The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 ประติมากรรมประยุกต์ 1.65 (รวมหน่วย)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ruch1984, 2022-05-24 02:14:58

1 ประติมากรรมประยุกต์ 1.65 (รวมหน่วย)

1 ประติมากรรมประยุกต์ 1.65 (รวมหน่วย)

กระบวนการสรา้ งสรรค์งานประตมิ ากรรม มีกรรมวิธสี ร้างสรรคอ์ ยู่ 3 ประการไดแ้ ก่ กระบวนการสร้างสรรค์

ทางบวก กระบวนการสร้างสรรคท์ างลบ และกระบวนการสรา้ งสรรค์ทางผสมผสาน

1. กระบวนการสร้างสรรคท์ างบวก เป็นกรรมวิธีการสร้างสรรคง์ านประติมากรรมโดยการเพ่ิม

วัสดุลงในบริเวณหรือแกนท่สี รา้ งขึ้นใหเ้ กิดเป็นรูปทรง 3 มิติ มีความงามตามที่ประติมากรต้องการ ซง่ึ ไดแ้ ก่

ผลงานการป้ัน การหล่อ

2. กระบวนการสรา้ งสรรค์ทางลบ เป็นกรรมวิธกี ารสร้างสรรค์งานประติมากรรมโดยการสกัดเอา

สว่ นทีไ่ มต่ ้องการออก คงไว้เฉพาะสว่ นทีต่ อ้ งการใหเ้ หลือเป็นรปู ทรง 3 มิตดิ งู ามตา ซ่ึงได้แก่ ผลงาน การ

แกะสลกั [3]

3. กระบวนการสรา้ งสรรค์ทางผสมผสาน เปน็ กรรมวธิ ีการสร้างสรรค์ที่เกิดจากการผสมผสานกัน

ระหว่างกระบวนการทางบวกและกระบวนการทางลบ เพ่ือใหเ้ กิดเป็นรูปทรงตามต้องการ

จากกระบวนการสรา้ งสรรคท์ ้ัง 3 ข้างตน้ เราสามารถสรา้ งงานประติมากรรมได้ด้วยเทคนิค

วธิ กี ารต่าง ๆ ดงั น้คี ือ การปนั้ การแกะสลัก การหลอ่ [4] การทุบ ตี เคาะ และการเชือ่ ม ปะต่อ

1. การป้นั (MODELING) เป็นกรรมวธิ กี ารสร้างสรรคง์ านประติมากรรมดว้ ยการพอกเพมิ่ วัสดุ

ซึ่งมีเนอ้ื อ่อน เช่นดินเหนียว ดินน้ำมนั และขผ้ี ้งึ เปน็ ตน้ โดยการใช้เคร่ืองมือในการปนั้ ช่วยทำใหเ้ กิด

เปน็ รปู ทรงมีคุณค่าทางความงามและคุณค่าทางประโยชนต์ ามต้องการ กรรมวิธีการปัน้ บางครัง้ กใ็ ช้

กระบวนการสรา้ งสรรค์ทางบวกเพียงอยา่ งเดียวก็เกิดเปน็ รูปทรงงดงามได้ แตผ่ ลงานบางช้นิ ก็จำเปน็ ตอ้ งใชท้ ้งั

กระบวนการสร้างสรรค์ทางบวกและกระบวนการสร้างสรรค์ทางลบ เพราะต้องมีการเพิม่ วสั ดเุ ข้าเติมเตม็ ใน

ส่วนทยี่ ังไมส่ มบรู ณ์และขดู ส่วนที่เกนิ ทิ้งออกไป เชน่ การป้ัน[5] ตกุ๊ ตาชาวบา้ น ต๊กุ ตาชาววังของไทย รูปคน

และรูปควาย ที่ใช้มือปน้ั เป็นรูปทรงอยา่ งง่ายๆ เป็นกระบวนการสรา้ งสรรค์ทางบวก เป็นต้น ส่วนผลงานทีใ่ ช้

ทั้งกระบวนการสรา้ งสรรคท์ ้ังทางบวกและทางลบ เชน่ รปู “วงกลม” ของสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นตน้

3. การหลอ่ (CASTING) เปน็ กรรมวิธกี ารสรา้ งสรรค์งานประติมากรรมเพอ่ื การเก็บรักษาความเป็นแบบของ

