The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการจัดการเรียนการสอนร่วมสองปริญญา (Double Degree) ระหว่างหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ) คณะประมง และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ Master of Ecology and Biodiversity Program, School of Graduate Studies, University Putra Malaysia

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fish_KU, 2022-04-26 23:23:31

Master Double Degree KU-UPM (Marine Ecology and Biodiversity )

โครงการจัดการเรียนการสอนร่วมสองปริญญา (Double Degree) ระหว่างหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ) คณะประมง และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ Master of Ecology and Biodiversity Program, School of Graduate Studies, University Putra Malaysia

Keywords: Double Degree

1

โครงการจดั การเรยี นการสอนร่วมสองปริญญา (Double Degree)
ระหว่างหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี

(หลักสูตรนานาชาติ) และบัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
และ Master of Marine Ecology and Biodiversity Program,
School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia ประเทศมาเลเซีย

---------------------

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป

1.1 ชื่อโครงการ
โครงการจัดการเรียนการสอนร่วมสองปรญิ ญา (Double Degree) ระหวา่ งหลกั สตู รวิทยาศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาต)ิ คณะประมง และบัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ และ Master of Marine Ecology and Biodiversity Program,
School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia

1.2 ชือ่ หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี
หลักสูตรท่ี 1: (หลกั สตู รนานาชาติ)

ภาษาอังกฤษ Master of Science Program in Fishery Science and Technology
(International Program)
หลักสูตรท่ี 2:
Master of Marine Ecology and Biodiversity

1.3 ชื่อปริญญา

ปรญิ ญาที่ 1 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ชอ่ื เต็ม วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลย)ี

ชอ่ื ยอ่ วท.ม. (วทิ ยาศาสตรก์ ารประมงและเทคโนโลย)ี

ช่ือเต็ม Master of Science (Fishery Science and Technology)

ช่อื ยอ่ M.S. (Fishery Science and Technology)

ปรญิ ญาท่ี 2 จาก Universiti Putra Malaysia

ช่อื เต็ม (ภาษาอังกฤษ) Master of Marine Ecology and Biodiversity

ชื่อย่อ (ภาษาองั กฤษ) -

1.4 หนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบ
1) คณะประมง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
2) บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
3) School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia

1.5 ความเปน็ มา และหลักการและเหตผุ ลของโครงการ
ปัจจุบันประเทศต่าง ๆ มีความพยายามที่จะพัฒนาเศรษฐกิจให้มีการเติบโต โดยเฉพาะกลุ่ม

ประเทศจีน อินเดีย และประเทศสมาชิกอาเซียน มีความเจริญทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว โครงสร้างทาง
เศรษฐกิจมีแนวโนม้ ที่จะเปล่ียนจากภาคการเกษตรไปสู่ภาคอตุ สาหกรรม มีการนาความร้แู ละเทคโนโลยีมาใช้

