คำนำ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางานสำหรับ ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ที่ได้เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อแสดง เจตจำนงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถะที่สำคัญตามหลักสูตรให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้ เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่ และสอดคล้องกับ เป้าหมายและบริบท สถานศึกษา นโยบายของส่วน ราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อำนวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง ส่วนที่ ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของ ผู้เรียน ซึ่งข้อมูลที่ได้นำเสนอนี้ข้าพเจ้าจะนำไปพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนบ้านร่องโนร่อง แกมคำบอน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต ๒ ให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป (นางสาวณิกัญรดา พรหมศิริ) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย 15 พฤศจิกายน 2566
สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ สารบัญ ผู้จัดทำข้อตกลง- ข้อมูลทั่วไป- ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ ส่วนที่ ๑ ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง ๑. ภาระงาน ๒. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู- ด้านการจัดการเรียนรู้- ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้- ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ส่วนที่ ๒ ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย- ประเด็นท้าทาย - สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้- วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล- ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา กข111222378 10 10 10 10 12 13
๑ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านร่องโนร่องแกมคำบอน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2567 ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางสาวณิกัญรดา นามสกุล พรหมศิริ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย สถานศึกษา โรงเรียนบ้านร่องโนร่องแกมคำบอน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 รับเงินเดือนในอันดับ ครูผู้ช่วย อัตราเงินเดือน 15,800 บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้(สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการ เรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย PA1/ส
๒ ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด จำนวน ๓0 ชั่วโมง/สัปดาห์ ที่ รายวิชา/กิจกรรม ระดับชั้น จำนวนชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชาพื้นฐาน 1 ภาษาไทย ประถมศึกษาปีที่ 1 5 2 คณิตศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 1 5 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประถมศึกษาปีที่ 1 2 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประถมศึกษาปีที่ 1 1 5 ประวัติศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 1 1 6 สุขศึกษาและพลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 1 7 ศิลปะ ประถมศึกษาปีที่ 1 1 8 การงานอาชีพ ประถมศึกษาปีที่ 1 1 9 ภาษาอังกฤษ ประถมศึกษาปีที่ 1 4 รวมปฏิบัติหน้าที่การสอนรายวิชาพื้นฐาน 21 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชาเพิ่มเติม 10 หน้าที่พลเมือง ประถมศึกษาปีที่ 1 1 11 ภาษาไทยอ่านเขียน ประถมศึกษาปีที่ 1 1 รวมปฏิบัติหน้าที่การสอนรายวิชาเพิ่มเติม 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมเสริมหลักสูตร 12 ชุมนุม ประถมศึกษาปีที่ 1 1 13 ลูกเสือ ประถมศึกษาปีที่ 1-3 1 14 แนะแนว ประถมศึกษาปีที่ 1 1 15 ซ่อมเสริม ประถมศึกษาปีที่ 1 2 16 ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ประถมศึกษาปีที่ 1 2 รวมปฏิบัติหน้าที่การสอนกิจกรรมเสริมหลักสูตร 7 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวมปฏิบัติหน้าที่การสอนทั้งหมด 30 ชั่วโมง/สัปดาห์
๓ 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการสร้างและ หรือพัฒนาหลักสูตร การ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ แหล่งเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ก า ร ศ ึ ก ษ า ว ิ เ ค ร า ะ ห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ การจัด บรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน และการอบรม และพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ ผู้เรียน การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิด วิเคราะห์ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง คุณค่าและความสำคัญหลักธรรมทาง พ ร ะ พ ุ ท ธ ศ า ส น า ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs มี กระบวนการดังนี้ 1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร - มีการจัดทำหลักสูตรรายวิชาสังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และวิเคราะห์ หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และนำไปจัดทำรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยการปรับประยุกต์ให้ สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น - จัดทำหน่วยการเรียนรู้ การปฏิบัติตน เป็นชาวพุทธที่ดี ให้สอดคล้อง กับมาตรฐาน การเรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด วิเคราะห์สูงขึ้น และผู้เรียนได้พัฒนา สมรรถนะและการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น 1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ - สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และสมรรถนะ ที่สำคัญตาม หลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้ สอดคล้อง กับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น และใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตาม กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ด้วยเอกสารประกอบการเรียนวิชา - ผู้เรียนมีทักษะการคิด วิเคราะห์ และสามารถนำ ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง พระพุทธศาสนาไปใช้ใน การดำเนินชีวิตได้ - ผ ู ้ เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร แก้ปัญหาทักษะการคิด วิเคราะห์สูงขึ้นเป็นไปตาม ค ่ า เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง สถานศึกษาที่กำหนด - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรและค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะเป็นไป ตามที่หลักสูตรและค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด - ผู้เรียนร้อยละ 70 มีทักษะการ คิดวิเคราะห์สูงขึ้น สังเกตดังนี้ 1) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธ ที่ดี ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำ กว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียน ทั้งหมด 2) แบบฝึกหัด เรื่อง การ ปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี ผ่าน เกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อย ละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด 3) การแสดงบทบาทสมมุติ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด - ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการ ซ่อมเสริม และปรับปรุงผลการ เรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
๔ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น พระพุทธศาสนา เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาว พุทธที่ดี โดยเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ และ ก า ร เ ห ็ น ค ุ ณ ค ่ า ต ่ อ ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง พระพุทธศาสนา 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ด ้ ว ย กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเรียนรู้ตั้ง คำถามหรือขั้นตั้งคำถาม ขั้นตอนที่ 2 การ เรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 3 การ เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ ขั้นตอนที่ 4 การเรียนรู้เพื่อการสื่อสาร และขั้นตอนที่ 5 การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม ตามแผนการ จัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีการอำนวยความสะดวกใน การเรียนรู้ และส่งเสริม ผู้เรียนได้พัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน โดย มีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความ แตกต่างของผู้เรียน และเพื่อให้ผู้เรียนเกิด ทักษะการคิดวิเคราะห์และเห็นคุณค่า ค ว า ม ส ำ ค ั ญ ข อ ง ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง พระพุทธศาสนา 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ - มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้ สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีการ ปรับประยุกต์ ให้สอดคล้องกับความแตกต่าง ของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียน มีทักษะการคิด และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ - สร้างเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี - ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตามกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs
๕ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 1.5 การวัดและประเมินผล - สร้างแบบวัดและประเมินผลตรงตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ด้วยวิธีที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐาน การ เรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริง และวัดการคิดวิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา ผู้เรียนที่ยังขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ พิจารณาจาก 1) แบบทดสอบเมื่อผู้เรียนเรียนรู้จบ 2) แบบฝึกหัดในเอกสารประกอบการ เรียน เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี 3) แบบประเมิน การแสดงบทบาท สมมุติ ที่ผู้เรียนนำความรู้เรื่อง หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา ไปแก้ปัญหาในชีวิตจริง 4) แบบสังเกตพฤติกรรม กระบวนการ และทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน 1.6 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ - มีการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผล ต่อคุณภาพผู้เรียน และศึกษางานวิจัยที่ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียน ดังนี้ 1) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs - เพื่อนำข้อมูลผลการวิจัยมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาว พุทธที่ดี
๖ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน - มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะ ชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลย ให้เหมาะสมกับวัยของ ผู้เรียน ดังนี้ 1) เร้าความสนใจด้วย สื่อการสอนที่นำ เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง และคลิปละคร สั้น 2) ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสนำเสนอความรู้ ที่ได้อย่างสร้างสรรค์ โดยผู้เรียนสามารถ สร้างองค์ความรู้ ซึ่งเป็นแก่นความรู้ได้อย่าง แท้จริง 3 ) เ ช ื ่ อ ม โ ย ง ห ล ั ก ธ ร ร ม ท า ง พระพุทธศาสนากับชีวิตจริงในการดำรงชีวิต โดยให้แสดงบทบาทสมมุติในการปฏิบัติตน เป็นชาวพุทธที่ดีในชีวิตจริง 4) ใช้สื่อการเรียนการสอน คือ เอกสาร ประกอบการเรียน เรื่อง การปฏิบัติตนเป็น ชาวพุทธที่ดี 5) ใช้รูปแบบการสอนด้วยกระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะ ที่ดี ของผู้เรียน - ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ ค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม โดยการปลูกฝัง ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบ ใฝ่ เรียนรู้ มีวินัย และมุ่งมั่นในการทำงาน