ผลงานไว้ไมใ่ หช้ ำรุดเสยี หาย และเป็นกระบวนการผลติ ซ้ำในการเพิม่ จำนวนตามปรมิ าณที่ต้องการด้วยการ

หล่อจากตน้ แบบ การทำพิมพ์หลอ่ แบบทำได้หลายวิธี เชน่ การหลอ่ แบบจากแม่พิมพ์ทบุ และการหลอ่ แบบ

จากแม่พมิ พช์ ้ิน เปน็ ต้น วัสดุสำหรบั ใชใ้ นการหล่อแบบต้องมีลักษณะหลอมเหลวได้ และแข็งตวั ได้เม่ือแห้ง

หรอื เยน็ ลง เช่น ข้ีผึ้ง เทยี น ปูนปลาสเตอร์ คอนกรตี ทองเหลือง และทองแดง เป็นตน้ ผลงานที่

เกดิ จากกรรมวิธกี ารหลอ่ นี้ เช่น ปฏิมากรรมรปู “พระพุทธรปู ปางลีลา พทุ ธศตวรรษท่ี 25” พทุ ธมณฑล

ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี และประติมากรรมรูป “อิสรภาพ” ของจารุ พงษ์ พลชัย เปน็ ต้น

4. การทบุ ตี เคาะ (REPOUSEE) เปน็ กรรมวิธีการสรา้ งสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรม โดยการนำวสั ดปุ ระเภท

โลหะมาทบุ ตี เคาะ ให้วัสดุน้ันเปลยี่ นแปลงรปู ทรงไปตามความต้องการท่จี ะให้ปรากฎเป็นรปู แบบความงาม

3 มิติ เช่น รูป”หนา้ กากทองคำพระพักตร์พระศพอกาเมมนอน” ศิลปะแถบทะเลอีเจียน “ถว้ ยทองคำวาพิ

โอ” และรปู “พฤติกรรมทางอารมณภ์ ายใต้ความกดดันภายใน” ของกำจร กรไธสง เปน็ ตน้

5. การเชื่อม ปะต่อ เปน็ กรรมวธิ ีการสร้างสรรคผ์ ลงานประติมากรรมโดยการนำวัสดุท่ีมีรูปร่างรูปทรงในขนาด

สดั สว่ นต่าง ๆ กนั หลายชนิ้ มาประกอบเข้าด้วนกัน โดยใชว้ ธิ กี ารปะติดปะต่อ ให้เกิดเปน็ รูปทรงงดงามตาม

ตอ้ งการ ซึง่ ในบางคร้ังถา้ วสั ดุเปน็ โลหะอาจจะต้องใช้ความร้อนช่วยตัดให้ขาดออกเปน็ ช้ินๆ และใชค้ วามร้อน

เชือ่ มโลหะ (WELDING) หรอื บัดกรี (SOLDERING) ใหแ้ ตล่ ะชนิ้ ยึดติดประกอบเข้าเป็นรูปทรงและมีความ

แข็งแรงมนั่ คง เชน่ รปู “พลังความเคล่ือนไหว” ของนริ นั แข็งขนั ธ์ุ และ “ปริมาตรแห่งอารมณ์ หมายเลข

1” ของ จริ ชัย รักดี เป็นงานประตมิ ากรรมเทคนคิ การเช่อื มโลหะ เปน็ ตน้

ใบมอบหมายงาน

ช่ือวิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ่ี 8 - 10

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 12

ชื่อเร่ือง การปฏิบัติงานประติมากรรมประยุกตใ์ นรูปแบบต่างๆ ชวั่ โมงรวม 29 - 40

คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนสาธติ การใชง้ านวัสดุปูนสด ด้วยเทคนคิ วิธีการปั้นดงั ต่อไปน้ี (ประติมากรรมนูนตา่
ประติมากรรมนนู สูง ประติมากรรมลอยตัว) โดยตกแตง่ รายละเอียดให้ดสู วยงาม น่าสนใจ
จดุ ประสงค์ เพื่อให้นักเรยี นสามารถ

7.อธบิ ายกระบวนการออกแบบสร้างสรรคง์ านประติมากรรมรปู แบบตา่ งๆ ได้
8.ปฏบิ ตั ิงานตามทฤษฎีการปฏบิ ัตงิ านประติมากรรมในรปู แบบต่างๆได้
9.อธิบายความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกับเทคนิควิธีการสรา้ งชิน้ งานได้
10.ปฏิบตั งิ านตามเทคนิควิธกี ารการปฏิบตั งิ านประติมากรรมในรูปแบบตา่ งๆได้
5. อธิบายวิธกี ารปฏิบตั ิงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ ทหี่ ลากหลาย ได้