2

ในการพัฒนาเศรษฐกิจการประมง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอย่างกว้างขวาง ข้อมูลขององค์การอาหาร
และเกษตรแหง่ สหประชาชาตชิ ้ีให้เหน็ ว่า แนวโนม้ การบรโิ ภคสตั ว์น้าทวั่ โลกกาลงั เพม่ิ ข้นึ อตั ราการบรโิ ภคสตั ว์
น้ามีเพิ่มมากข้ึนจาก 15 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ในปี 2543 เป็น 18 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ในปี 2553 การพัฒนา
ด้านการผลิตสัตว์น้า การแปรรูปและการตลาด มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเน่ือง ขณะที่แต่ละประเทศมีการ
พัฒนาความสัมพันธ์และมีการแข่งขันเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะประเทศในกลุ่มอาเซียนที่มีแผนในการเปิดเสรี
ตลาดแรงงานและการศึกษา จงึ มีความจาเป็นท่จี ะตอ้ งผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถบูรณาการ
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี เพ่ือใช้สาหรับการแก้ปัญหา และพัฒนาการประมง
ภายใต้หลักการทางวิทยาศาสตร์ โดยมคี วามสามารถในการปรบั ตัวให้สามารถแข่งขันและทางานได้ทั้งในและ
ต่างประเทศ อีกทั้งการเปิดเสรีของสินค้าและตลาดแรงงาน โดยเฉพาะในระดับภูมิภาค ส่งผลให้เกิดการ
แข่งขันของคุณภาพสินค้า ปริมาณการผลิตและความต้องการของสินค้า การบริโภคสัตว์น้า ได้รับความนิยม
อย่างย่ิงในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยมีการพัฒนารูปแบบของสินค้าเพื่อการบริโภคให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของประชาชนในแต่ละประเทศ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ในการบริโภคสินค้าสัตว์น้า จะเป็น
การเพ่ิมโอกาสให้กับประเทศไทย ซ่ึงเป็นผู้ผลิตสินค้าทางการประมง ทาให้มีโอกาสในการแข่งขันเพิ่มขึ้น
บุคลากรที่ความรู้ความเข้าใจทางด้านวิทยาศาสตร์การประมง และเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องจึงมีความสาคัญต่อ
การพัฒนาการประมงของประเทศเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมดังกล่าว คณะประมง
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ Universiti Putra Malaysia จงึ เล่งเห็นถึงความสาคัญในการพัฒนาทรัพยากร
บุคคลในระดับภูมิภาค เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการในด้านต่าง ๆ ในการผลิตอาหารและสัตว์น้าแก่
ผู้บริโภคและเป็นการใช้ประโยชน์ศักยภาพและองค์ความรู้ที่มีอย่อู ย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
ในระดับภูมิภาค บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ สามารถบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การประมงและ
เทคโนโลยี มีความสาคัญต่อการพัฒนาดังกล่าว ดังนั้นการเปิดและการพัฒนาโครงการจัดการเรียนการสอน
ร่วมสองปริญญา (Double Degree) จงึ มีเปา้ หมายให้ผู้เรียนมีทักษะในการวจิ ัยและสามารถใช้หลักการทาง
วิทยาศาสตร์ในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี เพ่ิมโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ระเบียบวิธี
วิจัยท่ีสามารถนามาปรับใช้ร่วมกับความรู้ โดยมีการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันในรูปแบบพหุ
วิทยาการ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์
เศรษฐกจิ และสงั คม เป็นการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลใหส้ ามารถปฏิบตั งิ านได้ในระดบั นานาชาติ

1.6 วตั ถุประสงค์ของโครงการ
1) เพ่ือเพิ่มนิสิตตา่ งชาตขิ องมหาวิทยาลยั ท้ัง 2 แหง่
2) เพ่ือผลิตนสิ ิตท่ีมีความรูค้ วามสามารถในระดับสากล
3) เพ่ือสรา้ งมาตรฐานระดบั สากลระหวา่ งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับ Universiti Putra Malaysia
4) เพื่อยกระดบั ศักยภาพทางวิชาการ การจดั การเรียนการสอนไปส่รู ะดับโลก
5) เพ่ือยกระดับมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ให้เปน็ ศนู ย์กลางทางวชิ าการสาขาเกษตรในเอเซียน

1.7 กาหนดการเปดิ เรียน
ปีการศึกษา 2560

1.8 คุณสมบัตขิ องผู้เข้าศกึ ษา
1) ผสู้ มัครต้องสาเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรที างด้านวิทยาศาสตร์หรือสาขาอื่นท่ีเกยี่ วขอ้ ง
2) มผี ลงานตพี ิมพ์ในวารสารหรอื สงิ่ ตีพิมพท์ างวชิ าการ
3) เป็นผผู้ ่านการคดั เลอื กโดยเป็นไปตามข้อตกลงรว่ มกันระหว่างมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์กบั
Universiti Putra Malaysia

3
4) คณุ สมบัติอืน่ ๆ ตามข้อบงั คับมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา

ของบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หรอื
5) ตามบันทึกข้อตกลงความร่มมอื ระหว่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ Universiti Putra

Malaysia เร่อื ง “Memorandum of Agreement Dual Research Degree (Masters and
PHD) between Kasetsart Univerrsity, Thailand and Universiti Putra Malaysia” โดยมี
แนวปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงร่วมกนั เร่ือง The KU-UPM Dual Degree Programme
Implementation Guideline

1.9 การคัดเลอื กผเู้ ข้าศกึ ษา
ตามข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรว์ ่าดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลยั

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

1.10 การจดั การเรียนการสอน
1) ใช้หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก์ ารประมงและเทคโนโลยี (หลกั สูตร

นานาชาต)ิ แผน ก แบบ ก1 ท่ไี ดร้ ับอนมุ ตั ิจากสภามหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ในการประชุมครั้งที่ 3/2557
เม่อื วนั ท่ี 24 มนี าคม พ.ศ. 2557 และ Master of Marine Ecology and Biodiversity Program ของ
School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia

2) จดั การเรยี นการสอนและการวจิ ยั โดยใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ภาษากลาง
3) ให้มีการศึกษาและทาวิจยั ที่มหาวทิ ยาลัยคู่สญั ญาเปน็ ระยะเวลาตามท่กี าหนดไว้ในบันทึกข้อตกลง
ร่วมมอื ระหวา่ งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ และ Universiti Putra Malaysia เรอ่ื ง “Memorandum of
Agreement Dual Research Degree (Masters and PhD) between Kasetsart University,
Thailand and Universiti Putra Malaysia” โดยมีแนวปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกนั เรื่อง The KU-UPM
Dual Degree Programme Implementation Guideline
4) การดูแลวทิ ยานพิ นธ์รว่ มกนั ใหอ้ ยภู่ ายใต้การดูแลของคณะกรรมการที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ และเป็น
ตามทีก่ าหนดไวใ้ นบันทึกข้อตกลงร่วมมือระหว่างมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และ Universiti Putra
Malaysia เรือ่ ง “Memorandum of Agreement Dual Research Degree (Masters and PhD)
between Kasetsart University, Thailand and Universiti Putra Malaysia”
5) การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ให้เปน็ ไปตามปฏิทนิ การศึกษาของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ และ Universiti Putra Malaysia

1.11 ระยะเวลาศึกษา
3 ปกี ารศึกษา

1.12 การลงทะเบียนเรียน
ตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรว์ ่าด้วยการศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษาของบณั ฑิตวทิ ยาลัย

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และ School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia

4

1.13 การวัดผลและการสาเร็จการศกึ ษา
1) ตามข้อบังคบั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ว่าดว้ ยการศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาของบณั ฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ และ Master of Marine Ecology and Biodiversity Program ของ School
of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia

2) นสิ ิตจะไดร้ ับอนุมตั ปิ ริญญาสองหลักสูตร ก็ต่อเมื่อสาเรจ็ การศกึ ษาจากหลักสตู รวิทยาศาสตรมหา-
บัณฑติ (วิทยาศาสตรก์ ารประมงและเทคโนโลยี) และ Master of Marine Ecology and Biodiversity
Program ของ School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia โดย ผลงานวทิ ยานิพนธต์ อ้ ง
ไดร้ ับการตีพิมพ์ หรอื อย่างน้อยดาเนนิ การใหผ้ ลงานหรือสว่ นหน่งึ ของผลงานไดร้ ับการยอมรับให้ตพี ิมพใ์ น
วารสารหรือสง่ิ พิมพท์ างวิชาการจานวน ๑ เร่อื ง โดยต้องตีพมิ พ์ในวารสารระดับนานาชาติทีอ่ ยูใ่ นฐานข้อมูล
ISI หรอื Scopus

3) นิสติ จะได้รบั อนุมัติปริญญาดงั น้ี
2.1) ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วทิ ยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี)
Master of Science (Fishery Science and Technology)
2.2) Master of Marine Ecology and Biodiversity

4) การขอสาเร็จการศกึ ษาในปริญญาเดยี ว อาจทาได้กรณมี ีเหตุผลอันสมควร ทงั้ นี้ โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการบริหารโครงการและได้รับอนมุ ัติจากคณบดีบัณฑติ วิทยาลัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
และ School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia

1.14 ระยะเวลาการดาเนนิ โครงการ
7 ปี (พ.ศ. 2560 ถงึ พ.ศ. 2566)

1.15 ข้อมลู การอนุมตั หิ ลกั สตู ร
หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต (วทิ ยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี) (หลกั สูตร

นานาชาต)ิ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2557 ไดร้ ับอนุมัติจากสภามหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 24 เดือน
มีนาคม พ.ศ. 2557

1.16 โครงสร้างหลักสตู ร

1) หลกั สูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลย)ี (หลักสูตร

นานาชาต)ิ แผน ก แบบ ก1

จานวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกว่า 36 หน่วยกิต

ก. วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 8 หนว่ ยกติ (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

- สัมมนา 2 หนว่ ยกิต (ไม่นับหนว่ ยกติ )

- วิชาเอกบังคบั 6 หนว่ ยกติ (ไมน่ ับหน่วยกติ )

