41
อยางไรกต็ าม แรงงานสวนใหญของไทยอยูในภาคเกษตรกรรม โดยมีขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่
สําคญั ทสี่ ดุ ของประเทศ และถอื ไดวา เปนประเทศที่สง ออกขา วเปน อันดับ 1 ของโลก ดวยสัดสวนการสงออก
คิดเปน รอยละ 36 ของโลก ประเทศไทยมีพื้นที่ซ่ึงเหมาะตอ การเพาะปลูกกวา 27.25% ซ่ึงในจาํ นวนนก้ี วา 55%
ใชสาํ หรับการปลูกขา ว สว นพชื ผลทางการเกษตรอ่นื ๆ ไดแก ยางพารา ผกั และผลไมตาง ๆ การเพาะเล้ียง ปศุสัตว
เชน ววั สกุ ร เปด ไก สัตวน้าํ ทั้งปลาน้ําจืด ปลาน้ําเคม็ ในกระชงั การทาํ นากงุ การเลย้ี งหอย รวมไปถึงการประมง
ทางทะเล เนือ่ งจากประเทศไทยมีความอดุ มสมบูรณดา นพชื พรรณธญั ญาหารตลอดป จึงไดช อื่ วา เปนแหลง ผลิต
อาหารท่ีสาํ คัญของโลก และเปนผูสง ออกอาหารรายใหญข องโลกเปน อันดบั ท่ี 5
เรื่องที่ 2 จดุ เดน ประเทศไทย ในการผลักดนั เศรษฐกิจสรา งสรรค
การแบงอตุ สาหกรรมสรา งสรรคข องประเทศไทยนัน้ คณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
แหง ชาตแิ บง ออกเปน 4 กลมุ 15 สาขา คอื
1. กลุมวัฒนธรรมและประวตั ิศาสตร เชน งานฝมอื การทอ งเทีย่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมและ
ประวตั ิศาสตร ธุรกจิ อาหารไทยและการแพทยแ ผนไทย
2. กลุม ศลิ ปะ เชน ศลิ ปะการแสดง ทศั นศลิ ป
3. กลุมสอื่ เชน ภาพยนตร สง่ิ พิมพ กระจายเสียง เพลง
4. กลุมงานสรา งสรรคเพอื่ ประโยชนใ ชส อย เชน การออกแบบ แฟช่ันตา ง ๆ อาทิ เสื้อผา
กระเปา รองเทา เครื่องประดับ สถาปตยกรรม โฆษณา และซอฟแวรต า ง ๆ
2.1 การนาํ จุดเดนของประเทศไทย มาใชผลักดนั เศรษฐกจิ สรางสรรค
ชาวตา งชาติชนื่ ชมเมืองไทยวา มคี วามโดดเดนดา นความสามารถสรางสรรค นอกจากอาหารไทยเปน
อาหารอรอยและเปนอาหารเพอื่ สขุ ภาพดานวฒั นธรรม เชน ดนตรี ศาสนา แฟชน่ั ศิลปะการตอ สู (มวยไทย) วถิ ี
การดําเนินชีวิต (แบบไทยพุทธ) กฬี า การละเลนตาง ๆ และชา งไทย และท่สี าํ คัญอกี ประการหนง่ึ คือ เมืองไทย
มีจดุ เดนทีเ่ หน็ ไดช ัดเจนกค็ อื เรอ่ื ง "จิตสํานกึ ในการใหบริการ" ในการพฒั นาศักยภาพบุคลากรในสาขาบริการ
เชน
1. การโรงแรม
2. การแพทย พยาบาล และผูชว ยในโรงพยาบาล ทั้งการแพทยตะวันตกและตะวันออก (โดยเฉพาะ
แพทยแผนไทย) งานในสวนของทนั ตกรรม และศัลยกรรมความงาม
3. อาหารและบริการดานอาหาร ท่ีใชความคิดสรางสรรคมาประดิษฐหรือพัฒนาอาหารไทยให
ทันสมัย ประยุกต ปรับปรุงใหดียิ่งข้ึน มีเมนูนา สนใจ ในสวนของรานอาหารตองสงเสริมยกระดับใหเปน
42
มาตรฐานสากล คือ การบริหารจัดการรานอาหารเพ่ือใหสามารถอยูไดอยางย่ังยืน มีการจัดการท่ีเปนระบบ
พนกั งานเสริ ฟไดร ับการอบรมใหส ามารถใหบรกิ ารไดใ นระดบั มาตรฐานสากล เปน ตน
2.2 จุดเดน ของผลิตภัณฑผาในงานหตั ถกรรมพน้ื บาน
ผา ในงานหัตถกรรมพ้นื บา น โดยทัว่ ไปมอี ยู สอง ลักษณะ คือ ผา พ้นื และผาลาย ผา พื้นไดแก ผาที่ทอ
เปน สพี น้ื ธรรมดาไมม ลี วดลาย ใชส ตี ามความนยิ ม ในสมยั โบราณสที ่ีนยิ มทอ คือ สีน้ําเงิน สีกรมทา และสีเทา
สว นผาลายนัน้ เปน ผา ทม่ี ีการประดิษฐลวดลายหรือดอกดวงเพ่ิมขึ้น เพ่ือความงดงาม มีช่ือเรียกเฉพาะตามวิธี
เชน ถา ใชทอ (เปน ลายหรอื ดอก) เรียกวา ผายก ถา ทอดวยเสน ดายคนละสกี บั สีพน้ื เปนลายขวาง และตาหมากรุก
เรียกวา ลายตาโถง ถาใชเขียนหรือพิมพจากแทงแมพิมพโดยใชมือกด เรียกวา ผาพมิ พ หรือผาลาย ซึ่งเปน
ผา พิมพลายทค่ี นไทยเขยี นลวดลายเปนตวั อยาง สง ไปพมิ พท ี่ตา งประเทศ เชน อนิ เดยี ผาเขยี นลายสว นมากเขียน
ลายทอง แตเ ดมิ ชาวบานรูจักทอแตผา พืน้ (คือ ผาทอพ้ืนเรียบไมย กดอกและมลี วดลาย) สว นผาลาย (หรอื ผา ยก) นน้ั
เพงิ่ มารจู กั ทําข้นึ ในสมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตน หรอื สมัยอยุธยาตอนปลาย
การทอผาน้ีมีอยูในทุกภาคของประเทศ หลักการและวิธีการนั้นคลายคลึงกันท้ังหมด แตอาจมี
ขอ ปลีกยอยแตกตา งกนั บาง การทอจะทําดวยมือโดยตลอดใชเครอื่ งมอื เครือ่ งใชแบบงาย ๆ ซ่ึงตองอาศัยความ
ชํานาญและความประณีต
การทอผา ท่ชี าวบา นทํากันน้นั ตองอาศยั ความจาํ และความชาํ นาญเปนหลกั เพราะไมมีเขียนบอกไว
เปนตํารา นอกจากนีย้ งั พยายามรักษารปู แบบและวธิ ีการเอาไวอ ยา งเครง ครดั จึงนับวาเปนการอนรุ กั ษศ ลิ ปกรรม
แขนงนีไ้ วอ ีกดวย
2.3 สถานทท่ี องเท่ยี ว จุดเดนทนี่ า สนใจ
อาณาเขตพื้นทขี่ องปาสงวนแหง ชาติ ปาเขาพระวหิ าร ปา ฝงซา ยลําโดมใหญ ทองท่ีอําเภอกันทรลักษ
จงั หวัดศรสี ะเกษ และอําเภอนาํ้ ยนื จงั หวัดอบุ ลราชธานี สภาพธรรมชาตทิ ม่ี ที ศั นียภาพสวยงามเดนชดั เฉพาะตวั
อยูหลายแหง มีสภาพปาไมทอี่ ดุ มสมบูรณ เปน แหลง ของแรธาตุหลายชนิด ตลอดจนโบราณสถานสําคัญ ๆ อีก
หลายจดุ ทส่ี ามารถจัดใหเปนแหลง นันทนาการ ควรคา แกก ารศึกษาหาความรู และพกั ผอนหยอนใจไดเปน อยา งดี
อกี หลายแหง เชน ผามออีแดง นับเปนสถานที่ตรงจดุ ชายแดนเขตประเทศไทย ตดิ ตอกบั ราชอาณาจักรกมั พูชา
ใกลทางขึ้นสูปราสาทเขาพระวิหารทีม่ ที ัศนียภาพสวยงาม เปน จุดชมวิวทิวทศั นพืน้ ทแ่ี นวชายแดนราชอาณาจกั ร
กมั พูชา และบริเวณปราสาทเขาพระวิหารไดอยางสวยงามและกวางไกลท่ีสุด จุดสูงสุดของหนาผามออีแดง
สามารถสองกลอ งชมปราสาทเขาพระวิหารไดชัดเจน มีความสวยงามและมคี ณุ คา ทางประวตั ิศาสตรและโบราณสถาน
และหากในอนาคตอนั ใกลนี้ ประเทศไทยสามารถเปดความสมั พันธไมตรกี บั ราชอาณาจักรกัมพูชาไดแ ลว มีการใช
ประโยชนร วมกันทัง้ สองประเทศไดอยา งใกลช ิดและมีคา ยิ่งนกั ปราสาทโดนตวล เปนปราสาทหน่ึงท่ีสําคญั อีก
43
แหงหนึ่งที่มีศิลปวัฒนธรรมนาศึกษาอยูมาก ต้ังอยูตรงเขตชายแดนของประเทศไทยอยูหางจากหนาผาเพียง
เล็กนอย ประมาณ 300 เมตร สถูปคู เปนโบราณวัตถุมีอยู 2 องค ต้ังคูอยูบริเวณทิศตะวันตกของผามออีแดง
ถา เดนิ ทางจากผามออแี ดงไปยงั เขาพระวหิ ารกจ็ ะผา นสถปู คูน ้ี มีลกั ษณะเปนสเ่ี หลยี่ มและสวนบนกลม กอ สรางดวย
หนิ ทราย เปนทอ นท่ตี ดั และตกแตงอีกที นับวาแปลกจากศิลปวัฒนธรรมยุคอื่นใด ทํานบสระตราว สรางดวย
ทอ นหินทราย ซ่งึ ตัดมาจากแหลง ตัดหนิ มาวางเรียงกนั อยา งเปน ระเบยี บ และตอนน้ไี ดมกี ารบรู ณะและทาํ ความ
สะอาดบริเวณสระตราว สามารถเก็บกักนํา้ นําขึน้ มาใชอ ปุ โภคบริการแกเ จาหนา ท่ี และนกั ทอ งเท่ยี ว ณ บริเวณ
ผามออีแดง และปราสาทเขาพระวิหารไดอยางเพียงพอ
