วดั ท่ี สาคัญท่ี
ปูชนียสถานทป่ี ระชาชนเคารพอยา่ งกว้างขวาง ก็เปน็ เครือ่ งรวมใจประชานทง้ั เมือง ทง้ั จังหวัด ทง้ั ภาค
หรือท้ังประเทศ พระสงฆ์ซึ่งเป็นท่ีเคารพนับถือ ก็ได้กลายเป็นส่วนประกอบสาคัญในระบบ การรวม
พลังและควบคมุ ทางสงั คม
โบสถ์ ครสิ ตศ์ าสนา
ในทางครสิ ต์ศาสนา โบสถ์ หมายถึง อาคารหรือสถานทที่ ่ีผนู้ บั ถอื ศาสนาครสิ ตม์ ารวมกัน เพ่ือ
ประกอบพิธีหรือทาศาสนกิจรว่ มกัน เป็นเอกลักษณ์ประการหน่ึงของวิถีชีวิตของคริสตชน และ คริสต
ชนสานึกตนเองว่าเป็นประชากรของพระเจ้า และพวกเขาก็มารวมตัวกันถวายนมัสการในฐานะ ที่เป็น
ประชากร
ส่วนประกอบของโบสถ์
คาว่า “โบสถ์” (Church) มาจากภาษากรีกว่า “ekklesia” ตรงกับคาภาษาลาตินว่า “ecclesai”
ความหมายตามอักษร “ekklesia” คอื ผูไ้ ดร้ ับเรยี ก (จากพระจิตเจา้ ) ใหเ้ รารวมตัวกนั หมายถงึ ตวั อาคารโบสถ์
ซึ่งเป็นสถานท่ีให้การต้อนรับผู้ที่มาชุมชนกันน้ี ความหมายของคาว่า “โบสถ์” มีพัฒนาการอันยาวนาน ตลอด
ประวตั ศิ าสตร์ของพระศาสนจักร โบสถ์มสี ่วนประกอบคร่าว ๆ ดงั น้ี
ลานหน้าโบสถ์ (Church Courtyard)
ลานหน้าโบสถ์ถือว่ามีความสาคัญมากท่จี ะต้องมเี ผอื่ ไว้ เพราะลานนจี้ ะแสดงออกซงึ่ คุณคา่ ของการให้
การต้อนรับเป็นด่านแรก ดังนั้น อาจออกแบบเป็นรูปลานหน้าโบสถ์ที่มีเสาเรียงรายรองรับ ซุ้มโค้งอยู่โดยรอบ
ๆ ด้าน หรือรูปแบบอยา่ งอ่ืนท่จี ะส่งผลคล้ายคลงึ กนั บางครง้ั กใ็ ชล้ านดงั กล่าวใน การประกอบพิธดี ว้ ย หรอื บาง
ทีก็ใช้เป็นทางผ่านเข้า เป็น “ตัวเชื่อมโยง” ระหว่าง “ภายนอกโบสถ์” และ “ภายในโบสถ์” โดยจะต้องไม่ให้
สง่ ผลกระทบทก่ี ลายเป็นการปิดกั้น แตม่ ีวัตถุประสงคเ์ พื่อการ ปรับสภาพจิตใจจากความสบั สนว่นุ วายของชีวิต
ภายนอก เตรยี มจติ ใจเขา้ สูค่ วามสงบภายในโบสถ์
ระเบยี งทางเข้าส่อู าคารโบสถ์ (Atrium หรือ Nathex) และประตูโบสถ์
การสร้างโบสถ์ในคติเดิมเพ่ือจะผ่านเข้าสู่โถงภายในอาคารโบสถ์ จะต้องผ่านระเบียงทาง เข้าสู่อาคาร
โบสถ์ที่เรียกกันว่า Atrium หรือ Nathex ก่อน และบริเวณน้ันจะมีประตอู ยู่ดว้ ย ระเบียง น้ีคือบริเวณที่ให้การ
ต้อนรับบรรดาสัตบุรุษผู้มาร่วมพิธีซ่ึงเปรียบเสมือนพระศาสนจักรเหมือน “มารดา ผู้ให้การต้อนรับลูก ๆ ของ
พวกเธอ” และประตูทางเข้าอาคารโบสถ์ก็เปรียบเสมือน “พระคริสตเจ้า ผู้ทรงเป็นประตูของบรรดาแกะ
ทั้งหลาย” (เทียบ ยน : 10:7) ดังน้ัน หากจะมีภาพตกแตง่ ทป่ี ระตูกลาง ก็ให้คานึงถึงความหมายดังกล่าวขนาด
ของประตูและทางเข้าน้ี นอกจากจะต้องคานึงถึงสัดส่วนให้ เหมาะสมกับขนาดความจุของโถง ภายในโบสถ์
แล้ว ยังจะต้องคานงึ ถึงความจาเปน็ ของขบวนแห่ อยา่ งสง่าทีจ่ ะต้องผ่านเข้า-ออกด้วย
หอระฆัง (Bell Tower) และระฆงั โบสถ์
ในการออกแบบก่อสร้างโบสถ์ ควรจะคานึงถึงบริเวณการก่อสร้างหอระฆัง และกาหนดให้ มีการใช้
ระฆัง เพื่อประโยชน์ใชส้ อยแบบดั้งเดิม นั่นคือ การเรียกสัตบุรษุ ให้มารว่ มชุมนุมกันในวนั พระเจ้าหรือเป็นการ
แสดงออกถึงวันฉลองและสมโภช รวมท้ังเปน็ การสอ่ื สารให้ทราบกันด้วยสญั ญาณ การเคาะระฆัง เชน่ ระฆังเข้า
โบสถ์วันธรรมดา ระฆังพรหมถือสาร ระฆังวันสมโภช ระฆังผู้ตาย ฯลฯ ควรละเว้นการใช้เสียงระฆังจากเครอ่ื ง
เสยี งและลาโพง
รปู พระ
สอดคล้องกับธรรมเนียมประเพณีด้ังเดิมของพระศาสนจักร พระรูปของคริสตเจ้า, พระแม่ มารี และ
นักบญุ ไดร้ บั การเคารพในโบสถ์ตา่ ง ๆ แตร่ ปู พระเหลา่ น้จี ะตอ้ งจดั วางในลักษณะทจ่ี ะไม่ทา ให้สตั บุรษุ วอกแวก
ไปจากการประกอบพิธีที่กาลังดาเนินอยู่และไม่ควรมีจานวนมาก และจะต้องไม่มี รูปนักบุญองค์เดียวกัน
มากกว่าหนึ่งรูป รวมท้ังจัดขนาดให้เหมาะสมด้วย โดยปกติแล้วควรจะคานึง ถึงความศรัทธาของหมู่คณะ
ท้งั หมดในการตกแต่งและการจัดสรา้ งโบสถ์ (I.G.278)
อ่างน้าเสก (Holy water Font)
อ่างน้าเสกเตือนให้ระลึกถึงอ่างล้างบาป และน้าเสกท่ีสัตบุรุษใช้ทาเคร่ืองหมายกางเขนบน ตนเองน้ัน
เป็นการเตือนใจให้ระลึกถึงศีลล้างบาปที่เราได้รับ ด้วยเหตุน้ีเองท่ีน้าเสกจึงต้ังไว้ตรงทาง เข้าโบสถ์ นอกจากนี้
ยงั กากับให้ใช้วัสดุเดียวกนั มรี ปู แบบและรูปทรงสอดคลอ้ งกบั อ่างลา้ งบาปด้วย
รปู สบิ ส่ภี าค (Stations of the Cross)
ไม่ว่ารูปสิบสี่ภาคจะประกอบด้วยพระรูปพร้อมท้ังไม้กางเขน หรือมีเฉพาะไม้กางเขนเพียง
อย่างเดียว ก็ให้ประดิษฐานไว้ในโบสถ์ หรือ ณ สถานที่เหมาะสมสาหรับติดตงั้ รปู สิบส่ีภาค เพ่ือ ความ
สะดวกของสัตบรุ ษุ (หนงั สือเสก และอวยพร บทท่ี 34 ขอ้ 1098)
เครือ่ งเรอื นศกั ด์ิสทิ ธ์ิ (Sacred Futnishings)
การประกอบพิธีกรรมของคริสตชนต้องใช้อุปกรณ์หลายอย่างทั้งท่ีเป็นโครงสร้างถาวรและที่
เป็นแบบเคล่ือนย้ายได้ มีทั้งเป็นเครื่องเรือนหรือภาชนะ เราใช้ช่ือรวมเรียกอุปกรณ์เหล่าน้ีว่า “เครื่อง
เรอื นศกั ดสิ์ ทิ ธิ์” หรือ “เคร่ืองเรือนพิธีกรรม” ซงึ่ หมายถึงอุปกรณเ์ หล่านัน้ ซึ่งมีไว้ใช้สอยในระหวา่ งการ
ประกอบพธิ กี าร ปฏริ ูปพิธีกรรมสงั คายนากไ็ ด้กลา่ วถงึ เรือ่ งนี้ดว้ ย “พระศาสนจักรเอาใจใส่กวดขนั เป็น
พิเศษ ใหเ้ คร่ืองเรือนทีใ่ ช้ในศาสนาสวยงามสมท่จี ะใหค้ ารวกิจมคี วามสง่างาม พระศาสนจกั รจงึ ยอมให้
มีการเปลย่ี นแปลงรูปทรงการตกแตง่ ท่เี กดิ จากความก้าวหน้าทางวชิ าการตามยุคสมยั (S.C.122)
คริสตศาสนาในประเทศไทย มีหลายนิกาย แต่ละนิกายจะมีจารตี และการใชค้ า สัญลักษณ์ ท่ี
แตกต่างกนั นกิ ายทีม่ ีประชาชนร้จู ักและนบั ถือกันมากมีอยู่ 2 นกิ าย คือนิกายโรมันคอทอลิก (ครสิ ตัง)
และนิกายโปรเตสแตนต์ (คริสเตียน) แต่ละนิกายจะมีวิธีเรียกท่ีแตกต่างกัน เช่นนิกาย โรมันคาทอลิก
จะเรียกโบสถ์ของตนเองว่า โบสถ์พระแม่มารี โบสถ์ในนิกายน้ีจะแตกต่างด้าน สถาปัตยกรรมยุโรป
ประดับประดาด้วยรปู ป้ันต่าง ๆ แต่นิกายโปรแตสแตนส์และเรียกโบถส์ของ ตนเองว่า คริสตจักร เช่น
คริสตจักรพระสัญญา อาคารของโบสถ์จะเน้นความเรียบง่ายเหมือนอาคาร ท่ัวไป ไม่เน้นรูปเคารพ
หรือรูปป้ัน อาจจะมีไม้กางเขนเล็กพอเป็นเคร่ืองหมายแสดงถึงอาคารทางด้าน ศาสนกิจเท่าน้ัน อ้าง
จาก http: www.panyathai.or.th
มัสยิด
มัสยิด หรือสุเหร่า หรือสะกดว่า มัสญฺด เป็นศาสนสถานของชาวมุสลิม คาว่า มัสญิด เป็นคา
ภาษาอาหรบั แปลว่า สถานท่ีกราบ ชาวมุสลิมในแตล่ ะชุมชนจะสร้างมสั ยดิ ขน้ึ เพ่ือเปน็ สถานท่ปี ฏิบัติ
