หลักสูตรรายวชิ า (Course Syllabus)
โรงเรียนหนองกีพ่ ทิ ยาคม
1. ชือ่ วิชา วทิ ยาศาสตร์6
2. รหัสวิชา ว23102
3. จำนวนหน่วยกติ 1.5 หนว่ ยกติ
4. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์
5. ภาคเรียนที่ 2
6. ปีการศึกษา 2563
7. ชื่อผู้สอน นางนติ ยา คนชุม
8. ประเภทวชิ า วชิ าพื้นฐาน
9. จำนวนชัว่ โมง 3 ช่วั โมง / สปั ดาห์ 60 ชว่ั โมง / ภาคเรยี น
10. ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
11. คำอธิบายรายวชิ า
อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการจัด เรียงตัวใหม่ของอะตอมเม่ือเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎทรงมวล
ปฏิกิริยาดูดความรอ้ นและปฏิกิรยิ าคายความร้อน การเปล่ียนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยา
การเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบสและปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ
ปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีท่ีมีต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม วิธีการป้องกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน วิธี
แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั จากความรู้เก่ยี วกบั ปฏิกิริยาเคมี โดยบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยี
และวิศวกรรมศาสตร์ วิเคราะห์อธิบายและคำนวณ เขียน บรรยาย ตระหนัก สรา้ งแบบจำลอง ทดลองและ
ดำเนินการทดลอง ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์และวัสดุ
ผสม คุณค่าของการใช้วัสดุประเภท พอลิเมอร์ เซรามิกส์และวัสดุผสม การใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งความตา่ งศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน ปริมาณท่ีเก่ียวขอ้ งโดยใชส้ มการ V = IR
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า ใช้โวลตม์ ิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณ
ทางไฟฟา้ ความต่างศักย์ไฟฟา้ และกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเมื่อตอ่ ตัวต้านทานหลายตัวแบบอนกุ รมและแบบ
ขนานพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W = Pt การคำนวณค่าไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ ไฟฟ้าในบ้าน คุณค่าของการ
เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย แผนภาพวงจรไฟฟ้าการต่อตัว
ต้านทานแบบอนุกรมและขนานการทำงานของช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจร การต่อชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า อธิบาย บอก ระบุ วิเคราะห์ ตระหนักปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
ของ ระบบนิเวศที่ไดจ้ ากการสำรวจ รปู แบบความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมชี วี ิตรปู แบบต่าง ๆ ในแหลง่
ทอี่ ยเู่ ดยี วกนั ท่ีไดจ้ ากการสำรวจ การถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร ความสมั พันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภคและ
ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ การสะสมสารพิษในส่ิงมีชีวิตในโซ่อาหาร ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต
และสงิ่ แวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ทำลายสมดุลของระบบนิเวศ การเผยแพร่ความรทู้ ี่ได้จากการโต้แย้ง
ทางวิทยาศาสตร์ สนับสนุนเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง
ๆ ความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและต่อมนุษย์
ความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ การดูแลรกั ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ
รหัสตวั ชี้วัด
ว2.1 ม.3/1 ว2.1 ม.3/2 ว2.1 ม.3/3 ว2.1 ม.3/4 ว2.1 ม.3/5 ว2.1 ม.3/6 ว2.1 ม.3/7 ว2.1 ม.3/8
ว2.3 ม.3/1 ว2.3 ม.3/2 ว2.3 ม.3/3 ว2.3 ม.3/4 ว2.3 ม.3/5 ว2.3 ม.3/6 ว2.3 ม.3/7 ว2.3 ม.3/8
ว2.3 ม.3/9
ว1.1 ม.3/1 ว1.1 ม.3/2 ว1.1 ม.3/3 ว1.1 ม.3/4 ว1.1 ม.3/5 ว1.1 ม.3/6
ว1.3 ม.3/9 ว1.3 ม.3/10 ว1.3 ม.3/11
รวม 26 ตัวชี้วัด
12. โครงสร้างรายวิชา
หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ / จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบ เวลา นำ้ หนัก
มาตรฐานการเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวช้วี ดั แกนกลาง
4 ปฏกิ ิริยาเคมี 1. อธิบายการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี • การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมหี รอื การ 3 3
ว2.1 ม.3/3 รวมถึงการจัด เรียงตวั ใหม่ของ เปล่ียนแปลงทางเคมขี องสาร เป็น
อะตอมเมือ่ เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี การเปลย่ี นแปลงที่ทำให้เกิดสาร
โดยใช้แบบจำลองและ สมการ ใหม่ โดยสารทีเ่ ข้าทำปฏกิ ริ ยิ า
ขอ้ ความ เรยี กวา่ สารตงั้ ตน้ สารใหม่ท่ี
เกดิ ข้นึ จากปฏิกริ ิยา เรยี กว่า
ผลิตภณั ฑ์ การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
สามารถเขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ
ขอ้ ความ
• การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี อะตอม
ของสารตัง้ ต้นจะมกี ารจัดเรยี งตัว
ใหม่ ได้เป็นผลติ ภณั ฑ์ ซึ่งมสี มบัติ
แตกต่างจากสารตง้ั ต้น โดย
อะตอมแตล่ ะชนิดก่อนและหลงั
เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีมจี ำนวนเทา่ กนั
ว2.1 ม.3/4 2. อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้ • เม่ือเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี มวลรวม 2 1
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ของสารตงั้ ตน้ เทา่ กบั มวลรวม
ของผลติ ภณั ฑ์ ซึ่งเปน็ ไปตาม กฎ
ทรงมวล
หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ / จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบ เวลา นำ้ หนัก
มาตรฐานการเรียนรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวช้วี ัด แกนกลาง
ว2.1 ม.3/5 3. วิเคราะหป์ ฏกิ ิริยาดูดความ • เมอ่ื เกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี มกี ารถ่าย 3 2
ร้อน และปฏิกริ ยิ า คายความ โอนความร้อนควบคไู่ ปกบั การ
รอ้ น จากการเปลีย่ นแปลง จดั เรยี งตัวใหมข่ องอะตอมของ
พลงั งาน ความรอ้ นของ สาร ปฏกิ ริ ยิ าที่มีการถา่ ยโอน
ปฏกิ ิรยิ า ความรอ้ นจากส่ิงแวดล้อมเขา้ สู่
ระบบเป็นปฏกิ ิรยิ าดดู ความรอ้ น
ปฏิกริ ยิ าที่มีการถ่ายโอนความ
รอ้ นจากระบบออกสสู่ ิ่งแวดล้อม
เป็นปฏกิ ิรยิ าคายความรอ้ น โดย
ใช้เครอ่ื งมอื ทเี่ หมาะสมในการวดั
อณุ หภูมิ เช่น เทอร์มอมเิ ตอร์
หัววดั ทีส่ ามารถตรวจสอบการ
เปล่ียนแปลงของอุณหภูมไิ ดอ้ ยา่ ง
ต่อเน่ือง
ว 2.1 ม.3/6 4. อธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าการเกิดสนมิ • ปฏิกริ ยิ าเคมีทพี่ บใน 42
ของเหล็ก ปฏกิ ิรยิ า ของกรดกบั ชวี ติ ประจำวันมหี ลายชนดิ เชน่
โลหะปฏกิ ริ ยิ าของกรดกับเบส ปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ การเกดิ สนมิ
และปฏกิ ริ ิยาของเบสกบั โลหะ ของเหล็ก ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั
โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ โลหะ ปฏกิ ิริยาของกรดกบั เบส
และอธบิ ายปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม้ ปฏิกริ ยิ าของเบสกับโลหะ การ
การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ เกิดฝนกรด การสงั เคราะห์ดว้ ย
ด้วยแสง โดยใชส้ ารสนเทศ แสง ปฏกิ ริ ิยาเคมสี ามารถเขียน
รวมทงั้ เขียนสมการขอ้ ความ แทนไดด้ ว้ ยสมการขอ้ ความ ซ่ึง
แสดง ปฏกิ ริ ยิ าดงั กล่าว แสดงชื่อของสารตง้ั ต้นและ
ผลติ ภณั ฑ์ เชน่ เชื้อเพลิง +
ออกซิเจน →
คารบ์ อนไดออกไซด์ + นำ้
ปฏิกริ ยิ าการเผาไหมเ้ ป็นปฏกิ ิริยา
ระหวา่ งสารกับออกซเิ จน สารที่
เกดิ ปฏิกริ ยิ าการเผาไหมส้ ่วนใหญ่
เปน็ สารประกอบท่ีมคี ารบ์ อนและ
ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ / สาระสำคัญ/ความคิดรวบ เวลา น้ำหนัก
หนว่ ยท่ี มาตรฐานการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวชว้ี ัด แกนกลาง
ไฮโดรเจนเปน็ องค์ประกอบ ซึง่ ถ้า
เกิดการเผาไหมอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ จะ
ได้ผลติ ภัณฑ์เปน็
คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ
• การเกิดสนมิ ของเหล็ก เกดิ จาก
ปฏกิ ริ ิยาเคมีระหว่างเหลก็ น้ำ
และออกซเิ จน ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์ เปน็
สนิมของเหล็ก
• ปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม้และการเกดิ
สนมิ ของเหลก็ เปน็ ปฏกิ ริ ยิ า
ระหว่างสารตา่ ง ๆ กับออกซิเจน
• ปฏกิ ิรยิ าของกรดกบั โลหะ กรด
ทำปฏกิ ริ ิยากับโลหะได้หลายชนิด
ไดผ้ ลิตภณั ฑ์เปน็ เกลอื ของโลหะ
และแกส๊ ไฮโดรเจน