ในเขตชายแดนฝงตะวันออกและตะวันตกของประเทศไทย ซ่ึงมีอาณาเขตติดตอกับสาธารณรัฐ
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั แหงสหภาพพมา ราชอาณาจกั รกมั พชู า มีสภาพภูมิประเทศสวยงามดว ย
ทิวเขายาวสดุ สายตา ปกคลุมดวยปา ไม นา้ํ ตก และแมนาํ้ สายสําคญั เชน แมน ้าํ โขง แมน้าํ สาละวิน นอกจากเปน
แหลงทองเท่ยี วแลว ยงั เปน ท่ีจับจา ยใชส อยขา วของเคร่อื งใชของประเทศเพ่ือนบาน เชน ตลาดการคาชายแดน
อําเภอแมสาย จงั หวดั เชยี งราย ตลาดการคาชายแดนอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ตลาดการคาชายแดนชองเม็ก
อําเภอสริ นิ ธร จงั หวัดอบุ ลราชธานี ตลาดการคา ชายแดนจังหวัดมกุ ดาหาร นอกจากเปนชอ งทางการคา ระหวาง
ประเทศไทยกบั ประเทศเพ่อื นบา นแลว ยังเปน เสนทางการเดินทางไปทองเทย่ี วในประเทศเพอื่ นบา นไดอ ีกดวย
เรอ่ื งท่ี 3 ศกั ยภาพประเทศไทยกบั การพัฒนาอาชีพ
3.1 ภูมศิ าสตร
44
ประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตรท่ีหลากหลาย ภาคเหนือเปนพ้ืนท่ีภูเขาสูงสลับซับซอน จุดที่สูง
ทีส่ ุดในประเทศไทย คอื ดอยอนิ ทนนท ประมาณ 2,565 ตารางกโิ ลเมตรเหนือระดับนํ้าทะเล รวมท้ังยังปกคลุม
ดว ยปาไมอ นั เปนตน น้ําลาํ ธารท่สี าํ คญั ของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญเปนพ้ืนท่ีของทร่ี าบสูง
โคราช สภาพของดนิ คอนขางแหง แลงและไมเ ออื้ อาํ นวยตอการเพาะปลูกผกั แมน ้ําเจาพระยาเกิดจากแมน า้ํ
หลายสายทไ่ี หลมาบรรจบกันท่ีปากน้ําโพ จังหวัดนครสวรรค อันไดแก แมน้ําปง แมนาํ้ วัง แมน้ํายม
และแมน าํ้ นาน ทําใหภ าคกลางกลายเปนทรี่ าบลุมแมน า้ํ ท่ีมีความอดุ มสมบรู ณท ่ีสุดในประเทศ และถอื ไดวา เปน
แหลงปลูกขา วท่ีสําคญั แหงหนง่ึ ของโลก ภาคใตเปน สวนหน่ึงของคาบสมทุ รไทย-มาเลย ขนาบดวยทะเลทั้งสอง
ดา น มจี ุดท่ีแคบลง ณ คอคอดกระ แลว ขยายใหญเปนคาบสมุทรมลายู สวนภาคตะวันตกเปนหุบเขาและแนว
เทือกเขาซง่ึ พาดตวั มาจากทางตะวันตกของภาคเหนือ
แมน้ําเจาพระยาและแมนํ้าโขงถือเปนแหลงเกษตรกรรมท่ีสําคัญของประเทศไทย การผลิตของ
อตุ สาหกรรมการเกษตรจะตอ งอาศัยผลผลติ ที่เก็บเก่ียวไดจากแมนา้ํ ทงั้ สองและสาขาทง้ั หลาย อา วไทยกนิ พ้นื ที่
ประมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร ซ่ึงไหลมาจากแมน า้ํ เจาพระยา แมน้าํ แมก ลอง แมนํ้าบางปะกง และแมน ํ้าตาป
ซึ่งเปนแหลง ดึงดดู นักทอ งเท่ยี ว เนื่องจากน้ําต้ืนใสตามแนวชายฝงของภาคใตและคอคอดกระ อาวไทยยังเปน
ศนู ยกลางทางอตุ สาหกรรมของประเทศ เนื่องจากมีทาเรือหลักในสัตหีบ และถือไดวาเปนประตูที่จะนําไปสู
ทาเรืออนื่ ๆ ในกรุงเทพมหานคร สว นทะเลอนั ดามันเปน แหลง ทรัพยากรธรรมชาติทม่ี ีคุณคา มากที่สดุ เนอื่ งจาก
มรี สี อรท ทไี่ ดร ับความนิยมอยางสงู ในทวีปเอเชยี รวมถงึ จังหวัดภูเก็ต จงั หวัดกระบ่ี จังหวดั ระนอง จงั หวัดพังงา
จงั หวัดตรัง เปนตน
ผานกแอน ในอุทยานแหงชาตภิ ูกระดงึ
45
ภมู ิภาค
สภาวิจยั แหง ชาตไิ ดแบง ประเทศไทยออกเปน 6 ภมู ิภาค ตามลกั ษณะธรรมชาติ รวมถึงธรณีสันฐาน
และทางน้ํา รวมไปถึงรูปแบบวฒั นธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต ภูมิภาคทางภูมิศาสตรทั้งหกน้ีมีความแตกตางกันโดยมี
เอกลกั ษณของตนเองในดา นประชากร ทรพั ยากรพน้ื ฐาน ลกั ษณะธรรมชาติ และระดบั ของพัฒนาการทางสังคม
และเศรษฐกจิ ความหลากหลายในภมู ภิ าคตา ง ๆ เหลานไี้ ดเปนสว นสาํ คญั ตอลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย
ปา สนในจงั หวดั เชียงใหม
ภาคเหนือ มีลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาสูงสลับกับหุบเขาและพื้นท่ีสูงซึ่งติดตอกับเขตที่ราบลุม
ตอนกลางของประเทศ มีทิวเขาที่วางตวั ยาวในแนวเหนอื -ใต ระหวางทิวเขาจะมีหุบเขาและแองท่ีราบระหวาง
ภูเขาเปนที่ตั้งของตัวจังหวดั เชน จงั หวัดเชยี งราย เชยี งใหม แมฮ องสอน นาน และแพร ทิวเขาทส่ี ําคัญไดแ ก ทิวเขา
ถนนธงชยั ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาขุนตาน ทวิ เขาผีปน นํ้า และทิวเขาหลวงพระบาง ชว งฤดูหนาวในเขตภูเขาของ
ภาคเหนือ อณุ หภูมิตาํ่ เหมาะสมตอ การปลกู ไมผ ลเมืองหนาว อาทิ ลิ้นจแี่ ละสตรอวเบอรรี่ แมน้ําในภาคเหนือ
หลายสาย รวมไปถงึ แมนา้ํ ปง แมน ํ้าวัง แมน ํ้ายม และแมน ํา้ นา น ไหลมาบรรจบกันและกอใหเกิดเปนท่ีราบลุม
แมน ้ําเจา พระยา ในอดีตลักษณะทางธรรมชาติเหลานี้ทําใหภาคเหนือสามารถทําการเกษตรไดหลายประเภท
รวมไปถึงการทาํ นาในหุบเขาและการปลกู พชื หมนุ เวียนในเขตพน้ื ท่สี ูง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ประกอบดวยจังหวัด 20 จังหวัด มีเน้ือที่ 168,854 ตาราง-
กิโลเมตร หรือประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นท่ีท้ังประเทศ สภาพพื้นที่อยูบนที่ราบสูง มีแมน้ําโขงเปนแมน้ําสายหลัก
อาชพี หลัก คือ การทํานา ปลูกออย มันสําปะหลัง ยางพารา และผลิตผาไหม เปนอุตสาหกรรม ซ่ึงมีบทบาท
สําคัญตอเศรษฐกิจ เนื่องจากผาไหมเปนท่ีนิยมท้ังคนไทยและชาวตางชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบง
ลักษณะภมู -ิ ประเทศ เปน 5 เขต ไดแก
46
ทิวเขาดา นทศิ ตะวนั ตก ประกอบดวยทิวเขาดงพญาเย็น มลี กั ษณะเดน คือ สวนที่เปนหินทราย
จะยกตัวสูงขึน้ เปน ขอบชันกับพน้ื ท่ีภาคกลาง และมภี ูเขายอดตัดจํานวนมาก ไดแก ภูเรือ ภหู อ ภูหลวง ภูกระดึง
เปน ภูเขาหินทราย พบภูเขาหนิ ปนู แทรกสลบั อยูบา ง
ทวิ เขาทางดา นใต มีทวิ เขาสนั กาํ แพงและทวิ เขาพนมดงรักเปนทิวเขาหลัก ทิวเขาสันกําแพงมี
ลกั ษณะเปนหนิ ปนู หนิ ดินดานภูเขาไฟ และหินทราย สวนทิวเขาพนมดงรักเปน ทิวเขาทีเ่ ปนภูเขาหินทราย และ
ยงั มีภเู ขาไฟดบั แลวตง้ั อยู
ทิวเขาตอนกลาง เปน เนินและภูเขาเตีย้ เรยี กวา ทิวเขาภูพาน
ท่รี าบแองโคราช เปนพื้นทร่ี าบของลุมน้ําชี และมูล ท่ีไหลลงสูแมนํ้าโขง เปนที่ราบที่มีเน้ือที่
กวา งที่สุดของประเทศ จุดเดนของแองโคราชคือ มีการพบซากดึกดําบรรพ ไมกลายเปนหิน ชางโบราณและ
ไดโนเสารจํานวนมาก
แองสกลนคร เปนที่ราบบริเวณฝงแมน้ําโขง มีแมน้ําสายส้ัน ๆ เชน แมน้ําสงคราม เปนตน
บริเวณนมี้ ีหนองนา้ํ ขนาดใหญ เรยี กวา "หนองหาน" เกดิ จากการยุบตัวจากการละลายของเกลือหิน
ทวิ เขาเพชรบรู ณ