พิธีกรรมทางศาสนา อันได้แก่ การนมาซ และการวิงวอน การปลีกตนเพ่ือบาเพ็ญตบะ หาความ
สันโดษ (ออิ ตฺ กิ าฟ และคอลวะห)ฺ นอกจากนี้มสั ยดิ ยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกรุ อาน และ ศาสนา สถานที่
ชุมนุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ทาบุญเล้ียง สถานท่ีทาพิธีสมรส และสถานท่ีพกั พงิ ของ ผู้สัญจรผ้ไู ร้
ที่พานัก โดยที่จะต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่นการไม่คละเคล้าระหว่างเพศชายและ หญิง การ
กระทาทขี่ ัดกับบทบัญญัตหิ ้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ท้งั มวล
คาวา่ มัสยิด หรือมัสญิด เป็นคาทยี่ มื มาจากภาษาอาหรับ แปลว่า สถานท่ีกราบ
คาวา่ สุเหร่า เปน็ คาที่ยมื มาจากภาษามลายู Surau
ศาสนสถานของศาสนาอิสลามท่ีสาคัญที่สุด คือ อัลมัสญิด อัลฮะรอม (มัสญิดต้องห้าม) ใน
นครมักกะหฺ อนั เป็นทตี่ ง้ั ของกะอุบะหฺ มะกอมอิบรอฮมี (รอยเท้าของศาสดาอบิ รอฮีม) ขา้ ง ๆ นนั้ เป็น
เนินเขา อัศศอฟา และอัลมัรวะหฺ อัลมัสญิด อัลฮะรอม เป็นสถานที่นมาซประจาวัน และสถานท่ี
บาเพ็ญฮัจน์ เพราะยามที่มุสลิม ประกอบพิธีฮัจญ์ต้องฏอวาฟรอบกะอฺบะหฺ นมาซหลังมะกอมอิบรอ
ฮมี และเดิน (สะอฺยุ) ระหว่าง อศั ศอฟา และอัลมัรวะหฺ
รองลงมาคือ อัลมัสญิด อัลนะบะวีย์ คือมัสญิดของศาสนทูตมุฮัมมัด ซ่ึงมีร่างของท่าน ฝังอยู่
อัลมัสญิด อัลอักศอ เป็นมัสญิดที่มีความสาคัญทางประวตั ิศาสตรอ์ ิสลาม เพราะศาสนทูต มุฮัมมัด ได้
ขนึ้ สู่ฟากฟา้ (มอิ รฺ อจญ์) จากทน่ี ่นั htt://www.wikipedia.org/wike
พพิ ิธภณั ฑ์
พิพิธภัณฑ์ เปน็ ที่รวบรวม รักษา คน้ คว้า วจิ ยั และจัดแสดงหลักฐานวัตถสุ ิ่งของที่ สัมพนั ธ์กบั
มนุษย์และสิ่งแวดล้อม เป็นบริการการศึกษาท่ีให้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลินแก่ ประชาชนทั่วไป
เน้นการจัดกิจกรรมการศึกษาที่เอื้อให้ประชาชนสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเอง พิพิธภัณฑ์ มีหลากหลาย
รปู แบบ มกี ารจดั แบ่งประเภทแตกตา่ งกนั ไป ซ่ึงกลา่ วโดยสรปุ แบ่งออกได้ 6 ประเภท ดงั นี้
1. พพิ ิธภณั ฑสถานประเภทท่ัวไป (Encyclopedia Museum) เปน็ สถาบันท่รี วมวิชาการ ทุกสาขาเข้า
ด้วยกัน โดยจัดเป็นแผนก ๆ
2. พพิ ธิ ภัณฑสถานศลิ ปะ (Museum of Arts) เปน็ สถาบันท่จี ดั แสดงงานศลิ ปะทุกแขนง
3. พิพิธภัณฑสถานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Museum of Science and Technology) เป็น
สถาบันท่ีจัดแสดงวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ เช่น เครื่องจักรกล โทรคมนาคม ยานอวกาศ และ
ววิ ฒั นาการเก่ยี วกบั เคร่อื งมอื การเกษตร เปน็ ตน้
4. พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา (Natural Science Museum) เป็นสถาบันที่จัดแสดง เรื่องราว
ของธรรมชาติเก่ียวกับเรื่องของโลก ดิน หิน แร่ สัตว์ พืช รวมทั้งสวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน และ
พิพิธภัณฑส์ ัตว์นา้ และสัตว์บกด้วย
5. พิพิธภัณฑสถานประวัติศาสตร์ (Historical Museum) เป็นสถาบันที่จัดแสดงหลักฐาน ทาง
ประวัติศาสตร์ แสดงถึงชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรมและประเพณี พิพิธภัณฑ์ประเภทนี้อาจแยก เฉพาะเรื่องก็
ได้ เช่นพิพิธภัณฑท์ ี่รวบรวมและจัดแสดงหลักฐานทางประวัตศิ าสตรซ์ ่ึงเก่ียวกับการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม หรือการแสดงบ้านและเมืองประวัติศาสตร์ ท้ังน้ีรวมถึงโบราณสถาน อนุสาวรีย์ และสถานท่ีสาคัญทาง
วฒั นธรรม
6. พิพิธภณั ฑสถานชาตพิ ันธว์ุ ทิ ยาและประเพณพี ื้นเมอื ง (Museum of Ethnology) และ การจาแนก
ชาติพันธุ์ และอาจจัดเฉพาะเรื่องของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหน่ึง ซ่ึงเรียกว่าพิพิธภัณฑสถาน พ้ืนฐาน และถ้าจัด
แสดงกลางแจ้งโดยปลูกโรงเรียน จัดสภาพแวดล้อมให้เหมือนสภาพจริง ก็เรียกว่า พิพิธภัณฑสถานกลางแจ้ง
(Open-air Museum)
อน่ึง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินนั้ เป็นพิพิธภัณฑ์ทอี่ ยภู่ ายใต้การดแู ลของรฐั สามารถ แบ่งประเภทได้
3 ประเภท คือ
ก. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่เป็นสถานสะสมศิลปโบราณวัตถุของวัด และประกาศเป็น
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ขณะน้ีมจี านวน 10 แห่ง ได้แก่
1. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร
2. พิพธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ วัดเบญจมบพติ ร กรุงเทพมหานคร
3. พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ วัดมหาธาตุ อาเภอไชยา จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
4. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวรี วงศ์ วดั สุทธจิ ินดา จังหวดั นครราชสีมา
5. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ อินทบรุ ี วดั โบสถ์ อาเภออนิ ทบรุ ี จังหวดั สิงห์บุรี
6. พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระปฐมเจดีย์ จงั หวดั นครปฐม
7. พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัดพระมหาธาตุ จงั หวดั นครศรีธรรมราช
8. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ วัดพระธาตหุ รภิ ญุ ชัย จังหวัดลาพูน
9. พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัดมชั ฌิมาวาส จังหวัดสงขลา
10. พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ชัยนาทมุนี วดั พระบรมธาตุ จังหวดั ชัยนาท
ข. พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ แหลง่ อนสุ รณส์ ถาน (Site Museum) พิพิธภัณฑสถาน ประเภทนี้ เกดิ ขนึ้
เมื่อกรมศิลปากรดาเนินการสารวจขุดค้นและขุดแต่งบูรณะโบราณสถานในจังหวัด ต่าง ๆ เป็นต้น เหตุให้พบ
ศิลปวัตถุโบราณเป็นจานวนมาก กรมศิลปากรจึงดาเนินนโยบายจัดสร้าง พิพิธภัณฑสถานข้ึนตรงแหล่งท่ีพบ
ศิลปะโบราณวัตถุให้เป็นสถานท่ีรวบรวม สงวนรักษา และจัด แสดงสิ่งที่ค้นพบจากแหล่งโบราณสถาน เพ่ือให้
ประชาชนที่ได้มาชมโบราณสถานได้ชมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่ขุดค้นพบด้วย ทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ โบราณคดีของแต่ละแห่ง ได้เข้าใจเห็นคุณค่าและเกิดความภาคภูมิใจ