วสั ดอุ ุปกรณ์
12.ดินกระดาษ
13.เครอื่ งมือปัน้
14.สอี ะครลิ ิค
15.น้ำยาเคลือบดนิ ปัน้

ลำดับขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน
7.เตรียมอปุ กรณ์
8.ทำงานตามขน้ั ตอน เพ่ือดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป/รักษาและดแู ลวัสดุอปุ กรณ์

การวัดผลประเมินผล
7.อธิบายหลกั การงานประติมากรรมประยุกต์
8.อธิบายและแยกแยะประเภทของงานประติมากรรม

คณุ ธรรมจรยิ ธรรมทค่ี วรเนน้
16.ความมีวินัย
17.ความรบั ผิดชอบ
18.ความสนใจใฝ่รู้
19.ความสะอาด
20.ความซือ่ สัตย์

ลงชอ่ื ........................................................
(นางสาวรชั นก แสนพลเมอื ง)
ครปู ระจำวิชา

ใบประเมินผลการเรยี น

ชอื่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ท่ี 8 - 10

รหัสวชิ า 20302-9004 จำนวนชว่ั โมง 12

ชอ่ื เรอื่ ง การปฏบิ ัตงิ านประติมากรรมประยุกตใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ช่วั โมงรวม 29 - 40

แบบประเมนิ ผลการเรยี นและคณุ ธรรมของนกั เรยี น
คำช้แี จง ให้นักเรยี นขีดเครอื่ งหมายถกู / ในช่องระดับผลการเรยี นเพื่อประเมนิ ผลการเรียนของตน

เกณฑ์การตัดสนิ หมายถึง ผลการเรยี นดีมาก
4 คะแนน หมายถึง ผลการเรียนดี
3 คะแนน หมายถงึ ผลการเรียนพอใช้
2 คะแนน หมายถงึ ผลการเรยี นตอ้ งปรับปรงุ
1 คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ หมายถงึ ระดับความรู้ดมี าก
18 -20 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรดู้ ี
15 -17 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรพู้ อใช้
10 – 14 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรู้ต้องได้รับการสอนซ่อมเสรมิ
ต่ำกวา่ 10 คะแนน

ลำดับที่ รายการประเมิน ระดบั ผลการเรียน หมายเหตุ
432 1

1 ปริมาณข้อมูล
2 คุณภาพข้อมูล
3 แบบแผนการคิด (การเช่ือมโยง)
4 แบบแผนการคิด (สาระ/เนื้อหา)
5 ความคดิ สรา้ งสรรค์
6 ความรับผดิ ชอบ
7 ความชอ่ื สัตย์

รวมคะแนน

บนั ทึกหลังการสอน

แผนจดั การเรยี นรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ี่ 8 - 10

รหสั วชิ า 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 12

ชือ่ เรอ่ื ง การปฏิบัติงานประติมากรรมประยกุ ต์ในรปู แบบต่างๆ ชว่ั โมงรวม 29 - 40

1. สรุปผลการใช้แผนการสอน คน
1.1 รายละเอยี ดการสอน จำนวนนักศึกษาทั้งส้นิ

หัวข้อเนอ้ื หาที่สอน เข้าใจ/ปฏิบัติ (คน ) ไมเ่ ขา้ ใจ ( คน )
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. วธิ ีการเตรียม วัสดุ อปุ กรณ์

2. ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน

3. การประเมนิ คณุ ค่า

1.2 ผลการจัดกจิ กรรมบูรณาการหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง จำนวนนักศกึ ษาท้ังสนิ้ คน

ความรู/้ กิจกรรมที่บูรณาการประจำหนว่ ย เข้าใจ/ปฏิบัติ (คน )
จำนวน รอ้ ยละ

1. รู้จกั และสามารถเลอื กวัสดุอุปกรณ์ท่เี หมาะสม

2. สามารถทำงานได้ตามขั้นตอน

3. สามารถคดิ และคำนวนและประเมินชิ้นงานได้

1.3 ปัญหาและอุปสรรคในการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2………………………………………………………………………..…………………………………………………………………..
3…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

1.4 ปญั หาดา้ นการใช้สอ่ื การเรยี นการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

2. ปญั หาการเรียนของนักเรยี น/นักศกึ ษา:
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

ข้อควรปรับปรุง:
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
................................................................................................................................................ ............................