ภาคกลาง เปน พน้ื ท่ที ่ีมคี วามสมบูรณท างธรรมชาติ จนไดรบั การขนานนามวา "อูขาวอูน้ํา" มีระบบ
ชลประทานทไี่ ดพ ฒั นาสําหรับเกษตรกรรมทาํ นาในภาคกลาง โดยไดพ ัฒนาตอ เน่อื งมาตง้ั แตอ าณาจักรสุโขทัย
มาจนถงึ ปจจบุ ัน ภูมปิ ระเทศเปน ทรี่ าบลุมมแี นวภูเขาเปนขอบดานตะวนั ออกและตะวนั ตก ไดแ ก ทวิ เขาเพชรบูรณ
และทิวเขาถนนธงชัย ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรบรเิ วณภาคกลางตอนบนเปนท่ีราบเชิงเขา ลานพักลําน้ํา และเนิน
ตะกอนรปู พดั สว นดานตะวันออกเปน ทีร่ าบลาดเนนิ ตะกอนเชงิ เขาและภูเขาโดดเต้ีย ๆ ซ่ึงเปนภูเขาไฟเกา พบท้ัง
47
หนิ บะซอลต หนิ ไรโอไลต และหินกรวดภเู ขาไฟมีพ้ืนทีร่ าบลุมแมนํา้ ยม แมนา้ํ เจา พระยาตอนบน และแมน ํา้ ปา สกั
สวนภาคกลางตอนลาง มีลักษณะเปนท่ีราบลุมโดยตลอด มีลานตะพักลําน้ําเปนที่ราบนํ้าทวมถึง และคันดิน
ธรรมชาติยาวขนานตามแมน ้ําเจา พระยา แมนา้ํ ลพบุรี แมนํ้าปาสกั แมนํ้าทาจีน ที่ราบภาคกลางตอนกลางมีชื่อ
เรียกวา "ทุงราบเจาพระยา" เร่ิมตัง้ แตจงั หวัดนครสวรรคไ ปจนสุดอาวไทย
ภาคตะวนั ออกประกอบดว ย7 จังหวัด มอี าณาเขตทศิ เหนือติดกับภาคกลางและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ทิศตะวันออก ติดกับราชอาณาจกั รกมั พชู า ทศิ ใตและทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั อา วไทย มีเน้ือท่ี 34,380 ตารางกิโลเมตร
ภูมิประเทศของภาคตะวันออกแบงได 4 ลกั ษณะ คอื ภูมปิ ระเทศสวนทิวเขา มีทิวเขาสันกําแพง ทิวเขาจันทบุรี
และทวิ เขาบรรทดั ภมู ปิ ระเทศสว นทีเ่ ปนที่ราบลุมน้ํา คือ ท่ีราบลุมนํ้าบางปะกง ที่ราบชายฝงทะเล ต้ังแตปาก
แมน้าํ บางปะกงไปจนสุดเขตแดนท่ีจังหวัดตราด สวนใหญช ายฝง ทะเล จะมหี าดทรายสวยงาม ทง้ั สว นเกาะและ
หมเู กาะ เชน เกาะสีชงั เกาะเสม็ด หมเู กาะชา ง และเกาะกูด
เมืองพทั ยา
ภาคตะวนั ตก ประกอบดว ย 5 จงั หวดั มีเน้อื ท่ี 53,679 ไร มีเทือกเขาตะนาวศรีเปนเทือกเขายาวตั้งแต
ภาคเหนือมาถงึ ภาคตะวนั ตกของประเทศ และเปน พรมแดนทางธรรมชาตริ ะหวางไทยกบั พมา สภาพภูมปิ ระเทศ
ของภาคตะวนั ตก มลี กั ษณะเชนเดยี วกบั ภาคเหนือ โดยมภี ูเขาสงู สลับกบั หุบเขา ซงึ่ มแี มน ้าํ ไหลผาน มีที่ราบลุมน้ํา
สําคัญ ไดแก ท่ีราบลมุ น้าํ ปง -วงั ที่ราบลุมน้าํ แมก ลอง และท่ีราบลมุ นาํ้ เพชรบุรี ภาคตะวันตกมีพ้ืนที่ปาที่อุดม-
สมบรู ณเปนจํานวนมาก ทรพั ยากรนํ้าและแรธาตุ เปนทรัพยากรท่ีสําคัญของภาค โดยอุตสาหกรรมเหมืองแร
ถือวา เปนอตุ สาหกรรมหลัก นอกจากน้ีภาคตะวนั ตกยงั เปนทต่ี ้งั ของเขื่อนท่สี ําคญั ของประเทศ
48
หาดมาหยา ในหมเู กาะพีพี
ภาคใต เปน สว นหนงึ่ ของคาบสมทุ รแคบ ๆ มีความแตกตางกับภาคอ่ืน ๆ ของไทยทั้งในดานสภาพ
ภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และทรพั ยากร ลักษณะภูมิประเทศของภาคใตแบง เปน 4 แบบ ไดแ ก
ทวิ เขา ประกอบดว ยทิวเขาสําคญั ไดแก ทิวเขาภูเกต็ ทวิ เขานครศรธี รรมราชและทิวเขาสนั กาลาคีรี
ท่รี าบฝง อาวไทยและท่ีราบฝง อนั ดามัน โดยทีร่ าบฝง อาวไทย ตั้งอยทู างตะวันออกของภาคใต
มีลกั ษณะเปนอา วขนาดใหญก ระจดั กระจาย ชายฝงคอนขางเรียบตรง และมีหาดทรายสวยงาม และยังมีสวนที่
เปนหาดเลนและโคลน จะเปนปาชายเลน มีลักษณะเดน คือ มีแหลมท่ีเกิดจากการทับถมของทรายและโคลน
2 แหง ไดแ ก แหลมตะลุมพกุ จังหวัดนครศรีธรรมราช และแหลมตาชี จังหวัดปตตานี และมีทะเลสาบสงขลา
เปนทะเลสาบ 3 น้ํา คือ นาํ้ เค็ม นา้ํ จดื และน้ํากรอ ย ซึ่งจะตา งกนั ตามสภาพการรับน้ําที่ไหลเขาทะเลสาบ ท่ีเกิด
จากคลนื่ และกระแสน้ําพดั พาตะกอนทรายไปทับถมเปน แนวสนั ทราย สวนท่ีราบฝงทะเลอันดามัน จะอยูดาน
ตะวนั ตกของภาค มีลักษณะเปนชายฝง แบบยบุ ตัว มีท่ีราบแคบเน่ืองจากมีชายเขาและหนาผาติดชายฝง และมี
หาดทรายขาวแคบ ๆ
เกาะ ภาคใตมีเกาะและหมเู กาะมากมาย โดยฝง อาวไทยมีเกาะสาํ คัญเชน เกาะสมยุ เกาะพงนั หมเู กาะ-
อางทอง เปนตน สว นฝงอันดามนั มีเกาะภูเก็ต ซงึ่ เปน เกาะท่ีใหญท่ีสุดในประเทศไทย หมูเกาะพีพี หมูเกาะสิมิลัน
เกาะตะรุเตา
เศรษฐกจิ ของภาคใต ข้ึนอยกู ับการผลติ ยางสําหรบั อตุ สาหกรรม การปลูกมะพราว การทําเหมืองแร-
ดบี ุก และการทอ งเที่ยว โดยเฉพาะอยางย่ิง จงั หวัดภูเกต็ ซงึ่ ไดรบั ความนิยมอยา งมาก ลักษณะเดนของภูมิประเทศ
แบบมว นตัวกบั ภูเขาและการขาดแมนํ้าสายใหญ ๆ มแี นวภเู ขาซ่งึ เรยี งตัวกันในแนวเหนือ-ใต และ ปาฝนเขตรอน
อนั ลกึ ลับไดทําใหเ กดิ การโดดเด่ียวในยุคเร่ิมตน และการพัฒนาทางการเมืองแยกตางหากกับสวนอ่ืน ๆ ของ
49
ประเทศ การเขาถงึ ทะเลอนั ดามันและอาวไทย ทาํ ใหภ าคใตเ ปนทางผานของทั้งพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
โดยมศี นู ยกลางอยทู ีจ่ งั หวดั นครศรธี รรมราช และศาสนาอสิ ลาม โดยอดตี มศี ูนยก ลางอยทู ่ีอาณาจกั รปต ตานี ซึง่
มพี รมแดนติดตอกบั ประเทศมาเลเซยี
3.2 ภูมิอากาศ
พื้นท่สี วนใหญของประเทศไทยมลี ักษณะภมู ิอากาศแบบรอ นช้นื หรอื แบบสะวันนา ตามการแบงเขต
ภมู ิอากาศแบบเคิปเปน ในขณะทีภ่ าคใตแ ละทางตะวนั ออกสุดของภาคตะวันออกเปน เขตภูมอิ ากาศแบบมรสุม
เขตรอน ทัว่ ประเทศมอี ณุ หภมู ิเฉล่ยี ระหวา ง 19-38°C ในฤดูแลง อณุ หภูมเิ พิ่มสงู ขน้ึ อยา งรวดเรว็ ในชว งคร่งึ หลัง
ของเดือนมนี าคม โดยสงู กวา 40°C ในบางพืน้ ที่ในชว งกลางเดือนเมษายนเม่ือดวงอาทิตยเคลื่อนผานจุดเหนือ
ศีรษะ
มรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตซง่ึ พัดเขา สปู ระเทศไทยระหวา งเดอื นพฤษภาคมและกรกฎาคม (ยกเวน ภาคใต)
เปน จดุ บง ชว้ี าประเทศไทยเขาสูฤดูฝน ซ่ึงกินเวลาจนถึงเดือนตุลาคม และเมฆซ่ึงปกคลุมทําใหอุณหภูมิลดลง
แตมคี วามชื้นสงู มาก เดอื นพฤศจิกายนและเดือนธนั วาคมเปน จุดเร่มิ ตนของฤดแู ลง และอณุ หภมู ใิ นเวลากลางคืน
เหนอื พืน้ ดนิ สามารถลดตํ่าลงกวา จดุ เยอื กแข็ง อณุ หภูมิเพิม่ สงู ขึ้นอีกคร้ังในชวงเดือนมกราคม เมื่อดวงอาทิตย
สอ งแสงมายงั ภมู ิประเทศ ฤดูแลงในภาคใตมรี ะยะเวลาส้นั ทีส่ ุด เน่ืองจากการที่ภาคใตต ั้งอยูใ กลท ะเลจากทุกดา น
ในคาบสมุทรมลายู พ้ืนทที่ ั้งประเทศไดร บั ปรมิ าณฝนอยา งเพยี งพอ ยกเวนบางพ้ืนที่เทา นน้ั แตระยะเวลาของฤดู
ฝนและปรมิ าณฝนมีความแตกตา งกนั ไปตามภมู ิภาคและระดบั ความสูง