ช่วยกันหวงแหนรักษาสมบัติ วัฒนธรรมให้เป็นมรดกของชาติสืบไป พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในแหล่งอนุสรณ์
สถานทีส่ รา้ งขึ้นแล้ว ไดแ้ ก่
1. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติเชยี งแสน จังหวัดเชียงราย
2. พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติเจ้าสามพระยา จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
3. พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคาแหง จงั หวดั สโุ ขทยั
4. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตอิ ู่ทอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี
5. พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร
6. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตบิ ้านเลา่ จงั หวัดกาญจบรุ ี
7. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาตพิ ระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
8. พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง จังหวดั อดุ รธานี
9. พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาตวิ งั จันทรเกษม จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
10. พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตสิ มเด็จพระนารายณ์ จงั หวัดลพบุรี
ค. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติส่วนภูมิภาค (Regional Museun) เป็นการดาเนินนโยบาย
เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และโบราณคดีแก่ประชาชนในภาคต่าง ๆ โดยใช้
พพิ ธิ ภณั ฑสถานเปน็ ศนู ย์กลางวัฒนธรรมใหก้ ารศกึ ษาแก่ประชาชนแต่ละภาค ไดแ้ ก่
1. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตขิ อนแก่น จงั หวัดขอนแกน่
2. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ จงั หวดั เชยี งใหม่
3. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตนิ ครศรธี รรมราช จงั หวดั นครศรีธรรมราช
4. พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาตปิ ราจนี บุรี จังหวดั ปราจีนบุรี
5. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตสิ วรรคโลก จังหวดั สุโขทยั
6. พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาตสิ งขลา จังหวดั สงขลา
พพิ ธิ ภณั ฑ์กบั การจัดกจิ กรรมการศกึ ษา พิพิธภัณฑ์ไดม้ ีการจดั กจิ กรรมการศึกษาในรูปแบบ ที่
หลากหลาย ดังน้ี คือ
ก. งานบริการให้การศึกษา ไดแ้ ก่
1. จัดบริการบรรยายและนาชมแก่นักเรียน ผู้เรียนซึ่งติดต่อนัดหมายวันเวลากับฝ่าย
การศึกษา เจ้าหน้าที่การศึกษาจะบรรยายและนาชมตามระดับความรู้ ความสนใจของนักเรียน และ
เนน้ พิเศษในเร่ืองทสี่ มั พันธ์กับหลกั สูตรวชิ าเรยี นของนกั เรยี นแต่ละระดบั ช้นั การศึกษา
2. จัดบรรยายและนาชมแก่ประชาชนในวันอาทิตย์ เจ้าหน้าที่การศึกษาจะบรรยาย และ นา
ชมซ่ึงเป็นบริการสาหรับประชาชน มีท้ังการนาชมท่ัวไป (Guided Tour) และการบรรยายแต่ละห้อง
(Gallery Talk)
3. เปิดช้ันสอนศิลปะแก่เด็กระหว่างปิดภาคฤดูร้อน ฝ่ายการศึกษาได้ทาการเปิดสอน ศิลปะ
แกเ่ ด็กทัง้ ไทยและต่างประเทศ
ข. งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่ชาวต่างประเทศ ฝ่ายการศึกษามีเจ้าหน้าที่จากัด ไม่
สามารถบรรยายและนาชมแก่ชาวต่างประเทศเป็นภาษาต่าง ๆ ได้ จึงได้จัดอาสาสมัครและทาการ
อบรมมัคคุเทศก์อาสาสมัครท่ีเป็นชาวต่างประเทศที่อยู่ในไทยมาช่วยงานพิพิธภัณฑสถาน เรียกชื่อ
คณะชาวต่างประเทศว่า “The National Museum Volunteer Group” คณะอาสาสมัครทา
กิจกรรม ต่าง ๆ ได้แก่
1. จดั มคั คุเทศนช์ มพพิ ิธภณั ฑส์ ถานแห่งชาติ เป็นภาษาองั กฤษ ภาษาฝรงั่ เศส ภาษา เยอรมนั
และภาษาญีป่ ่นุ
2. จัดอบรมวชิ าศิลปะในประเทศไทยระยะเวลาคร้ังละ 10-12 สัปดาห์ เป็นภาษาองั กฤษ
3. จดั รายการนาชมโบราณสถาน โดยมเี จา้ หน้าที่การศึกษารว่ มไปดว้ ย
4. จัดรายการบรรยายทางวิชาการเป็นประจา โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ เป็น
ผู้บรรยาย
5. คณะอาสาสมัครช่วยงานห้องสมดุ งานห้องสมุดภาพน่ิง และงานวชิ าการอนื่ ๆ
ค. งานวิชาการ ได้แก่
1. จัดต้ังห้องสมุดศิลปโบราณคดี ฝ่ายการศึกษาได้ปรับปรุงห้องสมุดกองกลางโบราณคดี ซ่ึงเดิมมี
หนังสือส่วนใหญ่เป็นหนังสือท่ีพิมพ์ในงานฌาปนกิจ จึงได้ติดต่อขอรับหนังสือจากมูลนิธิ ต่าง ๆ และได้จัดหา
เงินจัดซ้ือหนังสือประเภทศิลปะและโบราณคดีเข้าห้องสมุด และจัดหาบรรณารกั ษ์ อาสามัครทาบัตรห้องสมุด
และดูแลงานห้องสมุด
2. จดั ตงั้ ห้องสมุดภาพน่งิ (Slide Library) มีภาพน่งิ ศลิ ปะ โบราณวัตถุและโบราณสถาน
3. จัดทา Catalogue ศลิ ปะวตั ถใุ นพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ เป็นภาษาอังกฤษ
4. จดั พิมพเ์ อกสารทางวิชาการ
อนึ่ง ในท้องถิ่นท่ีอยู่ห่างไกลจากแหล่งวิทยาการ จะมีการจัดกิจกรรมพิพิธภัณฑ์เคลื่อนที่ ซึ่งเป็นรถ
เคลื่อนท่ีไปตามสถานท่ีต่าง ๆ มีการจัดกิจกรรมหลากหลายในรถ อาทิ จัดนิทรรศการ บรรยาย สาธิต และ
ศกึ ษาค้นควา้ เอกสารต่าง ๆ
อุทยานการศกึ ษา
อุทยานการศึกษา (Educational) หมายถึง การออกแบบระบบการศึกษาเพ่ืออานวยความ สะดวก
และบริการแก่ประชาชนในท้องถ่ินในเขตเมือง เป็นการบริการท่ีผสมผสานระหว่างการพักผ่อน หย่อนใจกับ
การศึกษาตามอัธยาศัย เพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของคน แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม ได้มีความ เห็นแตกต่างกันในเร่อื งของ
นิยามของ “อุทยานการศกึ ษา” ซงึ่ สามารถสรปุ ไดเ้ ปน็ 2 กลุม่ คือ
ก. กลุ่มพัฒนาการนิยม จัดอุทยานการศึกษาเพ่ือปัญหาการขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ อาคารสถานท่ี
สิ่งแวดลอ้ มและบคุ ลากรทม่ี ีความเชย่ี วชาญหายากไวใ้ นที่เดยี วกนั โดยจดั เปน็ สถาน ศึกษาขนาดใหญท่ สี่ ามารถ
ให้การศึกษาในหลักสูตรท่ีจัดไม่ได้ในโรงเรียนปกติ เพราะขาดทรัพยากร การศึกษาเพื่อเอ้ืออานวยโอกาสทาง
การศึกษาแกผ่ เู้ รียน นกั เรยี นทกุ ระดบั ชนั้ ประชาชนท่วั ไปทงั้ ใน และนอกเวลาเรยี นปกติ เปน็ การตอบสนองตอ่
การให้การศกึ ษาท้งั ในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษา ตลอดชวี ติ