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3

ชอื่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ที่ 11 - 17
28
รหัสวชิ า 20302-9004 จำนวนชว่ั โมง 41-68

ช่อื เรอื่ ง การปฏิบตั งิ านประติมากรรมประยุกตใ์ นรูปแบบต่างๆ ช่วั โมงรวม

สาระสำคญั
การสร้างสรรค์ชิ้นงานในรูปแบบเฉพาะตน เป็นข้ันตอนสุดท้ายของการสร้างสรรค์งานประติมากรรม

โดยเป็นขั้นตอนสรุปรวบยอดกระบวนการเรียนรู้ จากงานพื้นฐานประติมากรรมท่ัวไป รวมถึงข้ันตอนการ
สรา้ งงานมาประยุกตใ์ หมด่ ้วยวัสดุ เทคนคิ การสร้างสรรค์งานให้มีประสิทธิภาพ ความสมบูรณ์และและเทคนิค
วธิ กี ารต่างๆ ตามท่ผี ู้สร้างต้องการ ให้มีลกั ษณะทน่ี ่าสนใจ โดยใช้การค้นหาเทคนิคเฉพาะตน การสร้างชนิ้ งาน
ช้ินสาเร็จด้วยวัสดุอุปกรณ์ในแต่ละชนิดประเภท ที่นามาสร้างสรรค์งาน เพ่ือให้ผลงานท่ีสร้างออกมามีความ
สมบูรณ์มากทีส่ ดุ และผสู้ รา้ งสรรค์ตอ้ งสามารถนาเสนอผลงานในรูปแบบเฉพาะตนได้ เปน็ ต้น

จุดประสงค์การเรยี นรู้
- จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป
นกั เรยี นมีความรแู้ ละสามารถอธิบายการสร้างสรรค์ชนิ้ งานในรูปแบบเฉพาะตนได้
- จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
15.อธิบายกระบวนการสร้างสรรค์ช้นิ งานในรปู แบบเฉพาะตนได้
16.ปฏิบัตงิ านตามทฤษฎกี ารปั้นประตมิ ากรรมเฉพาะตน ได้
17.อธบิ ายความรูค้ วามเข้าใจเกยี่ วกับเทคนิควิธกี ารสร้างช้นิ งานในรปู แบบเฉพาะตนได้
4 ปฏบิ ัตงิ านตามเทคนิควธิ กี ารการสร้างสรรคใ์ นรูปแบบเฉพาะตน ได้
5.อธบิ ายวิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสรา้ งสรรคช์ ิน้ งานในรปู แบบเฉพาะตนได้

สมรรถนะประจำหนว่ ย
นักเรียนเข้าใจเทคนิควิธีการและการปฏิบัติงานเพ่ือการสร้างสรรค์ช้ินงานในรูปแบบเฉพาะตน ตาม

หลักงานประติมากรรมทีถ่ กู ต้อง เพ่ือให้ผลงานปั้น มีความเหมือนจริง สวยงาม และสรา้ งชน้ิ งานออกมาได้จริง
และนาเสนอผลงานได้

สาระการเรียนรู้

การสร้างสรรค์ชิ้นงานในรูปแบบเฉพาะตนประเภทวัสดุในงานปั้นเฉพาะตน มีวัสดุอุปกรณ์ในการ
สร้างสรรค์อะไรบ้างแนวทางการสร้างสรรค์ช้ินงานในรูปแบบเฉพาะตน มีวิธีใดบ้างความสาคัญของการ
สร้างสรรค์ชิ้นงานในรปู แบบเฉพาะตน มีความสาคญั อยา่ งไรการใช้เทคนิควิธีการป้นั ในการสรา้ งสรรค์ชิ้นงาน
ในรปู แบบเฉพาะตน

เอกสารอา้ งองิ

มัย ตะตยิ ะ.ประตมิ ากรรมภาคปฏิบตั ิ._ปทมุ ธานี:สิปประภาจำกดั ,2549

นวลน้อย บญุ วงษ.์ (2542). หลกั การออกแบบ. (พิมพค์ ร้ังที่ 2). กรงุ เทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

นิรชั สุดสงั ข์. (2548). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพ: ไอเดียนสโตร.์