ประเทศไทยยงั คงมีความหลากหลายทางชีวภาพของทง้ั พืชและสตั วอยมู าก อนั เปนรากฐานอันมนั่ คง
ของการผลติ ในภาคการเกษตร และประเทศไทยไดม ผี ลไมเมอื งรอ นหลากชนิดพน้ื ที่ราว 29% ของประเทศไทย
เปน ปา ไม รวมไปถึงพื้นท่ปี ลูกยางพาราและกจิ กรรมปลูกปาบางแหงประเทศไทยมีเขตรักษาพันธุสัตวปากวา
50 แหง เขตหา มลา สตั วปาอีก 56 แหง โดยพื้นที่ 12% ของประเทศเปนอุทยานแหงชาติ (ปจจุบันมี 110 แหง)
และอกี เกอื บ 20% เปนเขตปาสงวนประเทศไทยมีพืช 15,000 สปชสี คดิ เปน 8% ของสปชีสพืชทั้งหมดบนโลก
ในประเทศไทย พบนกจาํ นวน 982 ชนิด นอกจากน้ี ยังเปน ถนิ่ ทีอ่ ยขู องสัตวส ะเทินน้ําสะเทินบก นก สัตวเลี้ยง
ลกู ดวยน้าํ นม และสตั วเ ลือ้ ยคลานกวา 1,715 สปช ีส
50
3.3 ทรัพยากรธรรมชาติ
ประเทศไทยเปน ประเทศทีม่ ที รัพยากรธรรมชาตอิ ยอู ยา งมากมายแบงได ดงั น้ี
ทรัพยากรดิน ในประเทศไทยแบงออกเปน 4 ชนิด ไดแก ดินเหนียว พบไดในบริเวณแองโคราช
ทีร่ าบลมุ แมน ํ้าบางปะกง แมน้ําแมก ลอง แมนา้ํ ตาป แมนา้ํ ปากพนงั ดินรวน พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบน และภาคเหนือ ดินทราย พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดินอินทรีย
พบมากในปาพรุ เชน ปาพรสุ ิรินธร จงั หวัดนราธวิ าส
ทรพั ยากรปา ไม ปา ไมจะกระจายอยูทวั่ ประเทศ มีลักษณะแตกตางกันตามภูมิประเทศและภูมิอากาศ
มี 2 ประเภท ไดแ ก ปาผลดั ใบ พบไดในทกุ ภมู ิภาค แตภาคใตพบนอยที่สุด และปาไมผลัดใบ สวนใหญอยูใน
พ้ืนที่ภาคใต และบนภูเขาสูงท่ีมีความชุมชื้น เชน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติเขาใหญ
อทุ ยานแหง ชาตภิ ูสอยดาว เปนตน
ทรัพยากรนํ้า ในประเทศไทยมีแหลงนํ้าสําคัญ 2 แหลงคือ จากน้ําผิวดิน ซึ่งมีแมนํา้ เจาพระยาเปน
แมน้ําสายสําคัญที่สุดของประเทศ นอกจากน้ียังมีแมน้ําตาง ๆ ตามภูมิภาค เชน แมนํ้ามูล ชี ปง วัง ยม นาน
แมก ลอง ตาป เปนตน และจากนา้ํ บาดาล
ทรัพยากรแรธ าตุ พบอยูท่ัวไปในทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย แตกตางกันตามสภาพทางธรณีวิทยา
เชน สงั กะสพี บมากในภาคตะวนั ตกและภาคเหนือ ดีบุกพบมากในภาคใต แรรัตนชาติพบมากในภาคตะวันออก
และแรเ ชอ้ื เพลงิ ซ่งึ พบมากในอาวไทย เชน แกส ธรรมชาติ สว นลกิ ไนตจะพบมากในภาคเหนือ
3.4 ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต
ประเทศไทย ตง้ั อยบู นพ้นื ฐานของเอกลักษณและความศรทั ธาของไทยสมยั ใหม ทาํ ใหพุทธศาสนาใน
ประเทศไทยไดมีการพฒั นาตามกาลเวลา ซึ่งรวมไปถึงการรวมเอาความเช่ือทอ งถน่ิ ที่มาจากศาสนาฮนิ ดู การถอื ผี
และการบูชาบรรพบุรุษ สวนชาวมุสลิมอาศัยอยูทางภาคใตของประเทศไทยเปนสวนใหญ รวมไปถึงชาวจีน
โพน ทะเลทเี่ ขามามีสว นสาํ คัญอยูในสงั คมไทยโดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในพ้นื ท่กี รงุ เทพมหานครและใกลเ คียง ซึ่งการ
ปรบั ตวั เขากบั สังคมไทยไดเปน อยางดี ทําใหกลุมชาวจนี มีตําแหนง และบทบาททางเศรษฐกจิ และการเมอื ง
วัฒนธรรมไทยมีสว นทค่ี ลา ยคลึงกบั วัฒนธรรมเอเชีย กลาวคือ มีการใหความเคารพแกบรรพบุรษุ ซงึ่
เปนการยึดถือปฏิบัติกันมาอยางชานาน ชาวไทยมักจะมีความเปนเจาบานและความกรุณาอยางดี แตก็มี
ความรูสึกในการแบง ชนชน้ั อยางรุนแรงเชนกนั ความอาวโุ สเปนแนวคิดท่ีสําคัญในวัฒนธรรมไทยอยางหนึ่ง
ผอู าวุโสจะตอ งปกครองดูแลครอบครัวของตนตามธรรมเนยี ม และนองจะตองเช่อื ฟงพ่ี
51
การทักทายตามประเพณีของไทย คือ การไหว ผูนอยมักจะเปนผูทกั ทายกอนเม่ือพบกัน และผูท่ี
อาวุโสกวา กจ็ ะทกั ทายตอบในลกั ษณะท่คี ลา ย ๆ กัน สถานะและตําแหนงทางสงั คมก็มสี วนตอ การตัดสนิ วา ผูใด
ควรจะไหวอ ีกผูหน่ึงกอนเชนกัน การไหวถือวาเปนสัญลักษณในการใหความเคารพและความนับถือแกอีก
ผูหนงึ่
ศิลปะ
พระทนี่ ัง่ ไอศวรรยทพิ ยอาสน พระราชวงั บางปะอนิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
จติ รกรรมไทย เปนลักษณะอุดมคติ เปนภาพ 2 มติ ิ โดยนาํ สิง่ ใกลไวต อนลางของภาพ ส่ิงไกล
ไวตอนบนของภาพ ใชสีแบบเบญจรงค คือ ใชหลายสีแตมสี ีทโี่ ดดเดนเพียงสีเดียว
ประติมากรรมไทยเดิม ชางไทยทํางานประติมากรรมเฉพาะส่ิงศักดิ์สิทธิ์ เชน พระพุทธรูป
เทวรูป โดยมสี กลุ ชา งตาง ๆ นับตั้งแตกอนสมัยสุโขทัย เรียกวา สกุลชางเชียงแสน สกุลชางสุโขทัย สกุลชาง
อยธุ ยา และสกุลชางรัตนโกสินทร โดยใชทองสาํ ริดเปน วัสดหุ ลกั ในงานประติมากรรม เนื่องจากสามารถแกะ
แบบดว ยขี้ผึง้ และตกแตงไดแลวจึงนําไปหลอโลหะ เมื่อเทียบกับประติมากรรมศิลาในยุคกอนน้ัน งานสําริด
นับวา ออ นชอยงดงามกวามาก
สถาปตยกรรมไทย มีปรากฏใหเห็นในชั้นหลัง เน่ืองจากงานสถาปตยกรรมสวนใหญชํารุด
ทรดุ โทรมไดง า ย โดยเฉพาะงานไม ไมปรากฏรอ งรอยสมัยโบราณเลย สถาปตยกรรมไทยมใี หเห็นอยใู นรูปของ
บา นเรอื นไทย โบสถ วดั และปราสาทราชวงั ซ่งึ ลว นแตสรา งข้ึนใหเหมาะสมกบั สภาพอากาศและการใชส อยจรงิ
52
แกงมัสม่ัน
อาหารไทย
อาหารไทยเปนการผสมผสานรสชาติความหวาน ความเผ็ด ความเปรี้ยว ความขม และความเค็ม
สวนประกอบซ่ึงมักจะใชในการปรงุ อาหารไทย รวมไปถึง กระเทยี ม พรกิ น้ํามะนาว และน้ําปลา และวัตถุดิบ
สําคญั ของอาหารในประเทศไทย คือ ขาว โดยมีขาวกลองและขาวซอมมือเปนพ้ืน มีคุณลักษณะพิเศษ คือ ให
คุณคาทางโภชนาการครบถวน และใหสรรพคุณทางยาและสมุนไพร อาหารท่ีข้ึนชื่อที่สุดของคนไทย คือ
นา้ํ พริกปลาทู พรอ มกับเครอื่ งเคยี งทจ่ี ดั มาเปนชุด สวนอาหารที่ไดรับความนยิ มและเปนท่รี ูจกั ไปทั่วโลกนั้นคือ
ตมยาํ กุงเม่อื พ.ศ. 2554 เว็บไซต CNNGO ไดจัดอันดับ 50 เมนูอาหารท่ีอรอยท่ีสุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียง
ทางเฟสบคุ ปรากฏวา แกงมสั มัน่ ไดร ับเลอื กใหเปนอาหารทอี่ รอ ยทส่ี ดุ ในโลก
ภาพยนตรไทย
ภาพยนตรไ ทยมีประวตั คิ วามเปนมาที่ยาวนาน ปจ จุบันประเทศไทยมภี าพยนตรท่ีมงุ สตู ลาดโลก เชน
ภาพยนตรเรอื่ ง ตมยาํ กุง ทีส่ ามารถข้ึนไปอยบู นตารางบอ็ กซอ อฟฟศในสหรัฐอเมริกา และยังมีภาพยนตรไทย
หลายเรื่องท่ีเปนท่ียอมรับในเทศกาลภาพยนตร ลาสุด ภาพยนตรเร่ือง ลุงบุญมีระลึกชาติ กํากับโดย
อภชิ าตพงศ วรี ะเศรษฐกุล ไดร บั รางวัลปาลม ทองคาํ จากงานเทศกาลภาพยนตรเมืองคานส คร้ังที่ 63 นับเปน
ภาพยนตรจากภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตเรอ่ื งแรกที่ไดรบั รางวลั น้ี นอกจากน้นั ปจจุบันเยาวชนไทยไดห นั