• ปฏิกิรยิ าของกรดกบั สารประกอบ
คาร์บอเนต ไดผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ป็นแกส๊
คารบ์ อนไดออกไซด์ เกลอื ของ
โลหะ และน้ำ
• ปฏิกริ ิยาของกรดกับเบส ได้
ผลติ ภณั ฑ์เป็นเกลือของโลหะและ
น้ำ หรืออาจไดเ้ พียงเกลอื ของ
โลหะ
• ปฏกิ ริ ิยาของเบสกับโลหะบาง
ชนดิ ได้ผลติ ภัณฑ์เป็นเกลอื ของ
เบสและแก๊สไฮโดรเจน
• การเกิดฝนกรด เป็นผลจาก
ปฏิกิรยิ าระหวา่ งนำ้ ฝนกับ
ออกไซดข์ องไนโตรเจน หรอื
ออกไซด์ของซัลเฟอร์ ทำใหน้ ำ้ ฝน
มีสมบตั เิ ปน็ กรด
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ / สาระสำคัญ/ความคิดรวบ เวลา นำ้ หนกั
หนว่ ยท่ี มาตรฐานการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวช้ีวัด แกนกลาง
• การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช
เปน็ ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งแก๊ส
คารบ์ อนไดออกไซด์กบั นำ้ โดยมี
แสงช่วยในการเกิดปฏกิ ริ ิยา ได้
ผลิตภณั ฑเ์ ปน็ นำ้ ตาลกลโู คสและ
ออกซเิ จน
ว 2.1 ม.3/7 5. ระบปุ ระโยชนแ์ ละโทษของ • ปฏิกิริยาเคมีท่ีพบใน 5 4
ว 2.1 ม.3/8
ปฏกิ ริ ิยาเคมี ท่มี ีต่อสิ่งมีชีวิตและ ชวี ติ ประจำวนั มีทัง้ ประโยชน์และ
สง่ิ แวดลอ้ ม และยกตวั อย่าง โทษตอ่ สง่ิ มชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
วธิ ีการป้องกนั และแกป้ ัญหาท่ี จึงตอ้ งระมัดระวงั ผลจากปฏิกิริยา
เกดิ จากปฏิกริ ยิ าเคมี ท่พี บใน เคมี ตลอดจนรจู้ ักวธิ ีปอ้ งกนั และ
ชวี ิตประจำวนั จากการสบื คน้ แก้ปญั หาทเี่ กดิ จากปฏิกริ ยิ าเคมีที่
ขอ้ มูล พบ ในชีวิตประจำวนั
6. ออกแบบวธิ ีแก้ปญั หาใน • ความรู้เก่ยี วกบั ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
ชวี ติ ประจำวัน โดยใช้ ความรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ น
เกยี่ วกบั ปฏิกริ ยิ าเคมี โดย ชีวติ ประจำวนั และสามารถบรู ณา
บูรณาการ วิทยาศาสตร์ การกบั คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี
คณติ ศาสตรเ์ ทคโนโลยี และ และวศิ วกรรมศาสตร์ เพ่อื ใช้
วศิ วกรรมศาสตร์ ปรบั ปรงุ ผลติ ภณั ฑใ์ หม้ ีคณุ ภาพ
ตามตอ้ งการหรืออาจสร้าง
นวัตกรรมเพื่อปอ้ งกนั และ
แกป้ ัญหาทีเ่ กิดข้ึนจากปฏกิ ริ ยิ า
เคมี โดยใช้ความรเู้ กยี่ วกบั
ปฏกิ ริ ยิ าเคมี เช่น การ
เปล่ียนแปลงพลงั งานความรอ้ น
อนั เนอื่ งมาจากปฏิกิรยิ าเคมี การ
เพมิ่ ปรมิ าณผลผลติ
หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำคญั /ความคิดรวบ เวลา น้ำหนกั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตวั ช้วี ัด แกนกลาง
4 พอลิเมอร์ 7. ระบุสมบตั ิทางกายภาพและ •พอลิเมอร์ เซรามกิ ส์ และวสั ดุ 4 5
ว2.1 ม.3/1 การใช้ประโยชน์ วัสดุประเภท ผสม เปน็ วสั ดุท่ใี ช้มากใน
ว2.1 ม.3/2 พอลเิ มอร์ เซรามิกส์ และวสั ดุ ชีวิตประจำวนั
ผสม โดยใช้หลกั ฐานเชงิ • พอลิเมอรเ์ ป็นสารประกอบ
ประจกั ษ์ และสารสนเทศ โมเลกุลใหญท่ เ่ี กิดจากโมเลกลุ
8. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของการใช้ จำนวนมากรวมตวั กนั ทางเคมี
วสั ดุประเภท พอลเิ มอร์ เซรา เชน่ พลาสติก ยาง เสน้ ใย ซ่ึงเปน็
มิกส์ และวัสดผุ สม โดยเสนอ พอลเิ มอรท์ ีม่ สี มบตั ิแตกตา่ งกัน
แนะแนวทางการใช้วสั ดอุ ยา่ ง โดยพลาสติกเปน็ พอลิเมอร์ทข่ี น้ึ
ประหยดั และคุม้ คา่ รปู เปน็ รปู ทรงต่าง ๆ ได้ ยาง
ยืดหยนุ่ ได้ สว่ นเส้นใยเปน็ พอลิ
เมอร์ท่สี ามารถดึงเปน็ เส้นยาวได้
พอลิเมอร์จึงใช้ประโยชน์ได้
แตกตา่ งกนั
• เซรามิกสเ์ ปน็ วัสดทุ ผี่ ลติ จาก ดิน
หนิ ทราย และแรธ่ าตตุ ่าง ๆ จาก
ธรรมชาติ และสว่ นมากจะผา่ น
การเผาทอ่ี ุณหภมู ิสูง เพอ่ื ใหไ้ ด้
เนอ้ื สารท่ีแข็งแรงเซรามิกส์
สามารถทำเป็นรปู ทรงตา่ ง ๆ ได้
สมบัติทัว่ ไปของเซรามิกสจ์ ะแขง็
ทนตอ่ การสึกกรอ่ น และเปราะ
สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ เชน่
ภาชนะท่ีเปน็ เครอื่ งปัน้ ดนิ เผา
ชิ้นสว่ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์
• วัสดุผสมเป็นวัสดุท่เี กิดจากวัสดุ
ตั้งแต่ 2 ประเภท ท่ีมสี มบตั ิ
แตกตา่ งกันมารวมตวั กัน เพ่ือ
นำไปใช้ประโยชนไ์ ดม้ ากขึ้น
ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ / สาระสำคญั /ความคดิ รวบ เวลา นำ้ หนกั
หน่วยท่ี มาตรฐานการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตวั ช้ีวดั แกนกลาง
4 เชน่ ภาชนะทเี่ ปน็
เครื่องป้ันดินเผา ช้ินสว่ น
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
• วสั ดุผสมเปน็ วสั ดุท่เี กดิ จากวัสดุ
ต้งั แต่ 2 ประเภท ท่มี สี มบตั ิ
แตกตา่ งกนั มารวมตัวกัน เพอื่
นำไปใช้ประโยชนไ์ ดม้ ากข้นึ เชน่
เสอื้ กันฝนบางชนดิ เป็นวสั ดผุ สม
ระหว่างผา้ กับยาง คอนกรตี เสรมิ
เหล็ก เป็นวสั ดผุ สมระหว่าง
คอนกรตี กับเหลก็
• วัสดบุ างชนดิ สลายตัวยาก เชน่
พลาสติก การใชว้ สั ดอุ ย่าง
ฟมุ่ เฟอื ยและไมร่ ะมดั ระวงั อาจก่อ
ปัญหาต่อสิง่ แวดล้อม
ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ / สาระสำคญั /ความคดิ รวบ เวลา นำ้ หนัก
หนว่ ยท่ี มาตรฐานการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวช้วี ัด แกนกลาง
5 ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 9. วเิ คราะห์ความสมั พันธ์ • เม่อื ต่อวงจรไฟฟา้ ครบวงจรจะมี 5 5
ว 2.3 ม.3/1 ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ออกจากข้วั บวกผ่าน
ว 2.3 ม.3/2 กระแสไฟฟา้ และความ วงจรไฟฟา้ ไปยังขวั้ ลบของ
ว 2.3 ม.3/3 ตา้ นทาน และคำนวณ ปรมิ าณ แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้า ซึ่งวัดคา่ ได้
ทีเ่ กี่ยวขอ้ งโดยใชส้ มการ V = จากแอมมิเตอร์
IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ • ค่าท่บี อกความแตกต่างของ
10. เขยี นกราฟความสัมพันธ์ พลงั งานไฟฟ้าต่อหน่วย ประจุ
ระหวา่ งกระแสไฟฟา้ และความ ระหว่างจุด 2 จุด เรยี กว่า
ตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า ความตา่ งศักย์ ซง่ึ วดั คา่ ไดจ้ าก
11. ใชโ้ วลตม์ เิ ตอร์ แอมมเิ ตอร์ โวลตม์ ิเตอร์
ในการวัดปริมาณทางไฟฟา้ • ขนาดของกระแสไฟฟ้ามคี า่ แปร
ผันตรงกับ ความตา่ งศักยร์ ะหวา่ ง
ปลายทั้งสองของตวั นำ โดย
อัตราส่วนระหวา่ งความตา่ งศักย์
และกระแสไฟฟ้า มีคา่ คงที่ เรยี ก
คา่ คงที่นวี้ ่า ความตา้ นทาน
ว 2.3 ม.3/4 12. วเิ คราะห์ความต่าง • ในวงจรไฟฟ้าประกอบด้วย 44
ว 2.3 ม.3/5 ศักยไ์ ฟฟา้ และกระแสไฟฟ้า ใน แหล่งกำเนดิ ไฟฟา้ สายไฟฟ้า และ
วงจรไฟฟ้าเมือ่ ต่อตวั ต้านทาน อปุ กรณ์ไฟฟ้า โดยอปุ กรณไ์ ฟฟา้
หลายตัว แบบอนกุ รมและแบบ แตล่ ะชน้ิ มคี วามต้านทาน ในการ
ขนานจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ตอ่ ตวั ตา้ นทาน หลายตัว มีทงั้ ต่อ
13. เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน
แสดงการต่อตวั ตา้ นทาน แบบ • การต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบ
อนกุ รมและขนาน อนกุ รมใน วงจรไฟฟา้ ความตา่ ง
ศักย์ทีค่ รอ่ มตัวต้านทาน แต่ละตัว
มคี ่าเทา่ กบั ผลรวมของความต่าง
ศกั ย์ ทคี่ รอ่ มตัวตา้ นทานแตล่ ะ
ตัว โดยกระแสไฟฟ้า ทผี่ ่านตวั
ตา้ นทานแตล่ ะตวั มคี ่าเทา่ กัน
หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ / จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระสำคัญ/ความคิดรวบ เวลา น้ำหนกั
มาตรฐานการเรียนรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวชว้ี ดั แกนกลาง
สอบกลางภาค 3 20
ว2.3 ม.3/8 14. อธิบายและคำนวณพลังงาน • เคร่อื งใช้ไฟฟ้าจะมคี ่ากำลังไฟฟ้า 5 4
ว2.3 ม.3/9 ไฟฟา้ โดยใช้สมการ W = Pt และความต่างศักย์กำกับไว้
รวมทง้ั คำนวณคา่ ไฟฟ้าของ กำลังไฟฟา้ มหี น่วยเปน็ วตั ต์ ความ
เครื่องใช้ ไฟฟ้าในบ้าน ต่างศกั ย์ มีหน่วยเปน็ โวลต์ คา่
15. ตระหนักในคณุ คา่ ของการ ไฟฟ้าสว่ นใหญ่คดิ จากพลงั งาน
เลือกใชเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟา้ โดย ไฟฟา้ ทีใ่ ชท้ ัง้ หมด ซงึ่ หาไดจ้ ากผล
นำเสนอวิธีการใช้เคร่อื งใช้ไฟฟา้ คณู ของกำลังไฟฟา้ ในหนว่ ย
อยา่ งประหยดั และปลอดภัย กิโลวตั ต์ กบั เวลาในหนว่ ยช่วั โมง
พลังงานไฟฟา้ มีหน่วยเปน็
กิโลวตั ต์ ชั่วโมง หรอื หน่วย
• วงจรไฟฟ้าในบา้ นมกี ารต่อ
เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ แบบขนานเพ่ือให้
ความต่างศกั ย์เท่ากัน การใช้
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในชวี ติ ประจำวนั
ตอ้ งเลอื กใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าทมี่ ี
ความตา่ งศักย์และกำลงั ไฟฟา้ ให้
เหมาะกับการใชง้ าน และการใช้
เคร่อื งใช้ไฟฟา้ และอปุ กรณไ์ ฟฟา้
ตอ้ งใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ปลอดภัย
และประหยัด
หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบ เวลา น้ำหนัก
/มาตรฐานการเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตวั ชี้วดั แกนกลาง