ข. วทิ ยานพิ นธ์ ไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกติ

2) Master of Marine Ecology and Biodiversity Program

จานวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สูตร ไมน่ ้อยกวา่ 17-20 หนว่ ยกติ

ก. วชิ าเอก ไม่น้อยกว่า 8 หนว่ ยกติ

- สัมมนา 2 หนว่ ยกติ

- วิชาเอกบังคับ 6 หนว่ ยกิต

ข. วทิ ยานิพนธ์ ไมน่ ้อยกว่า 9-12 หนว่ ยกิต

5

3) หลักสตู รโครงการความรว่ มมอื จัดการเรยี นการสอนร่วมสองปริญญา (Double Degree)

3.1) สาหรับนสิ ิตมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตร ไมน่ อ้ ยกว่า 36 หนว่ ยกติ

ก. วิชาเอก ไมน่ อ้ ยกว่า 16 หนว่ ยกติ (ไม่นบั หนว่ ยกิต)

- สมั มนา 2 หน่วยกติ (ไมน่ บั หน่วยกติ ) ที่ ม.เกษตรศาสตร์

- วชิ าเอกบังคับ 6 หนว่ ยกิต (ไมน่ ับหน่วยกิต) ท่ี ม.เกษตรศาสตร์

- สัมมนา 2 หน่วยกติ (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) ท่ี Universiti Putra Malaysia

- วิชาเอกบงั คบั 6 หนว่ ยกติ (ไมน่ บั หน่วยกิต) ท่ี Universiti Putra Malaysia

ข. วิทยานพิ นธ์ ไม่น้อยกว่า 36 หนว่ ยกติ

3.2) สาหรบั นสิ ติ Universiti Putra Malaysia

จานวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสตู ร ไมน่ อ้ ยกว่า 36 หนว่ ยกติ

ก. วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 16 หนว่ ยกติ (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

- สัมมนา 2 หน่วยกติ (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) ที่ ม.เกษตรศาสตร์

- วชิ าเอกบงั คับ 6 หนว่ ยกติ (ไมน่ บั หน่วยกติ ) ที่ ม.เกษตรศาสตร์

- สมั มนา 2 หน่วยกิต (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) ท่ี Universiti Putra Malaysia

- วชิ าเอกบังคบั 6 หน่วยกติ (ไมน่ ับหน่วยกิต) ที่ Universiti Putra Malaysia

ข. วทิ ยานพิ นธ์ ไม่น้อยกว่า 36 หนว่ ยกติ

1.17 รายวชิ าเรยี นในหลักสตู รโครงการความรว่ มมือจัดการเรียนการสอนรว่ มสองปริญญา (Double Degree)

1.17.1 สาหรับนสิ ติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

1) วชิ าสัมมนา ไมน่ ้อยกว่า 4 หน่วยกติ

01256597 สัมมนา 2 หนว่ ยกิต (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

SPS5903 Seminar (research proposal) 1 หน่วยกิต (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

BBS5903 Master seminar final 1 หน่วยกิต (ไมน่ ับหน่วยกิต)

2) วชิ าเอกบงั คับ ไม่น้อยกวา่ 12 หน่วยกติ

01256511 ทรัพยากรประมงกับความมั่นคงทางอาหาร 3(3-0-6) (ไมน่ บั หน่วยกติ )

01256591 ระเบยี บวิธีวิจยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 3(3-0-6) (ไม่นบั หนว่ ยกติ )

การประมงและเทคโนโลยี

BBS5901 Research methodology 3 หนว่ ยกิต (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

BBS5902 Scientific Writing in biotechnology 3 หน่วยกิต (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

3) วิทยานพิ นธ์ ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกติ

01256599 วิทยานพิ นธ์ 1-36 หน่วยกิต

SPS5999 Master’s research 9-12 หน่วยกิต

1.17.2 สาหรบั นสิ ติ Universiti Putra Malaysia 2 หน่วยกิต (ไม่นับหนว่ ยกิต)
1) วชิ าสัมมนา ไมน่ ้อยกวา่ 4 หน่วยกติ 1 หนว่ ยกติ (ไม่นับหน่วยกิต)
01256597 สมั มนา
SPS5903 Seminar (research proposal)

6 1 หนว่ ยกติ (ไม่นบั หนว่ ยกิต)