มาสนใจผลติ หนงั ส้นั เขา ประกวดในระดับนานาชาติ เปนความคิดสรางสรรคงานทั้งทีเ่ ปนหนงั สัน้ และแอนนิเมชน่ั
53
ดนตรีไทย
ดนตรีในประเทศไทยน้ันไดรับอิทธิพลมาจากประเทศตางๆ ดนตรีไทยเปนดนตรีท่ีมีความไพเราะ
นา ฟง มี 4 ประเภท ไดแ ก ดดี สี ตี เปาในอดตี ดนตรีไทยนยิ มเลนในการขับลาํ นําและรองเลน ตอมามีการนําเอา
เครือ่ งดนตรีจากตางประเทศเขามาผสม ดนตรีไทยนิยมเลนกันเปนวง เชน วงปพาทย วงเครื่องสาย วงมโหรี
ดนตรไี ทยเขามามีบทบาทในชวี ติ ประจําวันมากขึ้น โดยใชประกอบงานมงคล งานอวมงคล ฯลฯ ในปจจุบัน
ดนตรไี ทยไมค อ ยเปนที่นยิ มกนั แพรหลายนกั เนอ่ื งจากหาดไู ดยาก คนสวนใหญจ งึ ไมคอยรจู ักดนตรีไทย
การปลอ ยโคมลอยในงานประเพณียเ่ี ปง
เทศกาลประเพณี
เทศกาลประเพณีในประเทศไทยน้ันมีความหลากหลายและอลังการ ท้ังประเพณีไทยด้ังเดิม เชน
ประเพณีสงกรานต ประเพณลี อยกระทง ประเพณตี ักบาตรดอกไม ประเพณบี ญุ บ้ังไฟ และประเพณีที่เปนสากล
เชน เทศกาลวันครสิ ตมาส เทศกาลวันข้นึ ปใ หม ฯลฯ
สรุปจุดเดนของประเทศไทย ท้ังดานทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทําเลท่ีต้ัง
ประเพณี วัฒนธรรม และวถิ ชี วี ิต และความสามารถของคนไทย ที่สามารถนํามาเปนจดุ ขายเพอื่ การสรางงาน
54
อาชพี ใหก บั คนไทยไดอยา งมากมาย หากสามารถดงึ ศักยภาพเหลานั้นมาคดิ และหาแนวทางการสรา ง
งานทีส่ อดคลองกบั ความรู ความสามารถของตนเองได
4. กลุมอาชพี ท่สี มั พนั ธกับศกั ยภาพของประเทศไทย
อาชีพ หมายถึง การทํากิจกรรม การทํางาน การประกอบการท่ีไมเปนโทษแกสังคม
และมรี ายไดต อบแทน โดยอาศยั แรงงาน ความรู ทักษะ อุปกรณ เครือ่ งมอื วิธกี าร แตกตา งกันไป
ประเภทและลักษณะของอาชีพ การแบงประเภทของอาชีพ สามารถจัดแบงตามลักษณะไดเปน
2 ลักษณะ คือ การแบง ตามเนื้อหาวิชาของอาชพี และแบง ตามลกั ษณะของการประกอบอาชพี
ลกั ษณะที่ 1 การแบงอาชีพตามเน้ือหาวิชาของอาชีพ สามารถจัดกลุมอาชีพตามเนื้อหาวิชาไดเปน
6 ประเภท ดังนี้
1. อาชีพเกษตรกรรม ถอื วาเปนอาชพี หลกั และเปน อาชพี สาํ คัญของประเทศ ปจจุบันประชากรของ
ไทยไมน อยกวา รอยละ 60 ยังประกอบอาชีพนี้อยู อาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพเกี่ยวเน่ืองกับการผลิต การจัด
จําหนา ยสินคา และบริการทางดานการเกษตร ซง่ึ ผลผลติ ทางการเกษตร นอกจากใชในการบรโิ ภคเปน สว นใหญ
แลวยังใชเปนวัตถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกดวย อาชีพเกษตรกรรม ไดแก การทํานา ทําไร ทําสวน
เลย้ี งสัตว ฯลฯ
2. อาชีพอุตสาหกรรม การทําอุตสาหกรรม หมายถึง การผลิตสินคาอันเนื่องมาจาก
การนําเอาวัสดุ หรือสินคาบางชนิดมาแปรสภาพใหเกิดประโยชนตอผูใชมากข้ึน กระบวนการประกอบการ
อุตสาหกรรม ประกอบดวย
วตั ถดุ ิบหรอื สนิ คา ผา น กระบวนการ สนิ คา สาํ เรจ็ รูป จาํ หนา ย ผูบ รโิ ภค
ผลผลติ ไดผ ลผลติ
ในขน้ั ตอนของกระบวนการผลติ มีปจ จัยมากมายนับต้ังแตแ รงงาน เครอื่ งจกั ร เครอื่ งมอื เครื่องใช เงนิ ทนุ ท่ดี นิ
อาคาร รวมทั้งการบริหารจดั การ
การประกอบอาชีพอตุ สาหกรรมแบง ตามขนาด ไดดังนี้
2.1 อตุ สาหกรรมในครอบครัว เปน อตุ สาหกรรมทีท่ าํ กนั ในครัวเรอื น หรอื ภายในบา น ใชแ รงงานคน
ในครอบครวั เปน หลกั บางทอี าจใชเ ครอื่ งจกั รขนาดเลก็ ชวยในการผลติ ใชว ัตถุดบิ วสั ดุที่หาไดใ นทอ งถนิ่ มาเปน
ปจจยั ในการผลติ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื นเชน การทอผา การจกั สาน การทาํ รม การทาํ อฐิ มอญ การทาํ ถว่ั เนา แผน
55
น้ําพริกลาบ นาํ้ มันงา ฯลฯ ลักษณะการดําเนินงานไมเ ปนระบบมากนัก รวมทัง้ การใชเ ทคโนโลยีแบบงา ย ๆ ไม
ยุง ยากซบั ซอ น และมกี ารลงทนุ ไมมาก
2.2 อุตสาหกรรมขนาดยอม เปนอตุ สาหกรรมทม่ี ีการจา งคนงานไมเ กิน 50 คน ใชเงนิ ทุนดําเนินการ
ไมเกิน 10 ลานบาท อุตสาหกรรมขนาดยอม ไดแก โรงกลึง อูซอมรถ โรงงานทําขนมปง โรงสีขาว เปนตน
ในการดาํ เนินงานของอุตสาหกรรม ขนาดยอมมขี บวนการผลติ ไมซ บั ซอ น และใชแรงงานท่ีมีฝม อื ไมม าก
2.3 อุตสาหกรรมขนาดกลาง เปน อตุ สาหกรรมท่ีมกี ารจา งคนงานมากกวา 50 คน แตไมเกิน 200 คน
ใชเ งนิ ทุนดาํ เนนิ การมากกวา 10 ลานบาท แตไ มเกิน 100 ลา นบาท อุตสาหกรรมขนาดกลางไดแก อุตสาหกรรม
ทอกระสอบ อุตสาหกรรมเสอื้ ผา สาํ เรจ็ รูป เปน ตน การดําเนินงานของอตุ สาหกรรมขนาดกลางตอ งมกี ารจัดการ
ที่ดี แรงงานทใ่ี ชตอ งมีทักษะ ความรู ความสามารถในกระบวนการผลติ เปนอยา งดี เพือ่ ทจ่ี ะไดส นิ คา ท่มี ีคณุ ภาพ
ระดับเดียวกนั
2.4 อุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนอุตสาหกรรมที่มีคนงานมากกวา 200 คนขน้ึ ไป เงินทุนในการ
ดําเนนิ การมากกวา 200 ลา นบาท อุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรมผลิตแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมถลุงเหลก็
อตุ สาหกรรมประกอบรถยนต อตุ สาหกรรมผลิตเครื่องใชไฟฟา เปนตน อุตสาหกรรมขนาดใหญมีระบบการ
จัดการที่ดี ใชคนทม่ี ีความรู ทักษะ ความสามารถเฉพาะดาน หลายสาขา เชน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกสในการ
ดําเนนิ งานผลิตมกี รรมวิธีทยี่ ุงยาก ใชเ ครือ่ งจกั ร คนงาน เงินทุน จํานวนมากข้ึน มีกระบวนการผลิตที่ทันสมัย
และผลติ สนิ คา ไดทลี ะมาก ๆ มกี ารวาจา งบุคคลระดบั ผูบริหารท่ีมคี วามสามารถ
3. อาชีพพาณชิ ยกรรมและอาชพี บรกิ าร
3.1 อาชีพพาณชิ ยกรรมเปน การประกอบอาชีพท่เี ปนการแลกเปลีย่ นระหวางสนิ คากบั เงนิ สว นใหญ
จะมลี กั ษณะเปนการซื้อมาและขายไป ผูประกอบอาชีพทางพาณิชยกรรมจึงจัดเปนคนกลาง ซ่ึงทําหนาท่ีซ้ือ
สินคาจากผผู ลิตและนํามาขายตอ ใหแ กผบู รโิ ภค ประกอบดวยการคาสง และการคา ปลีก โดยอาจจดั จาํ หนายใน
รูปของการขายตรงหรอื ขายออ ม
3.2 อาชีพบริการ หมายถึง อาชีพที่ทําใหเกิดความพอใจแกผูซื้อ การบริการอาจเปนสินคาที่มี
ตัวตน หรอื ไมมตี วั ตนกไ็ ดการบรกิ ารทีม่ ตี วั ตน ไดแ ก บรกิ ารขนสง บรกิ ารทางการเงนิ สว นบริการท่ีไมมีตัวตน
ไดแก บรกิ ารทอ งเทีย่ ว บริการรักษาพยาบาล เปนตน
3.3 อาชพี พาณิชยกรรม จงึ เปนตวั กลางในการขายสินคา หรือบรกิ ารตา ง ๆ นบั ตัง้ แตการนําวัตถุดิบ
จากผูผลิตทางดานเกษตรกรรม ตลอดจนสนิ คาสาํ เร็จรูปจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมท้ังคหกรรม ศิลปกรรม