ว 2.3 ม.3/6 16. บรรยายการทำงานของ • การตอ่ ตัวตา้ นทานหลายตัว 5 5
ว2.3 ม.3/7 ช้นิ ส่วนอิเล็กทรอนกิ ส์ อย่างงา่ ย แบบขนานใน วงจรไฟฟา้
ในวงจรจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ กระแสไฟฟา้ ทีผ่ า่ นวงจรมคี า่
17. เขยี นแผนภาพและต่อ เทา่ กับผลรวม ของ
ชนิ้ สว่ นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ อยา่ งง่าย กระแสไฟฟา้ ท่ีผ่านตัวตา้ นทาน
ในวงจรไฟฟ้า แต่ละตัว โดยความต่างศกั ย์ที่
ครอ่ มตัวตา้ นทานแตล่ ะตวั มี
ค่าเทา่ กัน
• ช้นิ สว่ นอิเลก็ ทรอนิกส์มหี ลายชนดิ
เช่น ตัวตา้ นทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ ตัวเกบ็ ประจุ โดย
ชิน้ ส่วนแต่ละชนดิ ทำหนา้ ท่ี
แตกต่างกนั เพ่ือใหว้ งจรทำงานได้
ตามตอ้ งการ
• ตัวตา้ นทานทำหน้าท่ีควบคมุ
ปริมาณกระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้า
ไดโอดทำหน้าทใ่ี ห้กระแสไฟฟ้า
ผา่ นทางเดยี ว ทรานซิสเตอร์ทำ
หนา้ ทีเ่ ปน็ สวติ ชป์ ดิ หรือเปดิ
วงจรไฟฟ้าและควบคมุ ปรมิ าณ
กระแสไฟฟา้ ตัวเก็บประจทุ ำ
หน้าที่เก็บและคายประจไุ ฟฟา้
• เครื่องใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งงา่ ย
ประกอบด้วยช้ินสว่ น
อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ ลายชนิดท่ที ำงาน
รว่ มกัน การต่อวงจอเิ ล็กทรอนิกส์โดย
เลอื กใช้ช้ินส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ี
เหมาะสมตามหนา้ ท่ีของชน้ิ สว่ นนั้น ๆ
จะสามารถทำให้วงจรไฟฟา้ ทำงานได้
ตามตอ้ งการ
หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคญั /ความคิดรวบ เวลา น้ำหนกั
/มาตรฐานการเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตัวชี้วัด แกนกลาง
6 ระบบนิเวศและความ 18. อธบิ ายปฏิสมั พนั ธข์ อง • ระบบนเิ วศประกอบด้วย 22
หลากหลายทางชีวภาพ องค์ประกอบของ ระบบนเิ วศท่ี องค์ประกอบทมี่ ีชีวิต เชน่ พืช
ว1.1 ม.3/1 ได้จากการสำรวจ สัตว์ จุลนิ ทรีย์ และองคป์ ระกอบ
ท่ี ไมม่ ีชีวติ เชน่ แสง นำ้ อณุ หภูมิ
แรธ่ าตุ แก๊ส องคป์ ระกอบเหล่าน้ี
มีปฏสิ มั พนั ธ์กนั เชน่ พชื ตอ้ งการ
แสง นำ้ และแก๊สารบ์ อนได
ออกไซด์ ในการสร้างอาหาร สตั ว์
ต้องการ อาหารและสภาพ
แวดล้อมที่เหมาะสมในการ
ดำรงชีวติ เชน่ อุณหภูมิ ความชืน้
องคป์ ระกอบทง้ั สองส่วนนี้ จะตอ้ ง
มีความสมั พันธ์ กนั อย่างเหมาะสม
ระบบนเิ วศจงึ จะสามารถคงอยู่
ตอ่ ไปได้
ว1.1ม.3/2 19. อธบิ ายรูปแบบ • ส่ิงมีชีวิตกับสงิ่ มีชวี ิตมี 2 2
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มชี ีวิต ความสัมพันธ์กนั ในรปู แบบ ต่าง
กบั สิง่ มีชวี ิตรปู แบบต่าง ๆ ใน ๆ เชน่ ภาวะพง่ึ พากัน ภาวะองิ
แหล่งท่อี ยู่เดียวกัน ท่ีไดจ้ ากการ อาศัย ภาวะเหยอ่ื กับผูล้ า่ ภาวะ
สำรวจ ปรสติ
• สิ่งมีชีวิตชนิดเดยี วกนั ที่อาศัยอยู่
ร่วมกันใน แหลง่ ทีอ่ ย่เู ดยี วกนั
ในชว่ งเวลาเดียวกัน เรยี กวา่
ประชากร
• กลมุ่ สง่ิ มชี วี ิตประกอบดว้ ย
ประชากรของส่ิงมีชีวิตหลาย ๆ
ชนดิ อาศยั อยู่
หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ / จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระสำคญั /ความคิดรวบ เวลา นำ้ หนกั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตวั ชวี้ ัด แกนกลาง
ว1.1 ม.3/3 20. สรา้ งแบบจำลองในการ • กลมุ่ ส่ิงมีชีวติ ในระบบนเิ วศแบ่ง 7 7
ว1.1 ม.3/4 อธิบายการถา่ ยทอด พลังงานใน ตามหนา้ ทไ่ี ดเ้ ป็น 3กลมุ่ ไดแ้ ก่
ว1.1 ม.3/5 สายใยอาหาร ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผ้ยู ่อยสลาย
ว1.1 ม 3/6 21. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของผู้ สารอินทรีย์ ผผู้ ลติ ผู้บรโิ ภค และ
ผลิต ผู้บรโิ ภค และ ผู้ย่อยสลาย
ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ สิ่งมชี ีวติ
สารอนิ ทรียใ์ นระบบนเิ วศ
22. อธบิ ายการสะสมสารพษิ ใน ทง้ั 3 กลุ่มนี้ มีความสัมพันธ์กัน
สิ่งมีชวี ติ ในโซอ่ าหาร ผู้ผลิตเปน็ ส่ิงมีชวี ติ ท่ีสร้างอาหาร
23. ตระหนักถงึ ความสมั พันธข์ อง ไดเ้ อง โดยกระบวนการสังเคราะห์
สง่ิ มีชวี ิต และ สิง่ แวดล้อมใน
ระบบนเิ วศ โดยไมท่ ำลายสมดลุ ดว้ ยแสงผบู้ ริโภค เป็นสิง่ มีชวี ติ ท่ี
ของระบบนเิ วศ ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และ
ต้องกินผู้ผลิตหรอื ส่ิงมชี ีวติ อื่นเป็น
อาหาร เมอื่ ผผู้ ลติ และผบู้ ริโภค
ตายลง จะถูกย่อยโดยผยู้ อ่ ยสลาย
สารอนิ ทรียซ์ ึง่ จะเปลีย่ นสาร
อนิ ทรยี เ์ ป็นสารอนนิ ทรียก์ ลบั คนื สู่
สง่ิ แวดล้อม
• พลังงานถูกถ่ายทอดจากผู้ผลิต
ไป ยั งผู้ บ ริ โภ ค ล ำดั บ ต่ าง ๆ
รวมท้ังผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์
ใน รูป แ บ บ ส ายใยอาห าร ท่ี
ประกอบดว้ ย โซ่อาหารหลายโซ่ที่
สมั พ ันธ์กนั ในการถ่ายท อด
พลงั งานในโซ่อาหาร พลงั งานที่
ถูกถา่ ยทอดไปจะลดลงเรอ่ื ย ๆ
ตามลำดับของการบรโิ ภค
• การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
อ าจ ท ำให้ มี ส ารพิ ษ ส ะ ส ม อ ยู่ ใน
สิ่งมีชีวิตได้ จนอาจก่อให้เกิดอันตราย
ตอ่ ส่งิ มชี วี ิต และทำลายสมดุลในระบบ
นิเวศ ดังน้ันการดูแลรักษาระบบนิเวศ
ให้เกิดความสมดุล และคงอยู่ตลอดไป
จงึ เปน็ ส่งิ สำคญั
หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบ เวลา น้ำหนกั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ยอดและสาระการเรียนรู้ (ชม.) คะแนน
/ ตวั ช้ีวัด แกนกลาง
ความหลากหลายทาง 24. เปรยี บเทียบความ • ความหลากหลายทางชวี ภาพ มี 3 4
ชีวภาพ หลากหลายทางชวี ภาพในระดบั 3 ระดบั ได้แก่ ความหลากหลาย
ว1.3 ม.3/9 ชนิดสง่ิ มีชีวิตในระบบนเิ วศ ของระบบนิเวศ ความหลาก
ว1.3 ม.3/10 ตา่ ง ๆ หลายของชนิดส่ิงมีชีวิต และความ
ว1.3 ม.3/11 25. อธิบายความสำคญั ของ หลากหลาย ทางพันธุกรรม
ความหลากหลายทาง ชีวภาพท่ี ความหลากหลายทางชีวภาพนม้ี ี
มตี ่อการรกั ษาสมดลุ ของระบบ ความสำคญั ต่อการรักษาสมดลุ
นิเวศและตอ่ มนุษย์ ของระบบนิเวศ ระบบนเิ วศทีม่ ี
26.แสดงความตระหนักใน ความหลากหลายทางชวี ภาพสูง
คุณค่าและความสำคญั ของ จะรักษาสมดลุ ไดด้ ีกว่าระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ ท่มี ีความ หลากหลายทางชวี ภาพ
โดยมสี ว่ นรว่ ม ในการดูแลรักษา ตำ่ กว่าความหลากหลายทาง
ความหลากหลายทางชีวภาพ ชีวภาพยงั มีความสำคัญ ต่อมนษุ ย์
ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น ใช้เปน็ อาหาร
ยารักษาโรค วัตถดุ บิ ใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆดังนั้น จึงเปน็
หน้าที่ของทุกคนในการดแู ลรกั ษา
ความหลากหลายทางชีวภาพให้
คงอยู่
สอบปลายภาค 3 30
รวม 60 100
13. กำหนดการจดั การเรียนรู้ ส่อื /
แหลง่ เรียนรู้
ครัง้ ที่/ จำนวน ตวั ชี้วัดหรอื ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้/เน้ือหาที่สอน/
วัน/เวลา ชั่วโมง /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมสำคัญ/ภาระงาน
ครงั้ ที่ 1-2 3 1. อธบิ ายการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า สาระการเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 1 การ
เคมี รวมถึงการจัด เรียง - การเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
ตวั ใหม่ของอะตอมเม่ือ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
เกิดปฏิกิรยิ าเคมี โดยใช้
แบบจำลองและ สมการ 2. ใบความรู้ เร่ือง การ
ขอ้ ความ
เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
ครงั้ ที่ 3-4 3 2. อธิบายกฎทรงมวล โดย สาระการเรยี นรู้
ใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ - กฎทรงมวล 3. Powerpoint
เรือ่ ง ปฏิกิรยิ าเคมี
4.โปรเจกเตอร์
5.หนงั สอื แบบเรียน
วิทยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอรเ์ นต็
1. ใบงานที่ 2
กฎทรงมวล
2. ใบความรู้ เร่ือง
กฎทรงมวล
3. Powerpoint
เร่อื ง ปฏิกริ ิยาเคมี
4.โปรเจกเตอร์
5.หนังสอื แบบเรียน
วิทยาศาสตร์ ม. 3
6. อนิ เทอร์เน็ต
ครั้งที่/ จำนวน ตวั ชวี้ ัดหรอื ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาท่สี อน/ สอ่ื /
วัน/เวลา ชั่วโมง /จุดประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมสำคญั /ภาระงาน แหลง่ เรียนรู้
คร้งั ที่ 5-6
3 3. วิเคราะหป์ ฏิกิรยิ าดูดความ สาระการเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 3 ปฏิกิรยิ าดดู
คร้งั ที่ 7-8 รอ้ น และปฏกิ ริ ิยา คายความ - ปฏิกริ ิยาดดู ความร้อน
3 ร้อน จากการเปลยี่ นแปลง - ปฏิกิริยา คายความร้อน ความร้อน และปฏิกิรยิ า คาย
พลังงาน ความรอ้ นของ ความร้อน
ปฏิกิรยิ า สาระการเรยี นรู้
- ปฏกิ ริ ิยาการเกดิ สนิมของเหลก็ 2. ใบความรู้ เรือ่ ง ปฏกิ ริ ยิ า
4. อธบิ ายปฏิกิรยิ าการเกดิ - ปฏกิ ิริยา ของกรดกับโลหะ
สนมิ ของเหล็ก ปฏกิ ริ ิยา ของ - ปฏิกิรยิ าของกรดกับเบส ดูดความรอ้ น และปฏิกริ ยิ า