ข. กลุ่มมนุษยนิยม มีการจัดอุทยานการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ์ อาคาร
สถานที่ สิง่ แวดล้อมและบคุ ลากรทม่ี ีความเชย่ี วชาญ หายากไว้ในทเ่ี ดียวกนั คล้ายกับกลุ่ม พพิ ฒั นาการนยิ ม แต่
ในอุทยานการศึกษาของกลุ่มมนุษยนิยม เน้นให้มีส่วนบริเวณท่ีร่มร่ืนเป็นท่ี พักผ่อนแก่ผู้ใช้อุทยานการศึกษา
เพิม่ ข้ึนอีกสว่ นหนงึ่
ความสาคญั ของอุทยานการศึกษา
อทุ ยานการศกึ ษามคี วามสาคญั ดังน้ี
ก. ชว่ ยสร้างความคดิ รวบยอด การทผ่ี ู้เรยี นมโี อกาสไดเ้ ห็น ได้สมั ผสั ไดร้ ับคาแนะนา สาธิต และได้
ทดลองดว้ ยตนเอง ทาให้ผ้เู รยี นสามารถสรา้ งมโนภาพท่ีถูกต้องได้ทนั ทที เี่ หน็ เชน่ การไดท้ ดลองทอผา้ ด้วยก่ี
กระตกุ ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถสร้างความคดิ รวบยอดได้รวดเรว็ และถกู ตอ้ ง กว่าการอ่านจากเอกสาร เป็นตน้
ข. ให้ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม การเรียนรู้ประสบการณ์ตรงหรือประสบการณ์จาลองใน อุทยาน
การศึกษาทาให้สามารถเข้าใจสภาพท่ีจริงแท้ขององค์ความรู้ เช่น การศึกษาสถาปัตยกรรม ของบ้านทรงไทย
และเพนยี ดคล้องช้างสมัยโบราณ เป็นตน้
ค. ช่วยสร้างความใฝ่รใู้ นเรอื่ งอืน่ ๆ เพ่ิมข้ึน จากการที่ผู้เรยี นสามารถสมั ผัสและเห็นสภาพ จริงของสง่ิ
ท่ีตอ้ งการศึกษา ทาให้เขา้ ใจงา่ ย และไปเสริมแรงจงู ใจในการเรียนรูเ้ ร่ืองอนื่ ๆ ตอ่ ไป
ง. เป็นแหล่งทีใ่ ห้การศึกษาต่อเนือ่ ง อุทยานการศึกษาสามารถให้บรกิ ารแก่คนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชพี
ในรูปแบบที่หลากหลายท้ังทางด้านการพักผ่อนหย่อนใจ และการทากิจกรรมการ เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีอยู่
จานวนมากมาย ซ่ึงล้วนแต่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตท้ังส้ิน จึงเป็นแหล่ง ที่ทุกคนสามารถแสวงหาได้ทุก
อย่างท่ีตนตอ้ งการอย่างอสิ ระและต่อเนอื่ ง
จ. เป็นแหล่งที่ให้ความเสมอภาคแก่ประชาชนทุก ๆ คนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการให้บริการ
ของอุทยานการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นด้านการทากิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ การทากิจกรรมสุขภาพ ตาม
เวลาทตี่ ้องการจะเรยี น
อุทยานการศึกษากับการจัดกิจกรรมการศึกษา อุทยานการศึกษามีลักษณะเป็นสวน สาธารณะท่ีจัดสร้างข้ึน
เพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยและการพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนกิจกรรมของการศึกษาท่ีสาคัญของ
อทุ ยานการศกึ ษามี 2 สว่ น คือ
ส่วนท่ี 1 เป็นส่วนของอุทยานท่ีมีภูมิทัศน์เขียว สะอาด สงบ ร่มรื่น สวยงามตามธรรมชาติ มี
สระนา้ ลาธารตน้ ไมใ้ บหญา้ เขียวชอมุ่ ตลอดปี และมีอาคารสถานท่ีพรอ้ มท้งั สง่ิ อานวยความสะดวก ใน
การจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย และการพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนทุกเพศ ทุกวัย พ้ืนที่
ส่วนท่ีเป็นพฤกษชาติ มีการปลูกและแสดงไม้ดอกและไม้ประดับของไทยไวใ้ ห้สมบูรณ์ครบถ้วน มีสวน
น้าซึ่งจัดปลูกบัวทุกชนิด อาคารสัญลักษณ์ ศาลาพุ่มข้าวบิณฑ์และอาคารตรีศร เป็นศูนย์ กลางของ
อุทยาน มีอาคารไทยสมัยปัจจุบันสาหรับจัดพิพิธภัณฑ์ นิทรรศการ การสาธิต และการ จัดแสดงเร่ือง
ต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สวนสุขภาพท้ังสวนกายและสวนจิต มีศาลาสาหรับการ นั่งพักผ่อน
กระจายอยู่ในบริเวณอุทยานและมีสื่อไทย 4 ภาค คือภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง
และภาคใต้ สร้างข้ึนตามรูปแบบของสถาปัตยกรรมในภาคน้ัน ๆ รวมทั้งจัดแสดงสิ่งของ เคร่ืองใช้ท่ีมี
ลักษณะเฉพาะของภาคน้ัน ๆ ในเรอื นไทย ดังกล่าวด้วย
สว่ นท่ี 2 เปน็ สว่ นของกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ซ่ึงประกอบดว้ ย
1) กิจกรรมส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับชีวิตไทย เอกลักษณ์ไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย วิทยาการ
ก้าวหน้าและประยุกต์วิทยาที่มีผลต่อการดาเนินชีวิตของคนไทยโดยส่วนรวมด้วย มีการผลิต และ
พัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เสนอไว้ในอุทยานการศึกษา เช่นภาพยนตร์ ภาพทัศน์
คอมพิวเตอร์ มัลติวิชั่น และส่ือโสตทัศน์อื่น ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการและการประยุกต์
เทคโนโลยี การสื่อสารในประเทศไทยมีการจัดแสดงมหกรรม นิทรรศการ และการสาธิต ท้ังท่ีจัด
ประจาและจัด เป็นครั้งคราว ทั้งท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาและเรื่องทั่วไป เช่นแสดงให้เห็นถึง
วิวัฒนาการด้านวิทยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรพิมพ์ และการส่ือสารผ่านดาวเทียม
เป็นตน้ ตลอดจนมี การจัดพพิ ธิ ภณั ฑ์เฉพาะเรื่อง เฉพาะอยา่ งทไี่ มซ่ า้ ซ้อนกับพิพิธภัณฑท์ ่ีจดั กันอยูแ่ ลว้
เช่นพพิ ธิ ภณั ฑ์ ชวี ติ ไทย และจัดสร้างเรอื นไทย 4 ภาค เปน็ ต้น
2) กิจกรรมส่งเสริมการพักผ่อนและนันทนาการเพ่ือให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ ได้มีสถานท่ีพกั ผ่อนหย่อนใจท่ีมบี รรยากาศร่มรน่ื สงบ สะอาด และปลอดภัย มีงาน อดิเรก
ทเี่ หมาะสม รวมท้งั ไดพ้ ัฒนารา่ งกายและจิตใจใหส้ มบรู ณ์แขง็ แรง โดยการจดั สรา้ งศาลาทพี่ ัก กระจาย
ไว้ในบริเวณให้มากพอเพ่ือใช้เป็นท่ีพักผ่อนหย่อนในวันหยุดของประชาชน จัดตั้งชมรมกลุ่ม ผู้สนใจ
งานอดิเรกต่าง ๆ และเป็นศูนย์นัดพบเพื่อการทางานอดิเรกร่วมกัน โดยอุทยานการศึกษา เป็นผู้
ประสานส่งเสริมและอานวยความสะดวก นอกจากนี้ มีการจัดสวนสุขภาพ ท้ังสวนกายและ สวนจิต
เพือ่ ให้ผมู้ าใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ าใชอ้ อกกาลังกายโดยสภาพธรรมชาติ และการพัฒนาสุขภาพจติ
3) กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน การ ละเล่น
พ้ืนบ้าน และงานประเพณีในเทศกาลต่าง ๆ ของไทย โดยการเลือกสรรเรื่องท่ีหาดูได้ยาก หรือ กาลัง
จะสูญหายมาแสดงเป็นคร้ังคราว จัดทาภาพยนตรแ์ ละภาพวีดิทัศน์ บันทึกเรื่องต่างๆ ล้วน เสนอผ่าน
เทคโนโลยีการส่อื สารทจี่ ดั ไวใ้ นอุทยานการศึกษา นอกจากน้ียังมีการร่วมกบั ชุมชนจดั งาน ประเพณีใน
เทศกาลตา่ ง ๆ โดยมุ่งธารงรักษารปู แบบและวิธีการจดั ทีถ่ กู ต้องเหมาะสมไว้เปน็ ตัวอย่าง