หตั ถกรรม ไปใหผ ซู ื้อ หรอื ผูบรโิ ภค อาชีพพาณิชยกรรม จึงเปนกิจกรรมท่สี อดแทรกอยูทกุ อาชีพในการประกอบ-
อาชีพพาณิชยกรรม หรือบริการ ผูประกอบอาชีพจะตองมีความสามารถในการจัดหา มีความคิดริเร่ิม และมี
คุณธรรม จึงจะทาํ ใหการประกอบอาชพี เจรญิ กา วหนา
56
4. อาชพี คหกรรม การประกอบอาชพี คหกรรม เชน อาชพี ท่ีเกยี่ วกับการประกอบอาหาร ขนม การตัดเย็บ
การเสริมสวย ตดั ผม เปน ตน
5. อาชีพหัตถกรรมการประกอบอาชีพหัตถกรรม เชน อาชพี ทีเ่ ก่ียวกับงานชาง โดยการใชมอื ในการผลติ
ชิน้ งานเปน สว นใหญ เชน อาชีพจกั สาน แกะสลัก ทอผาดวยมือ ทอเส่อื เปนตน
6. อาชีพศลิ ปกรรม การประกอบอาชพี ศิลปกรรม เชน อาชีพเกี่ยวของกับการแสดงออกในลักษณะ
ตา ง ๆ เชน การวาดภาพ การปน การดนตรี ละคร การโฆษณา ถายภาพ เปนตน
ลกั ษณะที่ 2 การแบง อาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ การจัดกลุมอาชีพตามลักษณะการ
ประกอบอาชพี แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื อาชพี อสิ ระ และอาชีพรบั จาง
1. อาชีพอสิ ระ หมายถงึ อาชีพทุกประเภททผ่ี ปู ระกอบการดาํ เนินการดวยตนเอง แตเพียงผูเดียวหรือ
เปน กลมุ อาชีพอิสระเปน อาชีพทไี่ มตอ งใชคนจาํ นวนมาก แตหากมีความจาํ เปน อาจมีการจางคนอื่นมาชวยงานได
เจาของกจิ การเปน ผูลงทุน และจาํ หนา ยเอง คดิ และตดั สินใจดว ยตนเองทกุ เรอื่ ง ซึ่งชวยใหก ารพัฒนางานอาชีพ
เปน ไปอยา งรวดเรว็ ทนั ตอ เหตกุ ารณการประกอบอาชีพอสิ ระเชน ขายอาหาร ขายของชาํ ซอมรถจกั รยานยนต ฯลฯ
ในการประกอบอาชีพอิสระ ผูประกอบการจะตอ งมีความรู ความสามารถในเร่ือง การบริหารการจัดการ เชน
การตลาด ทาํ เลที่ตง้ั เงนิ ทุน การตรวจสอบ และประเมนิ ผล นอกจากนยี้ งั ตองมีความอดทนตอ งานหนกั ไมทอถอย
ตอปญ หาอุปสรรคทีเ่ กดิ ขน้ึ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรางสรรค และมองเหน็ ภาพการดําเนินงานของตนเองไดต ลอดแนว
2. อาชีพรับจาง หมายถึง อาชีพที่มีผูอ่ืนเปนเจาของกจิ การ โดยตัวเองเปนผูรับจางทํางานให และ
ไดร ับคาตอบแทนเปน คา จาง หรือเงินเดือน อาชีพรับจา งประกอบดว ย บุคคล 2 ฝา ย ซ่งึ ไดตกลงวาจา งกนั บุคคล
ฝา ยแรกเรยี กวา "นายจา ง" หรอื ผูวา จา ง บคุ คลฝา ยหลัง เรียกวา "ลกู จา ง" หรือ ผรู บั จาง มีคา ตอบแทนที่ผูวาจาง
จะตองจายใหแ ก ผูรบั จางเรยี กวา "คา จาง" การประกอบอาชีพรบั จาง โดยทว่ั ไปมลี ักษณะ เปน การรับจางทาํ งาน
ในสถานประกอบการหรือโรงงาน เปนการรับจางในลักษณะการขายแรงงาน โดยไดรับคาตอบแทนเปน
เงนิ เดือน หรอื คา ตอบแทนท่คี ดิ ตามชนิ้ งานที่ทาํ ได อตั ราคา จางขน้ึ อยกู ับการกาํ หนดของเจาของสถานประกอบการ
หรือนายจา ง การทํางานผูรับจางจะทําอยภู ายในโรงงาน ตามเวลาท่ีนายจางกําหนด การประกอบอาชีพรับจาง
ในลกั ษณะนมี้ ีขอ ดี คือ ไมต องเส่ียงกบั การลงทุน เพราะลูกจางจะใชเครอ่ื งมอื อุปกรณที่นายจา งจดั ไวใ หทาํ งาน
ตามที่นายจา งกาํ หนด แตมีขอ เสีย คอื มกั จะเปน งานทที่ าํ ซา้ํ ๆ เหมอื นกนั ทุกวนั และตอ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ
ของนายจา ง ในการประกอบอาชีพรบั จา งนน้ั มปี จ จยั หลายอยา งท่เี อ้ืออํานวยใหผ ปู ระกอบอาชีพรับจางมีความ
เจรญิ กาวหนาได เชน ความรู ความชาํ นาญในงาน มนี สิ ัยการทํางานท่ดี ี มคี วามกระตอื รือรน มานะ อดทน และมี
วินยั ในการทํางาน ยอมรับกฎเกณฑและเช่ือฟงคําส่ัง มีความซื่อสัตย สุจริต ความขยันหม่ันเพียร รับผิดชอบ
มมี นษุ ยสัมพันธท ด่ี ี รวมท้ังสุขภาพอนามัยทดี่ ี อาชพี ตา ง ๆ ในโลกมมี ากมาย หลากหลายอาชีพ
57
ซึง่ บุคคลสามารถจะเลอื กประกอบอาชพี ไดตามความถนัด ความตองการ ความชอบ และความสนใจ
ไมวาจะเปนอาชีพประเภทใด จะเปน อาชีพอสิ ระ หรืออาชีพรับจาง ถาหากเปนอาชีพที่สุจริตยอมจะทําใหเกิด
รายไดมาสูตนเอง และครอบครัว ถาบุคคลผูนั้นมีความมุงมั่น ขยัน อดทน ตลอดจนมีความรู ขอมูลเกี่ยวกับ
อาชีพตา ง ๆ จะทําใหมองเห็นโอกาสในการเขาสูอาชพี และพัฒนาอาชีพใหม ๆ ใหเกดิ ขึ้นอยูเสมอ
กระทรวงศึกษาธิการ โดย ฯพณฯทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีนโยบายการจัด
การศกึ ษาเพ่ือการมงี านทําใหส ถาบนั การศึกษา และสถานศึกษา ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษา
อาชีพใน 5 กลมุ ดังน้ี
1. เกษตรกรรม
2. อตุ สาหกรรม
3. พาณชิ ยกรรม
4. ความคดิ สรา งสรรค
5. บริหารจดั การและบริการ
โดยพฒั นาหลักสตู รการเรียนการสอนใหส อดคลองกับศักยภาพท่ีมีอยูในทองถ่ิน รวมถึงสนองตอ
ตลาดแรงงานในระดับทอ งถิน่ ประเทศ และภมู ภิ าคของโลก ประชาชนไทยสามารถรับบริการการศึกษาอาชีพได
ณ ศนู ยฝ ก อาชพี ชมุ ชนของสถาบันการศกึ ษา สถานศกึ ษาตา ง ๆ โดยเฉพาะศนู ยฝ ก อาชีพชุมชน กศน. ในระดับ
อําเภอไดท่ัวประเทศ
การมองเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพ
การมองเห็นโอกาสและความสามารถที่จะนําโอกาสน้ันมาประกอบอาชีพไดกอนผูอ่ืน เปนหัวใจ
สําคัญของการประกอบอาชีพ หากผูใดประกอบอาชีพตามที่ตลาดตองการ และเปนอาชีพที่เหมาะสมกับ
สภาพการณใ นขณะนนั้ ผนู ้ันยอ มมโี อกาสประสบความสําเรจ็ เราสามารถพัฒนาตนเองใหมองเห็นโอกาสใน
การประกอบอาชีพ ดงั น้ี
1. ความชาํ นาญจากงานทีท่ าํ ในปจจบุ นั การงานทีท่ าํ อยใู นปจ จุบันจะเปน แหลง ความรู ความคิดท่ีจะ
ชวยใหม องเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพไดม าก บางคนมคี วามชาํ นาญทางดา นการทาํ อาหาร ตัดเยบ็ เสื้อผา
ซอ มเครื่องใชไฟฟา ตอทอน้ําประปา ชางไม ชางปกู ระเบื้อง เปน ตน ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมา
พัฒนาและประกอบเปนอาชีพข้ึนมา บางคนเคยทํางานที่โรงงานทําขนมปง เม่ือกลับไปภูมิลําเนาของตนเอง
สามารถใชป ระสบการณทไ่ี ดรับไปประกอบอาชพี ของตนเองได
58
2. ความชอบ ความสนใจสว นตัว หรืองานอดเิ รก เปนอีกทางหนึ่งทจี่ ะชวยใหมองเห็นโอกาสในการ
ประกอบอาชพี บางคนชอบประดิษฐด อกไม บางคนชอบวาดรูป เปน ตน บุคคลเหลา น้อี าจจะพัฒนางานท่ีชอบ
งานอดิเรกไดกลายเปน อาชีพหลกั ที่ทาํ รายไดเ ปน อยางดี
3. การฟง ความคิดเหน็ จากแหลง ตา ง ๆ การพดู คุยแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกับบุคคลกลุมตาง ๆ เปน