กรดกบั โลหะปฏิกริ ิยาของกรด - ปฏกิ ริ ิยาของเบสกบั โลหะ คายความร้อน
กับเบส และปฏกิ ริ ยิ าของเบส - ปฏกิ ริ ิยาการเผาไหม้
กบั โลหะ โดยใชห้ ลักฐานเชิง - การเกิดฝนกรด 3. Powerpoint
ประจกั ษ์ และอธิบายปฏิกริ ิยา
การเผาไหม้ การเกดิ ฝนกรด - การสงั เคราะหด์ ้วยแสง เร่อื ง ปฏกิ ริ ิยาดดู ความร้อน
การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง โดยใช้
สารสนเทศ รวมท้ังเขียน และปฏิกริ ยิ า คายความร้อน
สมการขอ้ ความแสดง
ปฏกิ ิริยาดังกลา่ ว 4.โปรเจกเตอร์
5.หนังสอื แบบเรียน
วิทยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอรเ์ น็ต
1. ใบงานท่ี 4 ปฏิกริ ิยาการเกิด
สนมิ ของเหลก็ ปฏิกิรยิ า ของ
กรดกบั โลหะปฏิกริ ิยาของกรด
กบั เบส และปฏกิ ริ ยิ าของเบส
กบั โลหะ
2. ใบความรู้ เรือ่ ง ปฏกิ ิริยาการ
เกดิ สนมิ ของเหล็ก ปฏิกริ ยิ า
ของกรดกับโลหะปฏิกริ ิยาของ
กรดกับเบส และปฏกิ ริ ยิ าของ
เบสกับโลหะ
3. Powerpoint
เรอื่ ง ปฏิกิริยาเคมี
4.โปรเจกเตอร์
5.หนงั สอื แบบเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอรเ์ น็ต
คร้ังท่ี/ จำนวน ตวั ชีว้ ดั หรือผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาทส่ี อน/ สอ่ื /
วนั /เวลา ช่วั โมง แหลง่ เรียนรู้
คร้ังท่ี 9-10 /จุดประสงค์การเรยี นรู้ กจิ กรรมสำคญั /ภาระงาน 1 ใบงานท่ี 5 ประโยชน์และ
3
คร้งั ที่ 11-12 5. ระบุประโยชนแ์ ละโทษของ - ประโยชน์และโทษของปฏิกิรยิ าเคมี โทษของปฏกิ ริ ยิ าเคมี ท่มี ีตอ่
3 ปฏิกริ ยิ าเคมี ท่ีมีต่อส่งิ มีชวี ิต ทีม่ ตี อ่ สงิ่ มชี วี ติ และส่งิ แวดล้อม สิ่งมชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อม
และสิง่ แวดลอ้ ม และ
-ออกแบบวิธแี ก้ปญั หาใน 2. ใบความรู้ เรอื่ ง ประโยชน์
ยกตวั อย่าง วธิ กี ารปอ้ งกนั และ ชวี ติ ประจำวัน โดยใช้ ความรู้เกย่ี วกับ
แก้ปญั หาที่เกดิ จากปฏกิ ิรยิ าเคมี ปฏกิ ิรยิ าเคมี และโทษของปฏกิ ิรยิ าเคมี ท่ีมี
ที่พบในชีวิตประจำวนั จากการ ตอ่ สงิ่ มีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม
สืบค้นขอ้ มูล -Powerpoint
เรอื่ ง ปฏกิ ิรยิ าเคมี
6. ออกแบบวิธแี กป้ ญั หาใน 4.โปรเจกเตอร์
5.หนงั สือแบบเรยี น
ชีวติ ประจำวนั โดยใช้ ความรู้ วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
เกี่ยวกับปฏิกิรยิ าเคมี โดย 1. ใบงานที่ 6 สมบตั ิทาง
กายภาพและการใช้ประโยชน์
บูรณาการ วิทยาศาสตร์ วัสดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรา
มกิ ส์ และวัสดผุ สม
คณติ ศาสตร์เทคโนโลยี และ 2. ใบความรู้ เร่ือง วสั ดใุ น
ชวี ติ ประจำวนั
วิศวกรรมศาสตร์ - Powerpoint
เร่ือง วัสดุในชีวติ ประจำวนั
7. ระบุสมบัตทิ างกายภาพ สาระการเรยี นรู้ 4.โปรเจกเตอร์
และการใชป้ ระโยชน์ วัสดุ 5.หนงั สอื แบบเรยี น
ประเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์ - สมบัติทางกายภาพและการใช้ วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
และวัสดผุ สม โดยใช้หลกั ฐาน 6. อนิ เทอรเ์ น็ต
เชิงประจกั ษ์ และสารสนเทศ ประโยชน์ วสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์
เซรามกิ ส์ และวสั ดผุ สม
8. ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการ
ใชว้ ัสดุประเภท พอลเิ มอร์
เซรามกิ ส์ และวัสดผุ สม โดย
เสนอ แนะแนวทางการใชว้ สั ดุ
อยา่ งประหยดั และคุ้มค่า
คร้ังท่ี/ จำนวน ตัวชีว้ ัดหรือผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้/เน้ือหาทส่ี อน/ สอื่ /
วนั /เวลา ชั่วโมง /จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมสำคัญ/ภาระงาน แหลง่ เรยี นรู้
คร้ังท่ี 13-14
3 9. วิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ สาระการเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 7 ความสัมพนั ธ์
ครงั้ ท่ี 15-16 ระหว่างความต่างศกั ย์ - ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความตา่ งศกั ย์
3 กระแสไฟฟา้ และความ ระหว่างความตา่ งศักย์
ต้านทาน และคำนวณ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และ กระแสไฟฟ้า และความ
ปรมิ าณท่ีเก่ยี วข้องโดยใช้ คำนวณ ปรมิ าณทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยใช้ ต้านทาน และคำนวณ
สมการ V = IR จากหลกั ฐาน สมการ V = IR
เชงิ ประจักษ์ 2. ใบงานที่ 8 เขียนกราฟ
10. เขียนกราฟความสัมพันธ์ สาระการเรียนรู้
ระหว่างกระแสไฟฟา้ และความ 1. ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้าและ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความตา่ ง
ต่างศักยไ์ ฟฟา้ ศักย์ กระแสไฟฟ้า และความ
11. ใชโ้ วลตม์ เิ ตอร์ กระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟา้ เมอ่ื ต่อตวั ต้านทาน
แอมมเิ ตอรใ์ นการวัดปริมาณ ต้านทานหลายตัว
ทางไฟฟา้ 3. ใบงานที่ 9 กิจกรรม การ
2. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟา้ แสดง วดั ปรมิ าณทางไฟฟ้า
12. วิเคราะหค์ วามต่าง 4. Powerpoint
ศกั ย์ไฟฟา้ และกระแสไฟฟา้ ใน การต่อตวั ตา้ นทาน แบบอนุกรมและ เร่อื ง ไฟฟา้
วงจรไฟฟ้าเมือ่ ต่อตวั ตา้ นทาน ขนาน 5.โปรเจกเตอร์
หลายตวั แบบอนกุ รมและ 6.หนังสือแบบเรยี น
แบบขนานจากหลกั ฐานเชิง วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
ประจักษ์ 7. อินเทอรเ์ น็ต
13. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟา้ 1. ใบงานที่ 10 ความต่าง
แสดงการต่อตัวตา้ นทาน แบบ
อนกุ รมและขนาน ศกั ยไ์ ฟฟา้ และกระแสไฟฟ้า ใน
วงจรไฟฟ้าเม่ือต่อตวั ต้านหลาย
ตวั แบบอนกุ รมและแบบขนาน
2. ใบความรู้ เรื่อง ความต่าง
ศักยไ์ ฟฟ้าและกระแสไฟฟา้ ใน
วงจรไฟฟ้าเม่อื ตอ่ ตวั ตา้ นทาน
หลายตัว แบบอนกุ รมและ
แบบขนาน
3.Powerpointเร่ือง ไฟฟ้า
4.โปรเจกเตอร์
5.หนังสอื แบบเรยี น
วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
6. อนิ เทอรเ์ น็ต
คร้ังท่ี/ จำนวน ตวั ชี้วัดหรอื ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาทสี่ อน/ สอ่ื /
วนั /เวลา ชวั่ โมง /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมสำคัญ/ภาระงาน แหลง่ เรยี นรู้
ครั้งท่ี 17-18
3 14. บรรยายการทำงานของ สาระการเรยี นรู้ 1.ใบงานท่ี 11 ช้นิ สว่ น
ครั้งที่ 19-20 ชิ้นส่วนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ อย่าง 1. ชิน้ ส่วนอเิ ล็กทรอนกิ ส์
3 ง่ายในวงจรจากข้อมูลท่ี อิเลก็ ทรอนกิ ส์
รวบรวมได้ สาระการเรียนรู้ 2.ใบงานท่ี 12 ชิ้นส่วน
1. เขยี นแผนภาพและต่อชนิ้ ส่วน
15. เขยี นแผนภาพและต่อ อเิ ล็กทรอนกิ ส์
ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อย่าง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ใบความรู้ เรือ่ ง ช้ินส่วน
งา่ ยในวงจรไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์
4. ใบความรู้ เรอื่ ง
อิเลก็ ทรอนกิ ส์
5. Powerpoint
เรอื่ ง ชิ้นสว่ นอิเล็กทรอนิกส์
6.โปรเจกเตอร์
7.หนังสอื แบบเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
8. อนิ เทอร์เน็ต
1. ใบงานที่ 13 เขียน
แผนภาพและตอ่ ชิ้นสว่ น
อเิ ลก็ ทรอนิกส์
2. ใบความรู้ เรือ่ ง
ต่อชน้ิ ส่วนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
3. Powerpoint
เรอื่ ง อิเล็กทรอนิกส์
4.โปรเจกเตอร์
5.หนังสอื แบบเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอรเ์ น็ต
ครง้ั ที่/ จำนวน ตัวชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาท่สี อน/ ส่อื / แหลง่ เรียนรู้
วนั /เวลา ขอ้ สอบกลางภาค
ครัง้ ท่ี 22-23 ช่วั โมง /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมสำคญั /ภาระงาน
ครั้งที่ 24-26 3 ตวั ช้วี ดั ท่ี 1-13 สอบกลางภาค
9 16. อธิบายและคำนวณ สาระการเรยี นรู้ 1.ใบงานท่ี 14 คำนวณ
พลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ
W = Pt รวมทงั้ คำนวณคา่ - คำนวณ พลังงานไฟฟ้าโดยใช้ พลงั งานไฟฟา้ โดยใช้ สมการ
ไฟฟา้ ของเครื่องใช้ ไฟฟ้าใน สมการ W = Pt
บ้าน W = Pt
- 2. Powerpoint
เรอ่ื ง ไฟฟา้
3.โปรเจกเตอร์
4.หนงั สอื แบบเรียน
วิทยาศาสตร์ ม. 3
5. อนิ เทอร์เน็ต
ครง้ั ท่ี 30-32 6 17. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของการ สาระการเรยี นรู้ 1.ใบงานที่ 15 การเลือกใช้
เลอื กใช้เครื่องใชไ้ ฟฟา้ โดย - การเลอื กใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เคร่อื งใช้ไฟฟ้า
2.ใบความรู้ เร่อื ง การเลอื กใช้
นำเสนอวธิ ีการใช้ เครอื่ งใช้ไฟฟา้
เคร่ืองใช้ไฟฟ้า อยา่ งประหยดั 3. Powerpoint
และปลอดภยั เรือ่ ง ไฟฟ้า
4.โปรเจกเตอร์
5.หนงั สือแบบเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอร์เนต็
ครง้ั ท่ี/ จำนวน ตัวชวี้ ดั หรือผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหาท่ีสอน/ สื่อ / แหลง่ เรียนรู้