อุทยานแห่งชาติ หมายถึง พ้ืนที่อันกว้างใหญ่ไพศาล ที่ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ท่ี
สวยงาม เหมาะสาหรับการพักผ่อนหย่อนใจ เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่าหายาก หรือมีปรากฏ
การณ์ธรรมชาติที่อัศจรรย์ อุทยานแห่งชาติท่ีสาคัญได้แก่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
อุทยานแหง่ ชาตติ ะรเุ ตา อุทยานแหง่ ชาติดอยขนุ ตาล เปน็ ต้น
อุทยานแห่งชาตกิ ับการจดั กจิ กรรมการศกึ ษา มีดังนี้
ก. เป็นสถานท่ีศึกษาด้านธรรมชาติวิทยา มีการรักษาและอนุรักษ์สายพันธ์ุธรรมชาติ ของพืชและสัตว์
ป่า ซ่ึงเออื้ ประโยชนอ์ ย่างมหาศาลตอ่ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาดา้ นเกษตรศาสตร์ และชวี วิทยา
ข. การรักษาส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติของอุทยานแห่งชาติเอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพกาย และ
สุขภาพจิตของมนุษยชาติ
ค. ใชเ้ ปน็ แหลง่ นนั ทนาการเพอื่ การพฒั นาคุณภาพชีวิตของมนุษย์
ใบความร้ทู ่ี 5 การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ผา่ นเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็
****************************************************************************************
1. อนิ เทอรเ์ น็ต (Internet) คืออะไร
ถ้าจะถามว่าอินเทอร์เน็ต (Internet) คืออะไร ก็คงจะตอบได้ไม่ชัดเจน คงตอบได้ กว้างๆ ว่า
คือ 1) ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ขนาดใหญ่ซึ่งเกิดจากนา เอาคอมพวิ เตอร์
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากทั่วโลกมาเช่ือมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกันโดยใช้ข้อ ตกลงในการ
ส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายหรือใช้ภาษาส่ือสารหลัก (Protocol) เดียวกัน คือ TCP/IP
(Transmission Control Protocol/Internet Protocol) 2) เป็นแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ ใช้เป็น
เครื่องมือในการค้นหาข้อมูลท่ีต้องการได้เกือบทุกประเภท เป็นเคร่ืองมือสื่อสารของคนทุกชาติ ทุก
ภาษาทว่ั โลก และ 3) เป็นเส่ือ (Media) เผยแพรข่ ้อมลู ไดห้ ลายประเภท เชน่ สื่อสิ่งพิมพ์, สื่อ โทรทศั น์
ส่ือวทิ ยุ ส่อื โทรศัพท์ เปน็ ต้น
2. อินเทอร์เนต็ สาคญั อย่างไร
เทคโนโลยีสนเทศ (Information Technology) หลายประเทศท่ัวโลกกาลังให้ความสาคัญ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเรียกโดยย่อว่า “ไอที (IT) ซึ่งหมายถึงความรู้ในวิธีการประมวลผล จัดเก็บ
รวบรวม เรียกใช้ และนาเสนอข้อมูลด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือที่จาเป็นต้องใช้สาหรับ
งานไอที คือคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร โทรคมนาคม โครงสร้างพื้นฐานด้านการส่ือสาร ไม่ว่า จะ
เป็นสายโทรศัพท์ ดาวเทียม หรือเคเบิ้ลใยแก้วนาแสง อินเทอร์เน็ตเป็นเคร่ืองมือสาคัญอย่างหนึ่ง ใน
การประยุกต์ใช้ไอที หากเราจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารในการทางานประจาวัน อินเทอร์เน็ตจะ
เป็นช่องทางท่ีทาให้เราเข้าถึงข้อมูลข่าวสารหรือเหตุการณ์ความเป็นไปต่างๆ ท่ัวโลกที่เกิดข้ึนได้ใน
เวลา อันรวดเร็ว ในปัจจุบันสามารถสืบคน้ ข้อมูลไดง้ ่ายๆ กว่าสื่ออ่ืนๆ อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวม
ข้อมูล แหล่งใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นท่ีรวมท้ังบริการเคร่ืองมือสืบค้นข้อมูลหลายประเภท
จนกระท่ังกล่าว ได้ว่าอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศทั้งในระดับ บคุ คลและองคก์ ร
3. ความหมายของอนิ เทอร์เนต็
อินเทอร์เน็ต2 (อังกฤษ : Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ท่ีมีการ
เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาท่ีใช้สอื่ การกันระหว่างคอมพิวเตอรท์ ่ี
เรียกว่า โพรโทรคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายน้ีสามารถส่ือสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น
อีเมล์ (E-mail), เว็บบอร์ด (Web bord), แชทรูม (Chat room) การสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ
รวมทง้ั คดั ลอกแฟม้ ขอ้ มูลและโปรแกรมมาใช้ได้
อนิ เทอรเ์ นต็ ในลกั ษณะเปน็ แหลง่ เรยี นรู้สาคญั ในโลกปจั จบุ นั
ถ้าจะพูดถึงว่าอินเทอร์เน็ตมีความจาเป็นและเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสาคัญท่ีสุดคงจะไม่ผิดนัก
เพราะเราสามารถใช้ช่องทางน้ีทาอะไรได้มากมายโดยท่ีเราก็คาดไม่ถึง ถ้าอย่างน้ันลองมาดูวิว่า
อนิ เทอร์เนต็ มคี วามสาคัญอย่างไรกบั เราในโลกปจั จบุ นั
เหตผุ ลสาคญั ที่ทาให้แหลง่ เรยี นรผู้ า่ นเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ไดร้ ับความนิยมแพรห่ ลาย คือ
1. การส่ือสารบนอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีไม่จากัด ระบบปฏิบัติการของเครื่อง
คอมพวิ เตอรท์ ่ตี ่างระบบปฏิบัตกิ ารกส็ ามารถติดตอ่ สือ่ สารกันได้
2. แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่มีข้อจากัดในเร่ืองของระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่
ภายในอาคารเดยี วกนั ห่างกันคนละมุมโลก ข้อมลู ก็สามารถส่งผ่านถงึ กันได้ดว้ ยเวลารวดเร็ว
3. อินเทอร์เน็ตไม่จากัดรูปแบบของข้อมูล ซึ่งมีได้ท้ังมูลมูลท่ีเป็นข้อความอยา่ งเดียวหรอื อาจ
มี ภาพประกอบ รวมไปถึงข้อมูลชนิดมัลติมเี ดยี คอื มีทั้งภาพเคลอ่ื นไหวและมเี สียงประกอบด้วยได้
หนา้ ที่และความสาคัญของแหลง่ เรยี นรูอ้ นิ เทอรเ์ น็ต
การสื่อสารในยุคปัจจุบันท่ีกล่าวขานกันว่าเป็นยุคไร้พรมแดนน้ัน การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
จานวนมากๆ ได้ในเวลาอันรวดเร็ว และใช้ต้นทุนในการลงทุนต่า เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของทุก
หน่วยงาน และอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อท่ีสามารถตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าวได้ จึงเป็นความ
จาเป็นที่ทุกคน ต้องให้ความสนใจและปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่น้ี เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ดงั กลา่ วอยา่ งเต็มที่