แหลง ความรแู ละกอใหเ กดิ ความคดิ ริเร่ิมเปน อยางดี ในบางครัง้ เรามีความคดิ อยูแลว การไดคุยกับบุคคลตาง ๆ
จะชวยใหการวิเคราะหความคิดชัดเจนข้นึ ชวยใหมองไปขา งหนา ไดอ ยา งรอบคอบ กอ นท่ีจะลงมือทาํ งานจริง
4. การศกึ ษาคน ควาจากหนงั สอื นิตยสารหนังสือพมิ พ การดวู ดี ทิ ศั น ฟง วทิ ยุ ดรู ายการโทรทศั น เปนตน
จะชว ยทาํ ใหเ กดิ ความรูแ ละความคิดใหม ๆ ได
5. ขอ มูล สถิติ รายงาน ขา วสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูที่จะมองหาอาชีพ พัฒนาอาชีพจึงควรใหความสนใจในขอมูล
ขาวสารตางๆ เพอ่ื ตดิ ตามใหท ันตอ เหตกุ ารณ แลวนาํ มาพิจารณาประกอบการตดั สินใจในการประกอบอาชพี
6. ทรัพยากรรอบ ๆ ตวั หรอื ในชุมชน ทเ่ี กีย่ วขอ งกับการประกอบอาชพี ทงั้ ดานทรัพยากรธรรมชาติ
ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ชี วี ติ ท่เี อือ้ ตอ การประกอบอาชีพ ซง่ึ แตล ะพนื้ ทแี่ ตกตางกัน
นอกเหนอื ไปจากความรู ความสามารถทีม่ อี ยู
59
กิจกรรม
1. ใหย กตวั อยา งอาชพี ของคนไทยท่ใี ชศกั ยภาพดา นทรพั ยากรธรรมชาติ มาเปน องคป ระกอบใน
การเลอื กประกอบอาชพี 1 อาชพี
2. อาชีพสมยั ใหมทพ่ี ึงมขี น้ึ ในประเทศไทย ทีเ่ กดิ จากความคิดสรา งสรรคข องคนไทย มีอะไรบา ง
ยกตวั อยา ง 1 อาชพี พรอ มอธิบายประกอบดว ย
3. ในทอ งถนิ่ ทน่ี กั ศึกษาอยู มคี วามโดดเดนในเรอ่ื งใดบา ง ทีส่ ามารถนาํ มาประกอบการตัดสินใจ
เลือกประกอบอาชีพได ใหย กตวั อยา ง 1 อาชีพ
60
บรรณานกุ รม
การศึกษานอกโรงเรยี น, กรม. ชุดวชิ าการพฒั นาโครงการ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สามเจริญพาณิชย จาํ กดั , 2537.
การศกึ ษานอกโรงเรยี น, กรม. ชดุ วิชาวจิ ัยทางการศกึ ษานอกโรงเรยี น การเกบ็ รวบรวมขอ มลู เพื่อการวิจยั .
กรุงเทพฯ : บริษัทประชาชน จาํ กดั , 2538.
การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. ชดุ วชิ าวิจยั ทางการศึกษานอกโรงเรยี น การวเิ คราะหขอ มลู . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั
ประชาชน จาํ กัด, 2538.
เกรยี งศกั ดิ์ หลิวจนั ทรพฒั นา. การวิเคราะหขอ มลู ทางการแพทยแ ละสาธารณสุขดวยคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ :
สํานกั พมิ พจ ฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย, 2538.
ชยันต วรรธณะภูต.ิ คูมือการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพเพื่องานพัฒนา. ขอนแกน : สถาบันวจิ ัยเพ่อื การพัฒนา
มหาวิทยาลัยขอนแกน , เอกสารอดั สาํ เนา.
ณฐั นรี ศรีทอง. การเพม่ิ ศกั ยภาพภาวะความเปน ผูนําในงานพฒั นาชุมชน. กรงุ เทพฯ : โอ เอส พริ้นต้งิ เฮาส,
2552.
ทวปี ศิริรัศม.ี การวางแผนพัฒนาและประเมินโครงการ. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั (สกว.),
2544.
ปาริชาติ วลยั เสถียร และคณะ. กระบวนการและเทคนิคการทาํ งานของนกั พัฒนา. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานกองทนุ
สนับสนนุ การวิจัย (สกว.), 2543.
ศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา. ความหมายเกย่ี วกับแผนงานโครงการ. กรุงเทพฯ : กราฟฟค โกร, 2545.
ศนู ยก ารศกึ ษานอกหอ งเรยี นภาคใต. ชดุ วิชาแผนแมบ ทชมุ ชน. สงขลา : เทมการพิมพ, 2548.
สถาบนั การพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนอื . คมู อื การทาํ วจิ ัยอยา งงา ย.
อุบลราชธานี : บรษิ ัท ยงสวัสดอ์ิ นิ เตอรกรปุ จาํ กดั , 2552.
สถาบนั การศึกษาและพัฒนาตอ เนอื่ งสิรนิ ธร. กระบวนการจดั การศึกษานอกโรงเรยี นและอธั ยาศัย. เอกสาร
ประกอบการอบรมวทิ ยากรกระบวนการจดั การศึกษาเพ่อื เสริมสรา งความเขมแขง็ ของชุมชน,
นครราชสมี า : 2544.
สญั ญา สญั ญาวิวัฒน. ทฤษฎีและกลยุทธก ารพฒั นาสังคม. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ หง จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย,
2543.
สาํ นกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. คมู ือการจดั กระบวนการเรยี นรเู พื่อจดั ทาํ แผนชุมชน. กรงุ เทพฯ : รงั ษี
การพิมพ, 2546.
เสรี พงศพ ิศ. วิธที าํ และวธิ คี ดิ แผนชวี ติ เศรษฐกจิ ชุมชน. กรงุ เทพฯ : 2546.
61
สภุ างค จนั ทวานชิ . วธิ ีการวจิ ยั เชิงคุณภาพ. (พิมพคร้ังท่ี 10) กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พแ หง จฬุ าลงกรณ
มหาวทิ ยาลัย, 2545.
http://www.jd.in.th/e.learning/th33101/pan08/t305.8002.htm.
http://www.tddf.or.th/tddf//:braly/doc/libraly-2007-02-28-240.doc.
http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=192&Itemid
=148
http://www.nmt.or.th/TOTOP/Lists/OTOP2/AllItems.aspx
http://www.aseanthailand.org/index.php
http://www.geocities.com/jea_pat/
http://blog.eduzones.com/offy/5174
ดร.กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ, สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ม.1, สาํ นกั พมิ พ
อกั ษรเจรญิ ทศั น อจท. จาํ กัด, 2548, หนา 24-25
วริ ัช มณสี าร, เรอื โท. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศและลกั ษณะอากาศตามฤดกู าลของภาคตาง ๆ
ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการเลขท่ี 551.582-02-2538, ISBN:974-7567-25-3,
กนั ยายน 2538
ฝา ยกรรมวธิ ขี อ มลู . สถติ ิภูมิอากาศของประเทศไทยในคาบ 30 ป (พ.ศ.2504-2533). รายงาน
ขอมลู อตุ นุ ิยมวิทยาเลขที่ 551.582-02-2537, ISBN : 974-7554-80-1, กองภูมอิ ากาศ,
กรมอตุ ุนยิ มวิทยา, กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
วิรัช มณสี าร, เรือโท. สถิตอิ งคป ระกอบอุตนุ ยิ มวทิ ยาของภาคตางๆ ในประเทศไทย คาบ 30 ป
(พ.ศ.2504-2533) เอกสารวชิ าการเลขที่ 551.582-03-2538, ISBN : 974-7567-24-5,
กันยายน 2538
กลมุ ภูมิอากาศ, สาํ นกั พัฒนาอุตนุ ิยมวทิ ยา, กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา, กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสอ่ื สาร. 2552.
ความรูอตุ นุ ิยมวทิ ยา - เปอรเซน็ ตความถที่ ีศ่ ูนยก ลางพายเุ คลอื่ นที่ผา นพืน้ ท่ีของประเทศไทย
จากกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา, กระทรวงคมนาคม.