วัน/เวลา ชัว่ โมง /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กจิ กรรมสำคัญ/ภาระงาน
1. ใบงานท่ี 16 ความ
คร้งั ที่ 33-34 3 18. อธิบายปฏิสัมพันธ์ของ สาระการเรยี นรู้
องค์ประกอบของ ระบบนิเวศ - องค์ประกอบของ ระบบนเิ วศท่ไี ด้ ปฏิสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบ
ทไี่ ดจ้ ากการสำรวจ ของ ระบบนเิ วศท่ีได้จากการ
19.อธบิ ายรูปแบบ จากการสำรวจ สำรวจ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมชี วี ติ
กับสิ่งมชี วี ิตรปู แบบตา่ ง ๆ ใน 2. ใบความรู้ เร่ือง
แหล่งทีอ่ ยูเ่ ดยี วกนั ทไ่ี ด้จาก
การสำรวจ องคป์ ระกอบของ ระบบนเิ วศที่
ได้จากการสำรวจ
3. Powerpoint
เรอ่ื ง ระบบนเิ วศ
4.โปรเจกเตอร์
5.หนังสือแบบเรียน
วิทยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอรเ์ นต็
ครั้งท่ี 35-36 20. สร้างแบบจำลองในการ สาระสำคัญ 1. ใบงานที่ 17 การถา่ ยทอด
อธิบายการถ่ายทอด พลังงาน -
การถา่ ยทอด พลังงานในสายใย พลังงานในสายใยอาหาร
ในสายใยอาหาร อาหาร
2. ใบความรู้ เร่ือง การ
21. อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องผู้ - ความสมั พนั ธ์ของผู้ ผลิต
ผลติ ผบู้ รโิ ภค และ ผ้ยู อ่ ยสลาย ผบู้ ริโภค และ ผู้ยอ่ ยสลาย ถา่ ยทอด พลงั งานในสายใย
สารอนิ ทรยี ใ์ นระบบนเิ วศ อาหาร
สารอนิ ทรีย์ในระบบนเิ วศ
3. Powerpoint
22. อธิบายการสะสมสารพษิ เรอื่ ง ระบบนเิ วศ
4.โปรเจกเตอร์
ในสิ่งมชี วี ติ ในโซ่อาหาร
5.หนังสือแบบเรยี น
23. ตระหนักถงึ ความสมั พนั ธ์ วิทยาศาสตร์ ม. 3
6. อินเทอรเ์ นต็
ของส่งิ มชี วี ติ และ ส่งิ แวดลอ้ ม
ในระบบนเิ วศ โดยไมท่ ำลาย
สมดลุ ของระบบนิเวศ
คร้ังท่ี/ จำนวน ตวั ช้ีวดั หรือผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้/เนื้อหาที่สอน/ สอ่ื / แหลง่ เรียนรู้
วนั /เวลา ชว่ั โมง /จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กิจกรรมสำคญั /ภาระงาน
ครง้ั ที่ 37-38 1.ใบงานท่ี 18 ความ
3 24. เปรยี บเทยี บความ สาระการเรียนรู้ หลากหลายทาง
39-40 หลากหลายทางชวี ภาพใน - เทคโนโลยอี วกาศและการ 2. ใบความรู้ เร่ือง ความ
รวม 3 ระดบั ชนดิ สิง่ มชี ีวิตในระบบ สำรวจ หลากหลายทาง
60 นิเวศ 3. Powerpoint
ต่าง ๆ สอบปลายภาค
25. อธิบายความสำคญั ของ เรอ่ื ง ความหลากหลาย
ความหลากหลายทาง ชวี ภาพ
ที่มีตอ่ การรักษาสมดุลของ ทาง
ระบบนิเวศและตอ่ มนษุ ย์ 4.โปรเจกเตอร์
26.แสดงความตระหนักใน 5.หนังสือแบบเรยี น
คณุ ค่าและความสำคญั ของ วิทยาศาสตร์ ม. 3
ความหลากหลายทางชวี ภาพ 6. อนิ เทอร์เน็ต
โดยมสี ่วนรว่ ม ในการดูแล
รกั ษาความหลากหลายทาง ขอ้ สอบปลายภาค
ชวี ภาพ
ตวั ชี้วัดท่ี 14-26
14. แผนการประเมินผลการเรยี น = 70 : 30
1. อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 70 : 15 : 15
2. อตั ราส่วนคะแนน K : P : A
โดยมรี ายละเอียดดังน้ี ตวั ข้ีวดั /ผลการ ช่วงเวลา คะแนน
เรียนรู้ (สปั ดาห์ที่) (ร้อยละ)
ที่ วิธีการประเมินผลนักเรยี น
1 การทดสอบย่อยครัง้ ท่ี 1 ว2.1 ม.3/3 4 5
ว2.1 ม.3/4
2 การทดสอบย่อยคร้งั ท่ี 2 ว2.1 ม.3/5 8 5
ว2.1 ม.3/6
3 การทดสอบย่อยครงั้ ท่ี 3 ว2.1 ม.3/7 13 5
ว2.1 ม.3/8
ว2.3 ม.3/1
ว2.3 ม.3/2
ว2.3 ม.3/3
ว2.3 ม.3/4
ว2.3 ม.3/5
ว2.3 ม.3/6
ว2.3 ม.3/7
ว2.3 ม.3/8
ว2.3 ม.3/9
ว1.1 ม.3/1
ว1.1 ม.3/2
ว1.1 ม.3/3
ว1.1 ม.3/4
ว1.1 ม.3/5
ว1.1 ม.3/6
ว1.1 ม.3/7
ว1.1 ม.3/8-11
ที่ วิธกี ารประเมนิ ผลนักเรียน ตวั ข้วี ดั /ผลการ ช่วงเวลา คะแนน
เรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี) (ร้อยละ)
4 ทดสอบกลางภาค ว2.1 ม.3/1 10 20
ว2.1 ม.3/2
ว2.1 ม.3/3
ว2.1 ม.3/4
5 การสอบปลายภาค ว2.1 ม.3/6 20 30
6 ภาระงานกลุ่ม จำนวน 1 ช้ิน ว2.1 ม.3/7 6, 13 10
ว2.1 ม.3/8
ว2.3 ม.3/6
ว2.3 ม.3/7
ว2.3 ม.3/8
ว2.3 ม.3/9
ว1.1 ม.3/1
ว1.1 ม.3/2
ว1.1 ม.3/3
ว1.1 ม.3/4
ว1.1 ม.3/5
ว1.1 ม.3/6
ว1.1 ม.3/7
ว1.1 ม.3/9
ว1.1 ม.3/10
ว1.1 ม.3/11
ว5.1 ม.3/3
7 ภาระงานรายบุคคล จำนวน 1 ชนิ้ ว1.1 ม.3/3 8 10
การประเมนิ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ว1.1 ม.3/4 1-26 15
ว1.1 ม.3/5
ว1.1 ม 3/6
รวม 26 100
15. รายละเอียดภาระงาน
ในการเรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ว23102 กำหนดให้นักเรยี นทำกิจกรรม / ปฏบิ ัติงาน(ชิ้นงาน)
จำนวน 2 ช้ิน ดงั น้ี
ที่ ช่ืองาน ตวั ชวี้ ดั /ผลการ คะแนน ลกั ษณะ กำหนดสง่
เรยี นรู้ ข้อท่ี งาน วนั /เดือน/ปี
1 ส่งิ ประดิษฐ์จากวสั ดุเหลือใช้ ว5.1 ม.3/3 10 กล่มุ 19 ก.พ. 65
การประหยดั พลังงานไฟฟ้า 10 เดีย่ ว 26 ก.พ. 65
2 แผนภาพ การถา่ ยทอด ว1.1 ม.3/3
พลังงานในระบบนิเวศ ว1.1 ม.3/4
ว1.1 ม.3/5
ว1.1 ม 3/6
หากนกั เรียนขาดสง่ งาน 1 ช้ินและมีคะแนนตลอดภาคเรยี นไม่ถงึ 40 คะแนนจะไดร้ บั ผลการเรยี น
“ร”ในรายวชิ าน้ี (การกำหนดน้ำหนกั คะแนนต่อภาระหรือชนิ้ งาน ไมค่ วรกำหนดเกินชน้ิ ละ 5 คะแนนสำหรบั
งานเด่ียวและ 10 คะแนนสำหรับงานกลมุ่ )
16. Test blueprint (ตารางกำหนดนำ้ หนักคะแนนการวดั ประเมนิ ผล)
ตารางที่ 1 โครงสร้างข้อสอบระหว่างเรยี น (Formative Assessment)(F)
หนว่ ย คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี ระหว่าง จำนวน
รหสั ตัวชี้วัด// คำสำคญั เรยี น ดา้ นความร้(ู K) ด้านทักษะและกระบวนการคิด ขอ้ สอบ จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ผลการเรียนรู้ (Key Word)
2 จำ เขา้ ใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สรา้ ง MC MS C Rr rr er รวม
สรรค์ M
1
4 1. (ว2.1 ม.3/3) - อธิบาย -4 - - - - 4 4 - -- - - 4
อธบิ ายการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
รวมถึงการจดั เรียงตัวใหม่
ของอะตอมเมือ่ เกิดปฏิกริ ิยา
เคมี โดยใชแ้ บบจำลองและ
สมการขอ้ ความ - อธิบาย -1 - 1 - - 2 2 - -- - - 2
2. (ว2.1 ม.3/4)
อธบิ ายกฎทรงมวล โดย
ใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
หนว่ ย คำสำคญั คะแนน จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี (Key ระหวา่ ง จำนวน
รหสั ตวั ช้ีวดั // Word) เรยี น ด้านความรู้(K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ ข้อสอบ จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ผลการเรยี นรู้
-วเิ คราะห์ 2 จำ เขา้ ใจ ประยกุ ต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สรา้ ง MC MS C Rr rr er รวม
สรรค์ M
- อธบิ าย 2
4 3. (ว2.1 ม.3/5) -3 1 - - - 4 4 - - - -- 4
วิเคราะหป์ ฏิกิรยิ าดดู ความร้อน -1 1 1 1 - 4 4 - - - -- 4
และปฏกิ ริ ิยา คายความรอ้ น จาก
การเปลย่ี นแปลงพลังงาน ความ
รอ้ นของปฏิกริ ิยา
4. (ว2.1 ม.3/6)
อธบิ ายปฏิกิรยิ าการเกดิ สนมิ ของ
เหลก็ ปฏกิ ริ ิยา ของกรดกบั โลหะ
ปฏกิ ิรยิ าของกรดกบั เบส และ
ปฏกิ ิรยิ าของเบสกบั โลหะ โดยใช้
หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และอธิบาย
ปฏกิ ริ ิยาการเผาไหม้ การเกิดฝน
กรด การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้
สารสนเทศ รวมท้ังเขียนสมการ
ขอ้ ความแสดง ปฏิกริ ยิ าดังกลา่ ว
คำสำคัญ คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนข้อสอบ
(Key ระหว่าง จำนวน
หน่วย รหสั ตวั ช้ีวดั // Word) เรียน ด้านความร้(ู K) ด้านทักษะและกระบวนการคิด ขอ้ สอบ จำแนกตามรูปแบบขอ้ สอบ
ท่ี ผลการเรียนรู้
2 จำ เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมนิ ค่า สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
1
4 5. (ว 2.1 ม.3/7) - ระบุ -2 1 1 - - 4 4--- -- 4
ระบปุ ระโยชนแ์ ละโทษของ
ปฏิกิริยาเคมี ท่มี ตี อ่ สง่ิ มีชวี ติ และ
ส่งิ แวดลอ้ ม และยกตัวอย่าง
วธิ กี ารป้องกันและแก้ปญั หาที่เกิด
จากปฏกิ ิริยาเคมี ที่พบในชวี ิต
ประจำ
วัสดุจากการสืบคน้ ข้อมลู
6. (ว 2.1 ม.3/8)
ออกแบบวิธแี กป้ ญั หาใน
ชีวิตประจำวนั โดยใช้ ความรู้ - ออกแบบ -1 - 1 - - 2 2--- -- 2
เกย่ี วกับปฏกิ ิรยิ าเคมี โดยบรู ณา - ใช้
การ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ประโยชน์
เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์
รวมคะแนนและจำนวนข้อสอบ
หน่วย รหสั ตวั ชี้วดั // คำสำคัญ คะแนน จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ท่ี ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ระหว่าง ด้านความร(ู้ K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน จำแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
ข้อสอบ
เรยี น จำ เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินคา่ สรา้ งสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
4 7. (ว2.1 ม.3/1) -ระบุ 1 -2 - - - - 2 2-- --- 2
ระบุสมบตั ิทางกายภาพและ
การใช้ประโยชน์ วสั ดุ
ประเภทพอลเิ มอร์ เซรา
มิกส์ และวสั ดผุ สม โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจักษ์ และ
สารสนเทศ
8. (ว2.1 ม.3/2)
ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการ - ระบุ 1 -1 1 - - - 2 2--- -- 2
ใช้วสั ดปุ ระเภท พอลิเมอร์ - นำไปใช้
เซรามกิ ส์ และวสั ดผุ สม โดย
เสนอ แนะแนวทางการใช้
วัสดอุ ย่างประหยดั และ
คมุ้ คา่
รวมคะแนนและจำนวนข้อสอบ
หน่วย คำสำคัญ คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี (Key ระหว่าง จำนวน
รหสั ตัวช้ีวัด// Word) เรยี น ด้านความรู(้ K) ด้านทักษะและกระบวนการคิด ข้อสอบ จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ผลการเรียนรู้
2 จำ เข้าใจ ประยกุ ต์ใช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
4 9. (ว 2.3 ม.3/1) -วเิ คราะห์ -2 - 2 - - 4 4-- - -- 4
วเิ คราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหว่าง
ความตา่ งศกั ย์ กระแสไฟฟ้า และ
ความตา้ นทาน และคำนวณ
ปริมาณท่ีเกี่ยวข้องโดยใช้สมการ
V = IR จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
10. (ว 2.3 ม.3/2) - เขียน 1 -2 - - - - 2 2 - - - -- 2
เขยี นกราฟความสมั พันธร์ ะหวา่ ง
กระแสไฟฟ้าและความตา่ ง
ศักยไ์ ฟฟา้
รวมคะแนนและจำนวนข้อสอบ
หนว่ ย คำสำคัญ จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ท่ี (Key จำนวน
รหัสตัวชี้วดั // Word) คะแนน ดา้ นความรู้(K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคิด ขอ้ สอบ จำแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
ผลการเรยี นรู้ กลางภาค
จำ เขา้ ใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
4 11. (ว 2.3 ม.3/3) -ใช้ 1 -2 - - - - 2 2-- --- 2
ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมเิ ตอรใ์ นการ -วัด 2
วัดปริมาณทางไฟฟ้า 2
12. (ว 2.3 ม.3/4) - วิเคราะห์ - 2 - 2 - - 4 4-- --- 4
วเิ คราะหค์ วามตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ และ - นำไปใช้
กระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าเมื่อตอ่
ตัวตา้ นทานหลายตัว แบบ
อนุกรมและแบบขนานจาก
หลกั ฐานเชิงประจักษ์
13. (ว 2.3 ม.3/5)
เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดง - เขยี น -3 - 1 - - 4 4-- --- 4
การตอ่ ตวั ตา้ นทาน แบบอนุกรม
และขนาน
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
หนว่ ย คำสำคัญ คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี (Key ระหวา่ ง จำนวน
รหสั ตัวชี้วัด// Word) เรยี น ดา้ นความร้(ู K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคิด ขอ้ สอบ จำแนกตามรูปแบบข้อสอบ
ผลการเรยี นรู้
จำ เขา้ ใจ ประยุกตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินคา่ สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
4 14. (ว 2.3 ม.3/8)อธิบายและ -อธบิ าย 2 - 3 - 1 - - 4 4-- --- 4
คำนวณพลงั งานไฟฟ้าโดยใช้สมการ -คำนวณ 1
W = Pt รวมทง้ั คำนวณคา่ ไฟฟ้า
ของเครือ่ งใช้ ไฟฟ้าในบ้าน
15. (ว 2.3 ม.3/9)ตระหนักใน
คณุ คา่ ของการเลือกใช้ - ตระหนกั -1 - 1 - - 2 2-- --- 2
เครือ่ งใช้ไฟฟา้ โดยนำเสนอ
วิธีการใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ อย่าง - นำไปใช้
ประหยดั และปลอดภัย
16. (ว 2.3 ม.3/6) -บรรยาย 1 -2 - - - - 2 2-- --- 2
บรรยายการทำงานของชน้ิ ส่วน
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อยา่ งง่ายในวงจร
จากข้อมลู ที่รวบรวมได้
หนว่ ย คำสำคัญ คะแนน จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี (Key ปลาย ดา้ นความร(ู้ K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน
รหัสตัวชี้วัด// Word) ภาค ข้อสอบ จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ผลการเรียนรู้ จำ เขา้ ใจ ประยุกตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์
1 M M C Rr rr er รวม
C S M
2
4 17. (ว 2.3 ม.3/7) -เขยี น -2 - - - - 2 2-- --- 2
เขยี นแผนภาพและต่อช้ินส่วน 1
อิเล็กทรอนกิ ส์ อยา่ งง่ายใน
วงจรไฟฟ้า
18. (ว1.1 ม.3/1)
อธบิ ายปฏิสมั พนั ธข์ อง -4 - - - - 4 4-- --- 4
องค์ประกอบของ ระบบนเิ วศที่ได้ - อธิบาย
- สำรวจ
จากการสำรวจ
19. (ว1.1ม.3/2)
อธิบายรูปแบบความสมั พันธ์
ระหวา่ งสิ่งมชี วี ิต กบั ส่งิ มชี ีวิต - อธิบาย -2 - -- - 2 2-- --- 2
รูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งทีอ่ ยู่
เดยี วกัน ท่ีไดจ้ ากการสำรวจ
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
หนว่ ย คำสำคัญ คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ท่ี (Key ปลาย ดา้ นความร้(ู K) ด้านทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน
รหสั ตัวชี้วดั // Word) ภาค ขอ้ สอบ จำแนกตามรูปแบบขอ้ สอบ
ผลการเรยี นรู้ จำ เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมินค่า สรา้ งสรรค์
-สร้าง 1 M M C Rr rr er รวม
C S M
5 20. (ว1.1ม.3/3) -2 - - - - 2 2-- --- 2
สร้างแบบจำลองในการอธิบาย
การถ่ายทอด พลังงานในสายใย
อาหาร
21. (ว1.1ม.3/4) - อธบิ าย 1 -2 - - - - 2 2-- --- 2
อธบิ ายความสมั พันธข์ องผู้ ผลติ
ผ้บู รโิ ภค และ ผู้ย่อยสลาย
สารอินทรยี ใ์ นระบบนิเวศ
22. (ว1.1ม.3/5) - อธบิ าย 1 -2 - -- - 2 2-- --- 2
อธบิ ายการสะสมสารพิษใน
สิ่งมชี ีวติ ในโซ่อาหาร
หนว่ ย รหสั ตวั ช้ีวัด// คำสำคญั คะแนน จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ปลาย จำนวน จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ภาค ดา้ นความรู้(K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ ขอ้ สอบ
M M C Rr rr er รวม
จำ เขา้ ใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมินคา่ สร้างสรรค์ C S M
5 23. (ว1.1ม.3/6) -ตระหนัก 1 -1 - - 1 - 2 2-- --- 2
ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิง่ มชี ีวติ
และ สิ่งแวดลอ้ มในระบบนเิ วศ โดย
ไม่ทำลายสมดลุ ของระบบนิเวศ
24. (ว1.3 ม.3/9)เปรยี บเทียบ
ความหลากหลายทางชีวภาพใน -เปรยี บเทียบ 1 - 1 - 1 - - 2 2-- --- 2
- 2 2 -- --- 2
ระดบั ชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนเิ วศ
ต่าง ๆ
25. (ว1.3 ม.3/10)
อธิบายความสำคญั ของความ - อธบิ าย 1 -2 - --
หลากหลายทาง ชวี ภาพที่มีต่อการ
รักษาสมดลุ ของระบบนิเวศและตอ่
มนุษย์
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
หน่วย รหัสตัวชี้วดั // คำสำคญั คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ปลาย ดา้ นความร้(ู K) ด้านทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน จำแนกตามรูปแบบขอ้ สอบ
ขอ้ สอบ
ภาค จำ เข้าใจ ประยกุ ต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
5 26.(ว1.3 ม.3/11) -ตระหนัก 1 -1 - - 1 - 2 2-- --- 2
แสดงความตระหนกั ในคุณค่าและ
ความสำคญั ของความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ โดยมสี ว่ นร่วม ในการ
ดูแลรักษาความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ 35 51 4 12 3 70 70 - - - - - 70
หน่วย รหัสตัวช้ีวดั // คำสำคญั คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนข้อสอบ
จำนวน จำแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
ที่ ผลการเรียนรู้ (Key Word) กลางภาค ขอ้ สอบ
ดา้ นความร(ู้ K) ด้านทักษะและกระบวนการคดิ
จำ เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สรา้ ง MC MS C Rr rr er รวม
สรรค์ M
4 1. (ว2.1 ม.3/3) - อธิบาย 1 - 3 - - - - 3 3 - -- - - 3
อธิบายการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
รวมถงึ การจัด เรียงตัวใหม่
ของอะตอมเม่ือเกดิ ปฏิกิรยิ า
เคมี โดยใชแ้ บบจำลองและ
สมการข้อความ - อธิบาย 1 - 3 - - - - 3 3 - -- - - 3
2. (ว2.1 ม.3/4)
อธิบายกฎทรงมวล โดย
ใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
ตารางที่ 7 โครงสรา้ งข้อสอบกลางภาค(Summative Assessment)(S2/63) รายวิชา วทิ ยาศาสตร6์ รหสั วชิ า ว23102 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี3
หนว่ ย รหสั ตวั ช้ีวัด// คำสำคัญ คะแนน จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ท่ี ผลการเรียนรู้ (Key กลางภาค ด้านความรู้(K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ขอ้ สอบ
Word) จำ เขา้ ใจ ประยุกตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมนิ ค่า สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
4 5. (ว 2.1 ม.3/7) - ระบุ 2 -4 1 1 - - 6 6--- -- 6
ระบปุ ระโยชนแ์ ละโทษของ
ปฏิกริ ยิ าเคมี ท่มี ตี ่อส่งิ มีชีวติ และ
สงิ่ แวดล้อม และยกตัวอย่าง
วธิ กี ารป้องกันและแก้ปญั หาทเ่ี กดิ
จากปฏกิ ริ ยิ าเคมี ทีพ่ บในชวี ิต
ประจำ
วัสดุจากการสืบค้นข้อมลู
6. (ว 2.1 ม.3/8) - ออกแบบ 2 - 3 1 1 1 - 6 6 - - -- - 6
ออกแบบวธิ ีแกป้ ญั หาใน - ใช้
ชวี ิตประจำวัน โดยใช้ ความรู้ ประโยชน์
เกี่ยวกับปฏกิ ิรยิ าเคมี โดยบรู ณา