ความสาคัญของแหล่งเรยี นรอู้ ินเทอรเ์ นต็ กบั งานดา้ นต่างๆ
ดา้ นการศึกษา
1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการเมือง ด้าน
การแพทย์ และอื่นๆ ทีน่ า่ สนใจ
2. ระบบเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ จะทาหนา้ ที่เสมือนเป็นหอ้ งสมุดขนาดใหญ่
3. ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ เพ่ือค้นหาข้อมูลท่ีกาลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งท่ี
ข้อมูลท่ีเป็นขอ้ ความ เสยี ง ภาพเคล่ือนไหวต่างๆ เปน็ ต้น
ดา้ นธุรกจิ และการพาณิชย์
1. ในการดาเนินงานทางธรุ กิจ สามารถคน้ หาข้อมูลต่างๆ เพือ่ ช่วยในการตดั สินใจทางธรุ กจิ
2. สามารถซือ้ ขายสนิ ค้าผ่านระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
3. บริษัทหรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิดให้บริการและสนับสนุนลูกค้าของตนผ่านระบบเครือ ข่าย
อินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปัญหาต่างๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรม ทดลองใช้
(Shareware) หรือโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เปน็ ตน้
ด้านการบันเทงิ
1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่างๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ท่ี
เรียกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ โดยมีภาพประกอบท่ีจอคอมพิวเตอร์
เหมือนกบั วารสารตามร้านหนงั สือทั่วๆ ไป
2. สามารถฟังวิทยุผ่านระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ ได้
3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตร์ใหม่และเก่ามาดูได้จาก เหตุผล
ดังกลา่ ว พอจะสรปุ ได้กล่าว อินเทอร์เน็ต มคี วามสาคัญในรปู แบบ ดังน้ี
3.1 การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ที ันสมัย
3.2 การตดิ ตอ่ สือ่ สารท่ีสะดวกและรวดเรว็
3.3 แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ทส่ี ุดของโลก โดยสรุปอินเทอรเ์ น็ตไดน้ ามาใช้เครื่องมอื ที่
จาเป็นสาหรับงานไอที ทาให้เกิดช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว ช่วยในการตัดสินใจและ
บรหิ ารงาน ท้ังระดับบุคคลและองค์กร
ความสาคัญของแหลง่ เรยี นร้ผู า่ นเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็
ความสาคญั ของขอ้ มลู แหล่งเรยี นร้ผู ่านเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต เป็นส่ิงทต่ี ระหนักกนั อยู่เสมอ
การจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ง่ายและสื่อสารได้ รวดเร็ว การ
จัดเก็บข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งอยู่ในรูปแบบของสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ ผู้เรียน
สามารถจดั เก็บไวใ้ นแผ่นบันทึกข้อมูล สามารถบันทึกได้มากกว่า 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการส่ือสารข้อมูลจาก
แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน้ัน ข้อมูลสามารถส่งผ่านสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ ได้ด้วยอัตรา 120
ตัวอักษรต่อวินาที และสามารถส่งข้อมูล 200 หน้า ได้ในเวลาเพียง 40 นาที โดยท่ีผู้เรียนไม่ต้องเสียเวลาน่ัง
ป้อนข้อมลู เหล่านนั้ ช้าใหมอ่ กี
ความถูกตอ้ งของข้อมลู จากแหล่งเรียนรู้ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยปกตมิ กี าร ส่งขอ้ มูลดว้ ยสัญญาณอิเลก็ ทรอนิกส์จากจดุ หน่ึงไปยังจุดหนึ่งด้วยระบบดจิ ติ อล วธิ กี าร
รับส่งข้อมูล จะมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็มีการรับรู้และพยายามหาวิธีแก้ไขให้
ข้อมูล ท่ีได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทาการส่งใหม่ กรณีที่ผิดพลาดไม่มาก ผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตน
แกไ้ ข ขอ้ มูลใหถ้ ูกตอ้ งไดด้ ้วยตนเอง
ความรวดเร็วของการทางานจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยปกติ
สัญญาณทางไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทาให้การส่งผ่านข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่าน
เครือข่าย อินเทอร์เน็ตจากซีกโลกหน่ึงสามารถทาได้รวดเร็ว ถึงแม้ว่าข้อมูลจากฐานข้อมูลของแหล่ง
เรียนรู้น้ัน จะมีขนาดใหญ่ ก็ตาม ความรวดเร็วของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะทาให้ผู้เรียน
สะดวกสบายอย่างยิ่ง เช่น การทาบัตรประจาตัวประชาชน ผู้รับบริการสามารถทาท่ีใดก็ได้ เพราะ
ระบบฐานข้อมูลจะเชื่อมตอ่ ถงึ กนั ไดท้ กุ ท่ที ั่วประเทศ ทาให้เกิดความสะดวกกับประชาชนผู้รบั บริการ
แหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้าหา
กันเป็นเครือข่ายเพ่ือรับและส่งหรือสาเนาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้
ราคาต้นทุนของการใช้ขอ้ มูลประหยัดมาก เมอ่ื เปรียบเทียบกับการจัดส่งแบบอ่ืน ซ่งึ ผ้เู รียนสามารถรับ
และส่ง ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ให้ระหว่างกันผ่านทางสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ได้สะดวก รวดเร็ว และ
ถูกตอ้ ง
ชอ่ื และเลขที่อยไู่ อพีของแหลง่ เรยี นรผู้ า่ นเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต
คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองท่ีต่ออยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีเลขที่อยู่ไอพี (IP address) และ
แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องมีเลขที่อยู่ไอพีไม่ซ้ากัน เลขที่อยู่ไอพีนี้จะได้รับการกาหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้
แต่ละองค์กรนาไปปฏิบัติเพ่ือให้ระบบปฏิบัติการเรียกชื่อง่ายและการบริหารจัดการเครือข่ายทาได้ดี
จึง กาหนดชื่อแทนเลขที่อยู่ไอพี เรียกว่า โดเมน โดยจะมีการต้ังช่ือสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ
เครือ่ ง ทอ่ี ยูบ่ นเครือข่าย เช่น nfe.go.th ซึง่ ใช้แทนเลขทอ่ี ยไู่ อพี 203.172.142.0 การกาหนดให้มกี าร
ใช้ ระบบช่ือโดเมนมีการกาหนดรูปแบบเปน็ ลาดับชัน้ คือ
บริการจากอินเทอรเ์ น็ต