BBS5903 Master seminar final 3(3-0-6) (ไมน่ ับหนว่ ยกิต)
2) วชิ าเอกบังคับ ไมน่ ้อยกว่า 12 หนว่ ยกิต 3(3-0-6) (ไมน่ ับหน่วยกติ )

01256511 ทรัพยากรประมงกับความมั่นคงทางอาหาร 3 หน่วยกิต (ไมน่ ับหน่วยกิต)
01256591 ระเบยี บวธิ วี จิ ัยทางดา้ นวิทยาศาสตร์ 3 หน่วยกติ (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)

การประมงและเทคโนโลยี 1-36 หนว่ ยกติ
BBS5901 Research methodology 9-12 หนว่ ยกติ
BBS5902 Scientific Writing in biotechnology
3) วิทยานิพนธ์ ไมน่ ้อยกว่า 36 หน่วยกติ
01256599 วทิ ยานิพนธ์
SPS5999 Master’s research

1.18 รายวชิ าเงื่อนไข

1) นิสิตมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ต้องลงทะเบยี นรายวชิ าใน Master of Marine Ecology and

Biodiversity Program ณ Universiti Putra Malaysia ดังตอ่ ไปนี้

-SPS5903 Seminar (research proposal) 1 หนว่ ยกิต

-BBS5901 Research methodology 3 หน่วยกิต

-BBS5902 Scientific writing in biotechnology 3 หน่วยกติ

-BBS5903 Master seminar final 1 หนว่ ยกิต

-SPS5999 Master’s research จานวนไม่น้อยกว่า 9 หนว่ ยกิต

2) นิสติ Universiti Putra Malaysia ตอ้ งลงทะเบียนรายวชิ าในหลกั สตู รปรญิ ญาวิทยาศาสตร

มหาบณั ฑิต (วิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี) (หลักสตู รนานาชาต)ิ แผน ก แบบ ก1

ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปนี้

-01256597 สมั มนา 2 หน่วยกิต (ไม่นบั หนว่ ยกติ )

-01256511 ทรพั ยากรประมงกบั ความมัน่ คงทางอาหาร 3(3-0-6) (ไมน่ ับหน่วยกิต)

-01256591 ระเบยี บวิธวี ิจยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 3(3-0-6) (ไมน่ ับหน่วยกิต)

การประมงและเทคโนโลยี

-01256599 วทิ ยานิพนธ์ จานวนไม่นอ้ ยกว่า 36 หน่วยกติ

1.19 ตัวอยา่ งแผนการศกึ ษา

1) สาหรบั นสิ ิตมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

01256511 ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จานวนหนว่ ยกิต
01256591 ทรัพยากรประมงกับความม่นั คงทาง 3(3-0-6) (ไม่นบั หน่วยกิต)
01256599 อาหาร
ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์การ 3(3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต)
ประมง และเทคโนโลยี
วทิ ยานิพนธ์ 9
รวม 9
ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (ไมน่ บั หน่วยกิต)
01256597 สัมมนา จานวนหน่วยกติ
1

7

01256599 วทิ ยานิพนธ์ 9
รวม 9
SPS5903 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (ไมน่ ับหน่วยกิต)
BBS5901 (Universiti Putra Malaysia) จานวนหน่วยกติ (ไม่นบั หน่วยกติ )
BBS5902 Seminar (research proposal) (ไม่นบั หนว่ ยกิต)
Research methodology 1
Scientific writing in biotechnology (ไม่นบั หน่วยกติ )
3 (ไมน่ ับหนว่ ยกิต)
SPS5903 ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 3
SPS5999 (Universiti Putra Malaysia) รวม 0 (ไม่นับหนว่ ยกิต)
Master seminar final
Master’s research จานวนหน่วยกิต

ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 รวม 1
01256597 สมั มนา 9
01256599 วทิ ยานิพนธ์ รวม 0

ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จานวนหน่วยกติ
01256599 วิทยานิพนธ์ 1
9
9

จานวนหนว่ ยกติ
9

รวม 9

2) สาหรับนสิ ติ Universiti Putra Malaysia

ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (Universiti Putra Malaysia) จานวนหนว่ ยกติ

BBS5901 Research methodology 3

BBS5902 Scientific writing in biotechnology 3

รวม 6

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (Universiti Putra Malaysia) จานวนหน่วยกิต