การ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
หนว่ ย รหัสตวั ชี้วดั // คำสำคัญ คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา รวม จำนวนข้อสอบ
ด้านความร(ู้ K) ด้านทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key Word) กลางภาค
จำ เขา้ ใจ ประยกุ ต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ ค่า สรา้ งสรรค์ ข้อสอบ M M C Rr rr er รวม
C S M
4 7. (ว2.1 ม.3/1) -ระบุ 1 - 2 - 1 - - 3 3-- --- 3
ระบสุ มบัติทางกายภาพและ
การใช้ประโยชน์ วัสดุ
ประเภทพอลเิ มอร์ เซรา
มิกส์ และวัสดผุ สม โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ และ
สารสนเทศ
8. (ว2.1 ม.3/2)
ตระหนักถึงคณุ ค่าของการ - ระบุ 1 -1 1 - 1 - 3 3--- -- 3
ใชว้ ัสดปุ ระเภท พอลิเมอร์ - นำไปใช้
เซรามิกส์ และวสั ดผุ สม โดย
เสนอ แนะแนวทางการใช้
วัสดอุ ยา่ งประหยัดและ
คมุ้ ค่า
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ
หนว่ ย คำสำคัญ จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ท่ี (Key จำนวน
รหสั ตวั ชี้วดั // Word) คะแนน ด้านความรู(้ K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ ข้อสอบ จำแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
ผลการเรียนรู้ กลางภาค
จำ เข้าใจ ประยุกตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สรา้ งสรรค์ M M C Rr rr er รวม
2 C S M
4 9. (ว 2.3 ม.3/1) -วิเคราะห์ -2 2 2 - - 6 6-- - -- 6
วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหว่าง
ความตา่ งศักย์ กระแสไฟฟา้ และ
ความต้านทาน และคำนวณ
ปริมาณทเ่ี กี่ยวขอ้ งโดยใช้สมการ
V = IR จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
10. (ว 2.3 ม.3/2) - เขยี น 1 -3 - - - - 3 3 - - - -- 3
เขยี นกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสไฟฟา้ และความตา่ ง
ศกั ยไ์ ฟฟา้
รวมคะแนนและจำนวนข้อสอบ
หนว่ ย คำสำคัญ จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี (Key ด้านความร้(ู K) ด้านทักษะและกระบวนการคิด จำนวน
รหสั ตวั ช้ีวัด// Word) คะแนน ขอ้ สอบ จำแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
ผลการเรียนรู้ กลางภาค จำ เขา้ ใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ ค่า สร้างสรรค์
M M C Rr rr er รวม
C S M
4 11. (ว 2.3 ม.3/3) -ใช้ 1 -3 - - - - 3 3-- --- 3
ใช้โวลตม์ ิเตอร์ แอมมเิ ตอรใ์ นการ -วัด 2
วัดปรมิ าณทางไฟฟา้
2
12. (ว 2.3 ม.3/4) - วเิ คราะห์ - 3 - 2 - - 5 23- --- 5
วิเคราะหค์ วามตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ และ - นำไปใช้
กระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อ
ตัวต้านทานหลายตวั แบบ
อนกุ รมและแบบขนานจาก
หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
13. (ว 2.3 ม.3/5)
เขียนแผนภาพวงจรไฟฟา้ แสดง - เขียน -1 - 1 - - 2 -2- --- 2
การต่อตัวตา้ นทาน แบบอนกุ รม
และขนาน
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ 20 - 34 9 9 3 - 55 50 5 - - - - 55
ตารางที่ 8 โครงสร้างขอ้ สอบปลายภาค(Summative Assessment)(S2) รายวิชา วทิ ยาศาสตร์6 รหัสวิชา ว23102
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
หนว่ ย รหัสตัวช้ีวัด// คำสำคญั จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนข้อสอบ
ท่ี ผลการเรยี นรู้ (Key ด้านความร(ู้ K) ด้านทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน
Word) คะแนน ข้อสอบ จำแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ปลายภาค จำ เข้าใจ ประยกุ ต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สรา้ งสรรค์
-อธิบาย M M C Rr rr er รวม
-คำนวณ 3 C S M
5 14. (ว 2.3 ม.3/8)อธิบายและ - ตระหนกั 3 - 3 - 3 - - 6 6-- --- 6
- นำไปใช้
คำนวณพลงั งานไฟฟา้ โดยใช้ 3 -3 1 2 - - 6 6-- --- 6
สมการ W = Pt รวมท้งั คำนวณ -บรรยาย
ค่าไฟฟ้าของเคร่อื งใช้ ไฟฟ้าใน
บ้าน -6 - -- - 6 6-- --- 6
15. (ว 2.3 ม.3/9)ตระหนักใน
คณุ ค่าของการเลอื กใช้
เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ โดยนำเสนอ
วิธกี ารใช้เครื่องใชไ้ ฟฟา้ อย่าง
ประหยดั และปลอดภยั
16. (ว 2.3 ม.3/6)
บรรยายการทำงานของชนิ้ ส่วน
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อย่างง่ายในวงจร
จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้
หนว่ ย รหัสตวั ชี้วัด// คำสำคัญ คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ท่ี ผลการเรยี นรู้ (Key ปลายภาค ดา้ นความร(ู้ K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคิด จำนวน จำแนกตามรูปแบบขอ้ สอบ
ข้อสอบ
Word) จำ เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินคา่ สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
5 17. (ว 2.3 ม.3/7) -เขียน 2 - 4 - - - - 4 4 - - - - - 4
เขยี นแผนภาพและตอ่ ชน้ิ ส่วน
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ อยา่ งง่ายใน
วงจรไฟฟ้า
6 18. (ว1.1 ม.3/1)
อธิบายปฏิสมั พนั ธ์ของ
องค์ประกอบของ ระบบนเิ วศทไ่ี ด้ - อธบิ าย 2 - 4 - - - - 4 4-- --- 4
จากการสำรวจ - สำรวจ
19. (ว1.1ม.3/2)
อธิบายรูปแบบความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งสิ่งมีชวี ติ กับส่ิงมีชีวติ - อธบิ าย 3 -6 - - - - 6 6-- --- 6
รปู แบบตา่ ง ๆ ในแหล่งที่อยู่
เดยี วกนั ทีไ่ ดจ้ ากการสำรวจ
รวมคะแนนและจำนวนข้อสอบ จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนข้อสอบ
หนว่ ย รหสั ตัวช้ีวัด// คำสำคัญ คะแนน
ที่ ผลการเรียนรู้ (Key ปลายภาค ดา้ นความร(ู้ K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคิด จำนวน จำแนกตามรูปแบบข้อสอบ
ขอ้ สอบ
Word) จำ เข้าใจ ประยกุ ต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
6 20. (ว1.1ม.3/3) -สร้าง 2 -4 - - - - 4 4-- --- 4
สร้างแบบจำลองในการอธบิ าย
การถา่ ยทอด พลังงานในสายใย
อาหาร
21. (ว1.1ม.3/4) - อธบิ าย 2 -4 - - - - 4 4-- --- 4
อธิบายความสมั พนั ธ์ของผู้ ผลติ
ผบู้ ริโภค และ ผูย้ อ่ ยสลาย
สารอนิ ทรีย์ในระบบนิเวศ
22. (ว1.1ม.3/5) - อธบิ าย 2 - 4 - -- - 4 4-- --- 4
อธบิ ายการสะสมสารพษิ ใน
สิ่งมชี วี ิตในโซอ่ าหาร
หนว่ ย รหัสตวั ช้ีวัด// คำสำคญั คะแนน จำนวนขอ้ สอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนข้อสอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ปลาย จำนวน จำแนกตามรูปแบบข้อสอบ
ภาค ดา้ นความรู้(K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคิด ขอ้ สอบ
M M C Rr rr er รวม
จำ เขา้ ใจ ประยุกตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมินคา่ สร้างสรรค์ C S M
6 23. (ว1.1ม.3/6) -ตระหนัก 2 -1 1 - 2 - 4 4-- --- 4
ตระหนกั ถงึ ความสมั พันธ์ของสิง่ มชี ีวิต
และ ส่ิงแวดลอ้ มในระบบนเิ วศ โดย
ไม่ทำลายสมดลุ ของระบบนเิ วศ
24. (ว1.3 ม.3/9)เปรียบเทียบ - 2
ความหลากหลายทางชีวภาพใน -เปรยี บเทียบ 2 - 2 - - 4 4-- --- 4
- 4 4 -- --- 4
ระดบั ชนดิ สงิ่ มีชีวิตในระบบนเิ วศ
ต่าง ๆ
25. (ว1.3 ม.3/10)
อธิบายความสำคญั ของความ - อธบิ าย 2 -4 - --
หลากหลายทาง ชีวภาพที่มีต่อการ
รักษาสมดุลของระบบนเิ วศและตอ่
มนุษย์
รวมคะแนนและจำนวนข้อสอบ
หน่วย รหสั ตัวชี้วดั // คำสำคญั คะแนน จำนวนข้อสอบจำแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จำนวนขอ้ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key Word) ปลาย ด้านความรู้(K) ดา้ นทักษะและกระบวนการคดิ จำนวน จำแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
ขอ้ สอบ
ภาค จำ เขา้ ใจ ประยุกตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมินค่า สร้างสรรค์ M M C Rr rr er รวม
C S M
6 26.(ว1.3 ม.3/11) -ตระหนัก 2 -2 1 - 1 - 4 4-- --- 4
แสดงความตระหนักในคุณคา่ และ
ความสำคญั ของความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ โดยมีสว่ นร่วม ในการ
ดแู ลรักษาความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
รวมคะแนนและจำนวนขอ้ สอบ 30 47 3 7 3 60 60 - - - - - 60
หมายเหตตุ ัวชีว้ ดั ใดจะออกขอ้ สอบ วดั จำ /ใจ/ใช/้ ว/ิ ประ/สรา้ ง ให้ดู ผลการวิเคราะหเ์ ชือ่ มโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวัดดว้ ยขอ้ สอบแบบใด(MC=แบบคำตอบเดยี ว/MS=แบบหลายคำตอบ/ CM=
แบบเชงิ ซ้อน/Rr=แบบกลุม่ คำสมั พันธ์/rr=แบบจำกัดคำตอบ/er=แบบขยายคำตอบหรอื ไมจ่ ำกดั คำตอบ)กีข่ อ้
17. วิธกี ารจดั การเรยี นการสอน (ระบุได้มากกว่า 1วธิ ี)
[ ] แบบทดลองในหอ้ งปฏิบตั ิการ [ ] แบบกรณศี ึกษา
[] แบบ Problem Based Learning [ ] แบบ Tutorial Group
[]แบบสาธิต 1. (ว2.1 ม.3/5) [] แบบ Brainstorming Group
[] แบบ บรรยาย [ ] แบบอน่ื ๆ (ระบ)ุ ………….