1. การสืบค้นข้อมูลความรู้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพียงแต่พิมพ์คาสาคัญจากเน้ือหา หรือเรื่อง ที่
ต้องการค้นคว้าก็จะได้ช่ือเว็บไซต์จานวนมาก ผู้เรียนสามารถเลือกหาอ่านได้ตามความต้องการ เช่น
กล้วยไม้ สัตว์สงวน ข่าวด่วนวันน้ี ราคาทองคา อุณหภูมิวันนี้ อัตราแลกเปลี่ยนเงิน ฯลฯ (ผู้เรียน
สามารถฝึกการใชอ้ ินเทอร์เนต็ จากหอ้ งสมุดประชาชน หรือเรยี นรู้ด้วยตนเองจากหนังสอื )
2. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือที่เรียกกันว่า อีเมล์ เป็นการติดต่อสื่อสารด้วย
ตัวหนังสือแบบใหม่ แทนจดหมายบนกระดาษ สามารถรับส่งข้อมูลระหวา่ งกันไดอ้ ย่างรวดเร็ว เป็น ที่
นยิ มในปัจจบุ ัน
3. การสนทนาหรือห้องสนทนา (Chat room) เป็นการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถ
โตต้ อบกันไดท้ นั ที แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ถามตอบปัญหาไดห้ ลาย ๆ คน ในเวลาเดียวกนั
4. กระดานขา่ ว (Web Board) ผ้ใู ชส้ ามารถแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ การใหข้ อ้ เสนอ
ข้อคิดเห็น อภิปรายโต้ตอบ ทุกคนสามารถเข้าไปให้ข้อคิดเห็นได้โดยมีผู้ให้บริการเป็นผู้ตรวจสอบ
เนือ้ หา และสามารถลบออกจากขอ้ มูลได้
5. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ หน่วยงานต่าง ๆ จะมีเว็บไซต์ให้บริการข้อมูลและ
ประชาสัมพันธ์องค์กรหรือหน่วยงาน เราสามารถเข้าไปใช้บริการ เช่น สถานที่ต้ังของห้องสมุด
บทบาท ภารกิจของพิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์อยู่ท่ีใดบ้าง แหล่งเรียนรู้มีท่ีใดบ้าง ตารางสอบของผู้เรียน
กศน. เป็นต้น
6. การอ่านข่าว มีเว็บไซต์บริการข่าว เช่น CNN New York Time ตลอดจนข่าวจาก
หนงั สอื พิมพ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย
7. การอ่านหนังสือ วารสาร และนิตยสาร มีบริษัทที่ผลิตส่ือสิ่งพิมพ์จานวนมากจัดทา เป็น
นติ ยสารออนไลน์ เชน่ นิตยสาร MaxPC นติ ยสาร Interment ToDay นติ ยสารดฉิ นั เป็นต้น
8. การส่งการ์ดอวยพร สามารถส่งการ์ดอวยพรอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Card ผ่าน
อนิ เทอรเ์ น็ต โดยไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ย สะดวก รวดเร็ว
9. การซ้ือสินค้าและบริการ เป็นการซื้อสินค้าออนไลน์ โดยสามารถเลือกดูสินค้าพร้อมท้ัง คุณสมบัติ
ของสินค้าและสั่งซื้อสินค้าพร้อมชาระเงินด้วยบัตรเครดิตในทันที บริษัทต่าง ๆ จึงมีการโฆษณาขายสินค้าผา่ น
อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การใชอ้ ินเทอร์เน็ตเชงิ พาณชิ ย์ ซง่ึ ไดร้ ับความนิยมในต่าง ประเทศมาก
10. สถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย ปัจจุบันสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีหลายร้อย
สถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานีท่ี..และได้ยินเสียงเหมือนการเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกัน ก็มีการส่งกระจายภาพ
วิดีโอบนเครือข่ายด้วย แต่ยังมีปัญหาตรงท่ีความเร็วของเครือข่ายที่ยัง ไม่สามารถรองรับการส่งข้อมูลจานวน
มาก ทาให้คณุ ภาพของภาพไม่ต่อเน่ือง
ประโยชน์ โทษและมารยาทในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเป็นแหล่งเรียนรู้
1. ประโยชนข์ องแหลง่ เรยี นรู้ผ่านเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต
อินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนชุมชนเมืองแห่งใหม่ของโลก เป็นชุมชนของคนทั่วมุมโลก จึงมี บริการต่าง
ๆ เกิดขน้ึ ใหม่ตลอดเวลา ในที่นจี้ ะกลา่ วถงึ ประโยชนข์ องอินเทอร์เนต็ หลกั ๆ ดงั นี้
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic mail=E=mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail เป็น
การส่งจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ผ่านเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต โดยผสู้ ง่ จะตอ้ งสง่ ข้อความไปยงั ทีอ่ ยู่ของผ้รู บั ซง่ึ เป็น
ที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมาย 1 ฉบับ แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมายภายใน
เวลาไม่ก่ีวินาที แม้จะอยู่ห่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากน้ียังสามารถ ส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับ
อีเมลไ์ ดด้ ว้ ย
1.2 การขอเข้าระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) เป็นการบริการอินเทอร์เน็ตรูปแบบ หนึ่ง
โดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น ถ้าเราอยู่ ท่ีโรงเรียน
ทางานโดยใช้อินเทอร์เน็ตของโรงเรียนแล้วกลับไปท่ีบ้าน เรามีคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านและต่อ อินเทอร์เน็ตไว้เรา
สามารถเรยี กข้อมูลจากท่โี รงเรยี นมาทาที่บ้านได้ เสมือนกับเราทางานท่โี รงเรยี นนั่นเอง
1.3 การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นการบริการอีกรูปแบบหน่ึง ของ
ระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูล
ประเภทตัวหนังสอื รปู ภาพ และเสียง
1.4 การสืบค้นข้อมูล (Gopher, Archie, World wide Web) หมายถึงการใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ต
ในการค้นหาข่าวสารท่ีมีอยู่มากมายแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็นเมนูทาให้เราหา
ข้อมูลได้งา่ ยหรือสะดวกมากข้ึน
1.5 การแลกเปล่ียนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการให้บริการแลกเปล่ียน ข่าวสารและ
แสดงความคิดเห็นท่ีผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตท่ัวโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็น ของตน โดยมีการ
จัดการผใู้ ชเ้ ป็นกลุ่มหรือนวิ กรปุ๊ (New Group) แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันเป็น หัวข้อต่าง ๆ เช่นเรื่องหนงั สอื
เร่ืองการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์ และการเมือง เป็นต้น ปัจจุบัน มี Usenet มากกว่า 15,000 กลุ่ม
นับเปน็ เวทีขนาดใหญใ่ ห้ทุกคนจากทวั่ มมุ โลกแสดงความคดิ เหน็ อย่างกว้างขวาง