62
ภาคผนวก
ตัวอยางการเขยี นโครงการ
โครงการ คา ยอาสาพัฒนาชุมชนโรงเรยี นหนองมวง
ต.เมืองไผ อ.หนองกี่ จ.บรุ รี ัมย
องคกร/สถาบนั โรงเรียนมัธยมประชานเิ วศน
ท่ีต้ัง สํานกั งานเขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
ผูประสานงานโครงการ นายประจวบ ใจดวง
1. ความเปนมาโครงการ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) 2545 ใน
หมวดที่ 1 มาตราท่ี 6 วา ดว ยการจดั การศกึ ษาตอ งเปน ไปเพือ่ พัฒนาคนไทยใหเ ปนมนุษยท ่สี มบรู ณ
ทัง้ รา งกายจิตใจ สตปิ ญญา ความรแู ละคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดาํ รงชวี ติ สามารถ
อยรู ว มกบั ผอู ืน่ ไดอ ยา งมีความสขุ ซงึ่ เปนเปา หมายสาํ คญั ในการสรา งทรัพยากรมนุษยท่ที ุก
สถานศกึ ษา พงึ รบั มาปฏบิ ตั คิ วามสาํ เร็จของเปา หมายมิใชอ ยูท ค่ี วาม เขม แข็งของสถานศึกษาเทา นน้ั
ความรว มมอื ของภาคครวั เรือน ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั มคี วาม จาํ เปนทจ่ี ะตอ งสรางความแขง็ แกรง
ดา นคณุ ธรรมในทกุ ภาคสวน ทัง้ นี้จะตอ งอาศยั ความรู ความเขาใจ และแบบอยา งการประพฤติ
ปฏบิ ัติ โดยผา นการปลกู ฝงคา นยิ ม และจติ สาํ นกึ ท่ีดใี น ทกุ กลไกในการดําเนนิ การสรางคณุ ธรรมสู
สังคมไดแ ก ครู ผูปกครองและนกั เรียน ในการดาํ เนนิ การทุกข้นั ตอน และขณะเดียวกันจะตอง
เสรมิ สรางพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ ใหม จี ิตสาํ นกึ ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สัตย และใหม คี วาม
รอบรทู ีเ่ หมาะสม ดําเนนิ ชวี ิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อให
สมดลุ และพรอ มรับการเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเร็ว
63
ทางสาํ นกั งานศกึ ษากรุงเทพมหานครไดส งเสริมใหเยาวชน นักเรียน มจี ิตสาธารณะ ใน
การใชช ีวิตอยางพอเพียง คือ พอมีพอกนิ พึ่งพาตนเองได และชว ยเหลือผูอ นื่ ได โดยใหเยาวชน
จัดคายอาสาพฒั นาชมุ ชนเพอ่ื เปน การปลกู ฝง วนิ ัยในการทาํ ดเี พือ่ สงั คม โดยเห็น ประโยชนส ว นรวม
มากกวา เหน็ ประโยชนส ว นตน ปจจบุ นั ความวนุ วายของสงั คมมีมากนกั การแขง ขันที่รอ นแรงใน
ทกุ ๆ ดาน การทาํ ลายสงิ่ แวดลอ ม การเอาเปรยี บผดู อ ยโอกาส การปลอยมลพิษสูสงั คม การวา รา ย
เสยี ดแทง การแกง แยง ชงิ ดี ฯลฯ ลวนแลวแตม าจากสาเหตเุ บือ้ งตนคลา ย ๆ กนั คอื ความเหน็ แกต วั
หรอื เอาแตไดใ นสว นตนเปนหลกั ทาํ อยา งไรจงึ จะลดความเอาแตไ ดล งบา ง ตรงกนั ขา มกบั การเอา
เขามาใสตวั กค็ อื “การให” แกคนอื่นออกไป เมื่อคนตาง ๆ เร่ิมมองออกสูภายนอก แคน อกจาก
ตวั เองเทา นน้ั มองเห็นผอู ื่นอยา งลึกซงึ้ แทจ รงิ มากขนึ้ เร่ิมเขาใจมมุ มองของคนอืน่ เขาตองการอะไร
เขาอยใู นสภาพไหน เราชว ยอะไรไดบ า ง มองเหน็ สงั คม เห็นแนวทางท่จี ะชวยกนั ลดปญหา เร่มิ แรก
ใหเริม่ สละส่ิงที่เรามอี ยู ไมว า จะเปนเวลา แรงงาน เงิน สิง่ ของ อวัยวะหรอื แมกระทงั่ สละความเปน
ตัวเราของเรา ซึง่ น่ันเปน หนทางการพฒั นาจิตใจแตล ะคนไดอ ยา งเปน รปู ธรรม
จิตสาธารณะตรงน้ที ม่ี องเห็นผอู น่ื เหน็ สังคมดงั น้เี อาทเ่ี ราเรยี กกนั วา “จติ อาสา” จติ ใจที่
เห็นผูอน่ื ดว ย ไมเ พียงแตต ัวเราเอง เราอาจจะยนื่ มอื ออกไปทาํ อะไรใหไ ดบ าง เสียสละอะไรไดบา ง
ชวยเหลอื อะไรไดบา ง แบบเพือ่ นชว ยเหลือซงึ่ กนั และกนั ไมใชผ ูเ หนอื กวา มนี า้ํ ใจแกก นั และกนั
ไมน งิ่ ดูดายแบบท่เี รอ่ื งอะไรจะเกดิ ขน้ึ ไมเ กีย่ วกับฉนั ฉนั ไมสนใจ สามารถแสดงออกมาไดใน
หลายรปู แบบ ท้งั การใหร ูปแบบตา ง ๆ ตลอดจนการอาสาเพือ่ ชว ยเหลอื สงั คม
ดังน้นั โครงการจิตอาสาพัฒนาจงึ จะจัดกิจกรรมใหน ักเรียนไดมีความรูท ถี่ ูกตอ ง เกยี่ วกบั
จติ อาสาเพอ่ื กระตุน ใหแ ตละคนลกุ ขนึ้ มาทาํ ความดกี นั คนละนดิ คนละนิดเดียวเทา นน้ั ประเทศชาติ
ของเรานา จะงดงามขนึ้ อกี ไมน อ ย เชน เพียงรวมกนั บรจิ าคเงินกนั เพยี งคนละเล็กละนอ ย เราก็จะมี
งบประมาณชว ยเหลือสังคมขน้ึ มาทนั ที ในกรณีโรงเรียนมธั ยมประชานเิ วศน จึงจัดตง้ั โครงการ
จิตอาสาขน้ึ โดยใหน ักเรียนโรงเรยี นมัธยมประชานเิ วศนไดร ว มกันทาํ ความดี เพือ่ พัฒนาโรงเรียนใน
ชนบท เชน บูรณะพน้ื ทีต่ า ง ๆ ในโรงเรียน รบั บรจิ าคหนังสอื เครื่องใชต าง ๆ ไปมอบใหแก
โรงเรยี นวัดหนองมว ง ตําบลเมืองไผ อาํ เภอหนองก่ี จังหวดั บรุ รี มั ย ในวนั ที่ 23 ตุลาคม 2551-
26 ตุลาคม 2551
64
2. วตั ถุประสงค
3. เปาหมายของโครงการ
3.1 ด้านปริมาณ
บคุ ลากรครทู ี่รับผิดชอบโครงการ และนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน และ
ตอนปลาย โรงเรยี นมธั ยมประชานเิ วศน แบง เปน บุคลากรครู จาํ นวน 6 คน
และการรบั สมัครและคดั เลอื กจํานวน 60 คน
3.2 ด้านคณุ ภาพ
บุคลากรและนักเรยี นในโรงเรียนเปน ผูม จี ติ สาธารณะ และเกิดความภาคภมู ใิ จ
ในการชว ยเหลือผอู ่นื อยเู สมอ
65
4. กจิ กรรมดําเนนิ การ
โครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนประกอบดวย 4 กจิ กรรม ดงั นี้
5. ระยะเวลาดําเนินโครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนเดอื น พ.ค. – ต.ค. 2551
66
6. งบประมาณ
รายละเอยี ดของงบประมาณดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม ในการออกคา ยอาสาพฒั นาชมุ ชน
จาํ นวน 110,000 บาท โดยงบประมาณทัง้ หมดไดจ ากการบรจิ าคของผูปกครอง นักเรียน คณะครู
พอคาประชาชน
7. ปญ หาและอุปสรรค
จาํ นวนสงิ่ ของและเงนิ บริจาคอาจไมเพยี งพอ
8. ผลท่ีคาดวา จะไดรบั
นักเรยี นและบคุ ลากรที่เขารวมโครงการมนี าํ้ ใจและจิตสาธารณะ
9. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ
9.1 ผูติดตามและประเมินผล
9.1.1 ครู บุคลากรและนกั เรยี นที่เขา รวมโครงการ
9.2 วิธีติดตามและประเมนิ ผล
9.2.1 การสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน
9.2.2 การตอบแบบสอบถาม
67
คณะผู้จดั ทํา
ทปี รึกษา บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน.
1. นายประเสรฐิ อิ่มสวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชัยยศ จําป รองเลขาธกิ าร กศน.
3. นายวชั รนิ ทร แกว ไทรฮะ ทป่ี รึกษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน.
4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวฑุ โฒ ผอู าํ นวยการกลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางรกั ขณา
สถาบนั กศน. ภาคใต จงั หวัดสงขลา
ผ้เู ขยี นและเรียบเรียง
1. นางมยรุ ี สวุ รรณเจริญ
ผ้บู รรณาธกิ ารและพฒั นาปรับปรุง
1. นายวิวฒั นไ ชย จันทนส คุ นธ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางพชิ ญาภา ปต วิ รา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป
ศึกษานิเทศกเ ชีย่ วชาญ
5. นายสรุ พงษ ม่นั มะโน ขา ราชการบํานาญ
ครชู ํานาญการพิเศษ
6. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผ้พู ฒั นาและปรับปรุงครังที
1. นางสาวสุดใจ บตุ รอากาศ
2. นางพรทิพย เข็มทอง
3. นางบุษบา มาลินกี ุล
4. นางพรทพิ ย พรรณนิตานนท
5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพิพฒั น
68
คณะทาํ งาน มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ ศรรี ตั นศลิ ป กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายศภุ โชค ปท มานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร กลุ ประดษิ ฐ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศรญิ ญา เหลอื งจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรนิ ทร
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผ้พู มิ พ์ต้นฉบบั คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางปยวดี เหลืองจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นางเพชรนิ ทร กววี งษพ พิ ัฒน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวชาลีนี บานชี
5. นางสาวอริศรา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ศรรี ัตนศลิ ป
ผ้อู อกแบบปก
1. นายศภุ โชค
69
คณะผปู รบั ปรุงขอ มลู เกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560
ท่ปี รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ
1. นายสุรพงษ ปฏบิ ัตหิ นา ทรี่ องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางตรนี ชุ
กศน.เขตบางซื่อ กรงุ เทพมหานคร
ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นายธนพฒั น พรรณนา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
คณะทาํ งาน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
1. นายสุรพงษ มนั่ มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี
4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ
5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวา ง
6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรอื น
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น
8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ชิ ยั