๗ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 2. ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ลักษณะ งานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนและรายวิชาการ ดำเนินการตามระบบดูแล ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู ้ เ ร ี ย น ก า ร ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา และ การประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และ หรือสถานประกอบการ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน และรายวิชา - สรุปสารสนเทศผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์โดย ใช้ข้อมูลจากแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด ชิ้นงาน และการทำกิจกรรม เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี สรุป เป็นตารางและแผนภูมิต่าง ๆ - สรุปสารสนเทศของผู้เรียนที่ไม่ผ่าน เกณฑ์เพื่อแจ้งผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนา จนกว่าผู้เรียนจะผ่านเกณฑ์ 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน - มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผู้เรียนรายบุคคล และประสาน ความร่วมมือ กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และ แก้ปัญหาผู้เรียน - มีการวิเคราะห์ผู้เรียน โดยใช้ผลการ เรียนจากภาคเรียนที่ 1/2566 - หลังพบผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิด วิเคราะห์คุณค่าและความสำคัญของ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จึงได้จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง การปฏิบัติตน เป็นชาวพุทธที่ดี เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหา ผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น - ผ ู ้ เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร วิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล - ผู้เรียนทราบถึงปัญหาที่ ทำให้ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ก่อนได้รับการแก้ปัญหา - ผ ู ้ เ ร ี ย น ไ ด ้ ร ั บ ก า ร แ ก ้ ป ั ญ หา ด้ว ยข้อมูล สารสนเทศ และเอกสาร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ร ี ย น พระพุทธศาสนา เรื่อง การ ปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs - ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการ ซ่อมเสริม และปรับปรุงผลการ เรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ตามกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs - ผู้เรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ มี ความพึงพอใจต่อการสอนด้วย ข้อมูลสารสนเทศ และเอกสาร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ร ี ย น พระพุทธศาสนา เรื่อง การ ปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี โดย ใช้กระบวนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ไม่ต่ำกว่าระดับ มาก
๘ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของ สถานศึกษา - ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา - งานวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - หัวหน้างานขับเคลื่อนงานเศรษฐกิจ พอเพียงและงานตามนโยบาย 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ - แจ้งปัญหาผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้ ผู้ปกครองทราบผ่านครูที่ปรึกษา โดยการ แจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึงการทำกิจกรรม เพื่อแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ ด้วยเอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องการ ปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี โดยใช้กร กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียน 3. ด้านการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเอง อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการนำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนา นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง - มีการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ใน เนื้อหาวิชาและวิธีการสอน - อบรมหรือศึกษาการกระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่สร้างทักษะการคิด วิเคราะห์ผู้เรียน - อบรมหรือศึกษากระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs - ผู้เรียนได้รับการ แก้ปัญหาทักษะการคิด วิเคราะห์ จากการ ที่ ครูผู้สอนเข้าร่วมพัฒนา ตนเองอย่างเป็นระบบ และการเข้าร่วมชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) - ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับ การซ่อมเสริม และปรับปรุงผล การเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อย ละ 90 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่าน เกณฑ์ จากการที่ครูผู้สอนเข้า ร่วมพัฒนาตนเองอย่างเป็น ระบบ และการเข้าร่วมชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
๙ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลงที่ คาดหวังให้เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ - สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในการแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิด วิเคราะห์ด้วยเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้ จากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ และพัฒนา คุณภาพผู้เรียนและพัฒนานวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ - นำผลจากการอบรมและการเข้าร่วม ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ไปใช้ สร้างสื่อ คือ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน หรือแก้ไขปัญหาของผู้เรียนที่ขาด ทักษะการคิดวิเคราะห์ในการนำหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการ เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของ รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
๑๐ 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes)และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการ เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็น สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ดำรง ตำแหน่งครูผู้ช่วย ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์การจัดการเรียนรู้และการ พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดวิเคราะห์รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง คุณค่าและความสำคัญหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs 1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมที่ผ่านมา พบว่าผู้เรียนขาดทักษะการ คิดวิเคราะห์และ ไม่สามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ได้ และผู้เรียนยังไม่มีการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง คุณค่าและความสำคัญหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs 2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล 2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านร่องโนร่องแกมคำบอน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2566 ในเรื่อง ของมาตรฐานการเรียน และตัวชี้วัด ของเนื้อหารายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.2 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการ คิดวิเคราะห์โดยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs 2.3 เปิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม และเข้าไปสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องในเนื้อหา การจัดกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบฝึกหัด พร้อมทั้งเสนอแนะ และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุง แก้ไข ให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ ให้เหมาะสมกับบริบทของห้องเรียน ผู้เรียน และโรงเรียน 2.4 ครูผู้สอนนำกิจกรรมมาปรับปรุง แก้ไขตามคำแนะนำของคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนบ้านร่องโนร่องแกมคำบอน
๑๑ 2.5 ครูผู้สอนสร้างแบบทดสอบ และแบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม โดยตรวจสอบความถูกต้องจาก ผู้เชี่ยวชาญ และปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ 2.6 นำแบบทดสอบทดลองและกิจกรรมที่ออกแบบใช้กับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่เคยเรียน เนื้อหา เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อปรับปรุงแบบทดสอบอีกครั้ง 2.7 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม กับผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบทของห้องเรียน ให้ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริง ผ่านการศึกษาสถานการณ์หรือคลิปวิดีทัศน์ตัวอย่างที่สะท้อนถึงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ในการดำเนินชีวิต เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ในการใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผ่าน กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ดังนี้ (1) การเรียนรู้ตั้งคำถามหรือขั้นตั้งคำถาม (2) การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ (3) การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ (4) การเรียนรู้เพื่อการสื่อสาร (5) การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม 2.8 บันทึกผลการเรียนรู้ของสรุปสารสนเทศของผู้เรียน แล้วแจ้งให้ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทราบ และ ได้รับการพัฒนาจนกว่าผู้เรียนจะผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2.9 สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองในการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำมาปรับปรุง แก้ไขให้ดีขึ้นกว่าเดิม
๑๒ 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ ถือว่าเป็นทักษะพื้นฐานสำคัญที่จะส่งผลให้ผู้เรียน พัฒนาทักษะการคิดด้านอื่นๆ ที่สูงขึ้น การคิดวิเคราะห์จะช่วยให้ผู้เรียนรู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องต้นของสิ่งที่ เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์ รู้ว่าเรื่องนั้นมีองค์ประกอบอะไรบ้าง รู้รายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ทำ ให้ได้ข้อเท็จจริงที่เป็นพื้นฐานความรู้ เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ซึ่งแนวทางการจัดการ เรียนรู้โดยอาศัยกระบวนการคิดวิเคราะห์ แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดประเด็นปัญหา 2) การ วิเคราะห์หาคำตอบหรือทางออกของปัญหา 3) การสรุปคำตอบและกำหนดกรอบแนวคิด และ 4) การขยายผลสู่ การปฏิบัติหรือสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ผ่านการคิดวิเคราะห์ทั้ง 4 ขั้นตอนนี้ ทำให้ผู้เรียนสามารถ เชื่อมโยงความรู้สู่การปฏิบัติ ก่อเกิดผลงานที่สร้างประโยชน์ให้กับสังคมและชุมชน ทำให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ จากผลงานของตนเอง กระบวนการคิดวิเคราะห์ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติผ่านกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs สามารถประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผลงานนั้น ๆ และทักษะที่เกิดขึ้นกับการนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน จึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มีทั้งข้อมูลเนื้อหาวิชาซึ่งเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทักษะชีวิต อันจะ ก่อให้เกิดความรู้และทักษะที่นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความมุ่งหมายทางการศึกษาอย่างแท้จริง 3.1 เชิงปริมาณ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 8 คน ได้รับการแก้ปัญหาการด้านทักษะการคิด วิเคราะห์โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัส วิชา ส 11101 ดังนี้ 1) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มารยาทและหน้าที่ชาวพุทธ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด 2) แบบฝึกหัด เรื่อง มารยาทและหน้าที่ชาวพุทธ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด 3) กิจกรรมบทบาทสมมุติการประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาพุทธ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด 4) ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริม และปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
๑๓ 3.2 เชิงคุณภาพ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 8 คน มีทักษะการคิดวิเคราะห์ และสามารถปรับ ประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ และผู้เรียนยังมีการเชื่อมโยงความรู้และ ประสบการณ์ตามกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs จากการนำองค์ความรู้ที่ได้พัฒนาตนเอง และการ เข้าร่วมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) (นางสาวณิกัญรดา พรหมศิริ) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน 15 พฤศจิกายน 2566 ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อ พิจารณาอีกครั้ง ดังนี้................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... (นางสาวนวลฉวี ไชยทองดี) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านร่องโนร่องแกมคำบอน 15 พฤศจิกายน 2566
๑