SPS5999 Master’s research 3

SPS5903 Seminar (research proposal) 1

รวม 4

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) จานวนหนว่ ยกติ

01256597 Seminar 1 (Audit)
(Audit)
01256511 Fishery Resources and Food Security 3
(Audit)
01256599 Thesis 18

รวม 18

ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) จานวนหนว่ ยกิต

01256597 Seminar 1

8

01256591 Research Methods in Fishery Science 3 (Audit)

and Technology

01256599 Thesis 18

รวม 18

ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (Universiti Putra Malaysia) จานวนหน่วยกติ

SPS5999 Master’s research 3

รวม 3

ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (Universiti Putra Malaysia) จานวนหน่วยกติ

SPS5999 Master’s research 3

BBS5903 Master seminar final 1

รวม 4

1.20 ตารางสรปุ รายวิชาทที่ ้ังสองฝา่ ยยอมรับวา่ เทยี บเทา่ กันได้ของหลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารประมงและเทคโนโลยี (หลกั สูตรนานาชาติ) ของคณะประมง หาวิทยาลยั -
เกษตรศาสตร์ และ Master of Marine Ecology and Biodiversity Program ของ Universiti Putra
Malaysia

หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต Master of Marine Ecology and
Biodiversity Program
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี

(หลักสตู รนานาชาติ)

01256597 สัมมนา 1 หนว่ ยกิต SPS5903 Seminar (research proposal) 1 หน่วยกิต

BBS5903 Master seminar final 1 หน่วยกติ

1.21 การทาวทิ ยานพิ นธ์
1) การแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก นิสิตไทยและมาเลเซียต้องมีอาจารย์ท่ีปรึกษา

วิทยานพิ นธห์ ลักจานวน 2 คน โดยสามารถเลือกจากอาจารยป์ ระจาหลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์การประมงและเทคโนโลยี (หลกั สูตรนานาชาติ) ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จานวน
1 คน และอาจารยป์ ระจาใน Master of Marine Ecology and Biodiversity Program ของ Universiti
Putra Malaysia จานวน 1 คน

2) การแต่งตัง้ อาจารย์ท่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ์รว่ ม (ถ้าม)ี ให้นสิ ิตทง้ั ไทยและมาเลเซียสามารถเลือก
อาจารยท์ ปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์รว่ มจากฝ่ายใดก็ได้

3) การลงทะเบยี นรายวิชาวทิ ยานิพนธส์ าหรับนิสติ ในโครงการ ใหล้ งทะเบยี นรายวชิ าวทิ ยานิพนธ์
ท่ีมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จานวน 36 หน่วยกิต (ตามโครงสรา้ งหลักสูตร) และที่ Universiti Putra
Malaysia จานวน 9 หน่วยกติ (ตามโครงสรา้ งหลกั สูตร)

4) การสอบปากเปลา่ ขนั้ สดุ ท้าย วิธีการ และสถานท่สี อบปากเปล่า และการจัดทาวิทยานพิ นธ์
ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดไว้ในบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ และ
Universiti Putra Malaysia เร่อื ง “Memorandum of Agreement Dual Research Degree (Masters
and PhD)”

9
สว่ นที่ 2 ข้อมูลความพร้อมในการบริหารจดั การหลักสูตรแบบมีคณุ ภาพ

ความพรอ้ มดา้ นอาคาร สถานที่ ห้องสมุด และอุปกรณก์ ารเรยี นการสอน
หลักสตู รมีความพรอ้ มด้านทรัพยากรการเรียนการสอน ใช้สถานที่อปุ กรณก์ ารเรียนการสอนที่มีอยู่ใน

คณะประมง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ และ School of Graduate Studies, Universiti Putra Malaysia
คณะและสานักหอสมดุ มคี วามพรอ้ ม ด้านหนังสือ ตารา และฐานขอ้ มูลเพื่อการสืบค้น

ผลกระทบต่อการเรียนการสอน
ส่งเสรมิ การเรยี นการสอนให้เป็นนานาชาตมิ ากขน้ึ สรา้ งความเปน็ สากลแก่นสิ ิต และเปิดโอกาส

ทางการศึกษา

เอกสารแสดงความร่วมมือจากหนว่ ยงานอน่ื ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง (ภาคผนวก)
1) บันทึกข้อตกลงความรว่ มมือระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ และ

Universiti Putra Malaysia เร่อื ง “Memorandum of Agreement Dual Research Degree (Masters
and PhD)

2) แนวปฏิบตั ติ ามข้อตกลงร่วมกนั เรื่อง The KU-UPM Dual Degree Programme
Implementation Guideline


Click to View FlipBook Version