1.6 การสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay Chat) เป็นการพูดคุยระหว่าง ผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตโดยพิมพ์ข้อความตอบกัน ซ่ึงเป็นวิธีการสื่อสารท่ีได้รับความนิยมมากอีกวิธีหน่ึง การ สนทนากัน
ผ่านอินเทอร์เน็ตเปรยี บเสมือนเราน่ังอยู่ในหอ้ งสนทนาเดยี วกัน แต่ละคนก็พมิ พ์ข้อความ โต้ตอบกนั ไปมาได้ใน
เวลาเดยี วกัน แมจ้ ะอยคู่ นละประเทศหรือคนละซกี โลกก็ตาม
1.7 การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Electronic Commerce) เป็นการ จับจ่ายซ้ือ
สินคา้ และบริการ เชน่ ขายหนงั สือ คอมพวิ เตอร์ การท่องเทย่ี ว เป็นต้น ปัจจบุ ันมบี รษิ ัทใช้ อินเทอรเ์ น็ต ในการ
ทาธุรกจิ และใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ตลอด 24 ชั่วโมง ในปี 2540 การค้าขายบน อนิ เทอร์เนต็ มมี ลู ค่าสูงถงึ 1 แสนล้าน
บาท และจะเพิ่มเป็น 1 ล้านล้านบาท ในอีก 5 ปีข้างหน้า ซ่ึงเป็นโอกาสธุรกิจแบบใหม่ ท่ีน่าสนใจและเปิดทาง
ใหท้ ุกคนเขา้ มาทาธรุ กรรมไม่มากนกั
1.8 การให้ความบันเทิง (Entertain) ในอินเทอรเ์ น็ตมีบรกิ ารด้านความบันเทิงในทุก รูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น เกม เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้ บริการเพ่ือความ
บันเทิงได้ตลอด 24 ช่ัวโมง และจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก ทั้งประเทศไทย อเมริกา ยุโรป และ
ออสเตรเลีย เป็นตน้
2. โทษของแหลง่ เรียนรู้ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต
ทุกสรรพสิง่ ในโลกยอ่ มมีท้งั ด้านท่ีเปน็ คุณประโยชน์และดา้ นที่เปน็ โทษ เปรยี บเสมอื น เหรียญ
ที่มี 2 ด้านเสมอ ข้ึนอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้อย่างไรให้เกิดผลดีต่อเรา ขอยกตัวอย่างโทษท่ี อาจจะ
เกิดขนึ้ ได้จากการใช้งานอินเทอร์เนต็ ดังนี้
2.1 โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) ถ้าจะถามว่าอินเทอร์เน็ตก็เป็นส่ิงเสพติดหรือ? ก็คง
ไม่ใช่ แต่ถ้าเปรียบเทียบกันแล้วก็คงไม่แตกต่าง หากการเล่นอินเทอร์เน็ตทาให้คุณเสียงานหรือแม้แต่
ทาลายสุขภาพ
2.2 อินเทอร์เน็ตทาให้รู้สึกหมกมุ่น มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้น ไม่
สามารถควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตได้ รู้สึกหงุดหงิดเม่ือต้องใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลงหรือหยุดใช้
อินเทอร์เน็ตเป็นวิธีในการหลีกเล่ียงปัญหาหรือคิดว่าการใช้อินเทอร์เน็ตทาให้ตนเองรู้สึกดีข้ึน หลอก
คนในครอบครัวหรือเพื่อนเร่ืองการใช้อินเทอร์เน็ตของตัวเอง การใช้อินเทอร์เน็ตทาให้เกิดการ เสี่ยง
ต่อการสูญเสียงาน การเรียน และความสัมพันธ์ ยังใช้อินเทอร์เน็ตถึงแม้ว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก มี
อาการผิดปกติ อย่างเช่น หดหู่ กระวนกระวายเม่ือเลิกใช้อินเทอร์เน็ต ใช้เวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต
นานกวา่ ทีต่ วั เองไดต้ ั้งใจไว้
2.3 เรื่องอนาจารผดิ ศลี ธรรม เร่ืองของขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทมี่ เี น้ือหาไปในทางขัดต่อศีลธรรม ลามก
อนาจาร หรือรวมถึงภาพโป๊เปลือยต่าง ๆ น้ันเป็นเร่ืองท่ีมีมานานพอสมควรแล้วบนโลกอินเทอร์เน็ต
แต่ไม่โจ่งแจ้ง เน่ืองจากสมัยก่อนเป็นยุคท่ี www ยังไม่พัฒนามากนัก ทาให้ไม่มีภาพออกมา แต่ใน
ปัจจุบันภาพเหล่านี้เป็นท่ีโจ่งแจ้งบนอินเทอร์เน็ต และสิ่งเหล่านี้สามารถเข้าสู่เด็กและเยาวชน ได้ง่าย
โดยผู้ปกครองไม่สามารถท่ีจะให้ความดูแลได้เต็มที่ เพราะว่าอินเทอร์เน็ตนั้นเป็นโลกที่ไร้ พรมแดน
และเปิดกว้างทาให้ส่ือเหล่าน้ีสามารถเผยแพร่ไปได้รวดเร็ว จนเราไม่สามารถจับกุมหรือเอาผิดผู้ที่ทา
ส่ิงเหล่านี้ขน้ึ มาได้
2.4 ไวรัส ม้าโทรจัน หนอนอินเทอร์เน็ต และระเบิดเวลา ทาให้ข้อมูลท่ีเก็บไว้ถูกทาลายหมด
ไวรัส เป็นโปรแกรมอิสระซึ่งจะสืบพันธุ์โดยการจาลองตัวเองให้มากข้ึนเรื่อย ๆ เพ่ือที่จะทาลายข้อมูล
หรืออาจทาใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอร์ทางานช้าลง โดยการแอบใชส้ อยหนว่ ยความจาหรอื พืน้ ท่วี ่างบนดิสก์
โดยพลการ
หนอนอินเทอร์เน็ต ถูกสร้างขึ้นโดย Robert Morris, Jr. จนดังกระฉ่อนไปท่ัวโลก มันคือ
โปรแกรมท่ีจะสืบพันธ์ุโดยการจาลองตัวเองมากขึ้นเร่ือยๆ จากระบบหนึ่ง ครอบครองทรัพยากรและ
ทาให้ระบบชา้ ลง ระเบดิ เวลา คอื รหัสซง่ึ จะทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ตัวกระตุ้นรูปแบบเฉพาะของการโจมตนี ้ัน ๆ
ทางานเมื่อสภาพการโจมตีน้ัน ๆ มาถึง เช่น ระเบิดเวลาจะทาลายไฟล์ทั้งหมดในวันที่ 31 กรกฎาคม
2542
สว่ นโทษเฉพาะทเี่ ป็นภยั ตอ่ เด็กมีอยู่ 7 ประการ บนอนิ เทอร์เนต็ สามารถจาแนกออกได้ ดังน้ี
1. การแพรส่ อื่ ลามก มที ั้งทเ่ี ผยแพรภ่ าพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่ ภาพตดั ตอ่ ลามก
2. การล่อล่วง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดการล่อลวง นัด
หมายไปข่มขนื หรือทาในสงิ่ ที่เลวรา้ ย
3. การค้าประเวณี มีการโฆษณาเพ่อื ขายบริการ รวมท้ังชักชวนให้เขา้ มาสมคั รขายบริการ
4. การขายสินคา้ อนั ตราย มตี ้ังแต่ยาสลบ ยาปลุกเซก็ ซ์ ปืน เครอ่ื งชอ็ ตไฟฟา้
5. การเผยแพร่การทาระเบิด โดยอธบิ ายข้นั ตอนการทางานอย่างละเอียด
6. การพนนั มีให้เขา้ ไปเล่นไดใ้ นหลายรปู แบบ
7. การเลม่ เกม มีท้ังเกมทีร่ ุนแรงไลฆ่ า่ ฟัน และเกมละเมดิ ทางเพศ
3. มารยาทในการใช้อินเทอร์เนต็ เปน็ แหลง่ เรียนรู้
ทุกวันนี้อินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทและส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในแทบทุก
ด้าน รวมท้ังได้ก่อให้เกิดประเด็นปัญหาข้ึนในสังคม ไม่ว่าในเร่ืองความเป็นส่วนตัว ความ ปลอดภัย เสรีภาพ
ของการพูดอ่านเขียน ความซอ่ื สัตย์ รวมถึงความตระหนกั ในเรอื่ งพฤติกรรมที่เรา ปฏบิ ัตติ อ่ กนั และกันในสังคม
อินเทอร์เน็ต ในเรื่องมารยาท หรือจรรยามารยาทบนเน็ต ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่เปิดโอกาสให้ผู้คนเข้ามาแลกเปลี่ยน
ส่ือสาร และทากิจกรรมรว่ มกัน ชุมชนใหญ่บ้างเลก็ บ้างบน อินเทอร์เนต็ น้ันก็ไม่ตา่ งจากสังคมบนโลกแหง่ ความ
เป็นจริงที่จาเป็นต้องมีกฎกติกา (Codes of Conducr) เพื่อใช้เป็นกลไกสาหรับการกากับดูแลพฤติกรรมและ
การปฏสิ ัมพันธ์ของสมาชกิ