18. ส่ือ / แหลง่ เรยี น
1. แหล่งข้อมลู บนเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ได้แก่
1.1 http://www.ipst.ac.th
2. หอ้ งปฎบิ ัติการทางวิทยาศาสตร์ โรงเรียนหนองกพี่ ิทยาคม ฯลฯ
3. https://classroom.google.com/c/MjIwNzM1MjY5NzE1/m/MjU2MTc4Nzg5Nz
19. รายชื่อหนงั สืออา่ นประกอบ
หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์6 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เล่ม 2 ของ สสวท.
หนังสือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิชา วทิ ยาศาสตร์ 6 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เลม่ 2 ของ สสวท.
20. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด(ผลการเรยี นรู้) รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์6 ว23102
1. อธิบายการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี รวมถึงการจดั เรยี งตัวใหม่ของอะตอมเมอ่ื เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี โดยใช้
แบบจำลองและ สมการขอ้ ความ (ว2.1 ม.3/3)
2. อธิบายกฎทรงมวล โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ (ว2.1 ม.3/4)
3. วเิ คราะห์ปฏกิ ริ ยิ าดดู ความรอ้ น และปฏิกริ ิยา คายความร้อน จากการเปลีย่ นแปลงพลงั งาน
ความร้อนของปฏิกริ ิยา (ว2.1 ม.3/5)
4. อธิบายปฏกิ ริ ยิ าการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏกิ ริ ิยาของกรดกับโลหะ ปฏกิ ริ ิยาของกรดกับเบส และ
ปฏกิ ริ ยิ าของเบสกบั โลหะ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ และอธบิ ายปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝน
กรด การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง โดยใชส้ ารสนเทศ รวมทง้ั เขยี นสมการข้อความแสดง ปฏกิ ิริยาดังกล่าว
(ว2.1 ม.3/6)
5. ระบปุ ระโยชนแ์ ละโทษของปฏิกิริยาเคมี ที่มีต่อสงิ่ มชี วี ติ และสิง่ แวดล้อม และยกตวั อยา่ ง วิธกี าร
ปอ้ งกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏกิ ริ ิยาเคมี ทพี่ บในชีวติ ประจำวนั จากการสืบคน้ ข้อมลู (ว2.1 ม.3/7)
6. ออกแบบวธิ ีแกป้ ัญหาในชีวิตประจำวนั โดยใช้ ความรู้เก่ียวกับปฏกิ ิรยิ าเคมี โดยบูรณาการ
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรเ์ ทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ (ว2.1 ม.3/8)
7. ระบสุ มบัตทิ างกายภาพและการใช้ประโยชน์ วสั ดปุ ระเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจักษ์ และสารสนเทศ (ว2.1 ม.3/1)
8. ตระหนักถึงคณุ ค่าของการใช้วัสดปุ ระเภท พอลเิ มอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม โดยเสนอแนะ
แนวทางการใชว้ ัสดอุ ยา่ งประหยดั และค้มุ คา่ (ว2.1 ม.3/2)
9. วเิ คราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งความตา่ งศักย์ กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทาน และคำนวณ ปรมิ าณท่ี
เก่ียวขอ้ งโดยใชส้ มการ V = IR จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ (ว2.3 ม.3/1)
10. เขยี นกราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ งกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟา้ (ว2.3 ม.3/2)
11. ใช้โวลต์มเิ ตอร์ แอมมเิ ตอรใ์ นการวดั ปรมิ าณทางไฟฟ้า (ว2.3 ม.3/3)
ห ลั ก สู ต ร ร า ย วิ ช า | 2
12. วเิ คราะหค์ วามต่างศักยไ์ ฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟา้ เม่ือตอ่ ตัวต้านทานหลายตัว แบบอนกุ รมและ
แบบขนานจากหลักฐาน เชิงประจกั ษ์ (ว2.3 ม.3/4)
13. เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรมและขนาน (ว2.3 ม.3/5)
14. อธิบายและคำนวณพลงั งานไฟฟ้าโดยใชส้ มการ W = Pt รวมทงั้ คำนวณคา่ ไฟฟ้าของเครื่องใช้ ไฟฟ้า
ในบ้าน (ว2.3 ม.3/8)
15. ตระหนกั ในคุณค่าของการเลือกใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า โดยนำเสนอวธิ กี ารใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า อย่างประหยดั และ
ปลอดภัย (ว2.3 ม.3/9)
16. บรรยายการทำงานของชิน้ สว่ นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ อยา่ งง่ายในวงจรจากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ (ว2.3 ม.3/6)
17. เขียนแผนภาพและต่อชิน้ สว่ นอเิ ล็กทรอนิกส์ อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้า (ว2.3 ม.3/7)
18. อธบิ ายปฏสิ ัมพนั ธ์ขององค์ประกอบของ ระบบนิเวศที่ได้จากการสำรวจ (ว1.1 ม.3/1)
19. อธบิ ายรปู แบบความสัมพันธ์ระหวา่ งส่ิงมชี วี ติ กับสิง่ มีชวี ิตรูปแบบต่าง ๆ ในแหลง่ ทีอ่ ยเู่ ดยี วกนั ทไี่ ด้จากการ
สำรวจ (ว1.1 ม.3/2)
20. สรา้ งแบบจำลองในการอธบิ ายการถา่ ยทอด พลงั งานในสายใยอาหาร (ว1.1 ม.3/3)
21. อธิบายความสมั พันธ์ของผผู้ ลิต ผ้บู รโิ ภค และ ผยู้ อ่ ยสลายสารอินทรียใ์ นระบบนเิ วศ (ว1.1 ม.3/4)
22. อธบิ ายการสะสมสารพิษในส่ิงมีชีวติ ในโซ่อาหาร (ว1.1 ม.3/5)
23. ตระหนักถึงความสมั พนั ธ์ของสิง่ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไมท่ ำลายสมดุลของระบบ
นเิ วศ (ว1.1 ม 3/6)
24. เปรยี บเทยี บความหลากหลายทางชวี ภาพ ในระดับชนิดส่ิงมีชีวติ ในระบบนเิ วศต่าง ๆ (ว1.3 ม.3/9)
25. อธิบายความสำคญั ของความหลากหลายทาง ชวี ภาพทีม่ ีตอ่ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
และตอ่ มนษุ ย์ (ว1.3 ม.3/10)
26. แสดงความตระหนักในคุณคา่ และความสำคัญ ของความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยมสี ว่ นรว่ ม
ในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ (ว1.3 ม.3/11)
21. ข้อตกลงในการเรียนรายวชิ าวิทยาศาสตร์6 ว23102
1. ตั้งใจเรยี น เชอ่ื ฟังครู
2. รบั ผิดชอบตอ่ งานที่ไดร้ บั มอบหมาย
3. ต้องเตรียมอุปกรณ์ในการเรียนให้ครบพร้อมเรียนในทกุ คาบเรยี น
4. ตรงต่อเวลา และมีมารยาททัง้ กาย วาจา และใจ สมกับเปน็ “สภุ าพบรุ ษุ สตรี ศรี น.พ.”
5. แต่งกายถกู ระเบยี บ และประพฤติตนถูกตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรียน
6. งดใช้โทรศพั ท์และอปุ กรณ์สอื่ สารทกุ ประเภทและงดรับประทานอาหารหรอื เคร่อื งดื่มในหอ้ งเรยี น
7. รกั ษาความสะอาดภายในห้องเรียนก่อนและหลงั เริ่มเรียน
8. ขออนญุ าตเข้าห้องและออกนอกห้องอยา่ งมีมารยาททกุ ครัง้
9. ฝา่ ฝืนขอ้ ตกลงต้องออกจากหอ้ งเรยี นและถือว่าขาดเรียนในคาบเรยี นนน้ั หากขาดเรียนเกิน 3ครัง้
โทรศัพทแ์ จง้ ผ้ปู กครอง
10. ชอ่ื ครูผ้สู อน นางนติ ยา คนชมุ เบอร์โทรศัพท์ 081-0588064