ประเสริฐ ศลิ รตั นา. (2531). ของทรี่ ะลกึ . กรงุ เทพ: ไอเดยี นสโตร.์

กระบวนการจัดการเรยี นรู้

ข้ันตอนที่ 1 ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรียน

1. ครชู ้ีแนะแนวทางและบอกวตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นรหู้ น่วยท่ี 3 สัปดาหท์ ี่ 11 - 17

2. ครทู บทวนความร้เู ดิมของนักเรียนท่ีไดเ้ รียนไปในช่ัวโมงที่ผา่ นมา โดยให้นกั เรยี นตอบคาถามวา่ การ
ปั้นประตมิ ากรรมประยุกต์ มีกระบวนการอยา่ งไร ให้ประโยชนแ์ ก่ผูป้ ้ันอยา่ งไร

3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการปั้นด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ตามหลักการ
ปฏิบัตงิ านประตมิ ากรรม

4. ครูแนะนาวิธีการเรียนรู้และการเข้ากิจกรรมร่วมกัน โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู้ก่อนเรียน
จากหนังสือ หรือ เวป็ ไซต์

ขั้นตอนท่ี 2 ข้ันดำเนินการสอน

23.แจกเอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 3 เร่ือง “การสร้างสรรค์ช้ินงานในรูปแบบเฉพาะตน”ครูให้
นักเรียนระดมความคิดว่า เทคนิควิธีการการปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบเฉพาะตน สามารถ
ทาได้ด้วยวิธีการใดได้บ้าง จากนั้นครูจึงสรุปวิธีการและการปฏิบัติงานการสร้างสรรค์ชิ้นงานใน
รปู แบบเฉพาะตน ที่มคี วามสาคัญตอ่ ผลงานท่ีแสดงออกมาในรูปแบบทีไ่ ม่เหมอื นใคร การสร้างสรรค์
ผลงาน และมคี วามสาคญั ต่ออารมณ์ความรู้สกึ ความหมายของผลงาน เปน็ ตน้

24.ครูเปิดส่ือการสอนเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการป้ันประติมากรรมในรูปแบบเฉพาะตน ให้นักเรียนดู
พร้อมกับอธิบายถึงความสาคัญของเทคนิค วิธีการและกระบวนการปั้นงานประติมากรรมในรูปแบบ
เฉพาะตน รวมถึงแนะนาผลงานท่ีมีโครงสร้าง สัดส่วน การจัดองค์ประกอบของภาพ และใช้เทคนิค
วิธีการป้ันได้อย่างสมบรู ณม์ าเปน็ หลักในการทางาน เปน็ ต้น

25.จากนั้นครูต้ังคำถามว่า “การสร้างสรรค์ชิ้นงานในรูปแบบเฉพาะตน มีความสาคัญและให้ประโยชน์
แก่ผู้ปั้นอย่างไรบ้าง” เพ่ือให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิด จากนั้นครูจึงสรุปวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ
การสร้างสรรค์ช้ินงานในรูปแบบเฉพาะตน และประโยชน์ที่ได้จากการใช้วัสดุ เทคนิคสร้างสรรค์
ใหมๆ่

26.ครูให้นักเรยี นดรู ูปแบบของลักษณะผลงานที่ผา่ นกระบวนการสร้างสรรค์งานเทคนิคและวิธีการปัน้ ใน
รูปแบบเฉพาะตน เพื่อให้ช้ินงานมีความสมบูรณ์ พร้อมกับอธิบายลักษณะสาคัญของแต่ละเทคนิค
วธิ ีการ

27.จากน้ันครูอธบิ ายประเภทของวสั ดุอุปกรณ์ และเครือ่ งมือที่ใช้ปนั้ ตามวิธีการเฉเพาะตน หลักการวาด
เทคนิควิธีการ การปฏิบตั ิงานให้นักเรยี นฟงั วา่ มอี ะไรบา้ ง

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุป

4. ครูให้นักเรียนสร้างสรรค์งานโดยใช้เครื่องมือ ตาม“เทคนิคและวิธีการป้ันในรูปแบบเฉพาะตน เช่น
ดินเหนียว ข้ีเร่ือย เคร่ืองมือปั้นตัวขูด ปากตัด ตัวปาด เพ่ือให้งานมีความสมบูรณ์ สวยงาม” ลง

กระดานรองป้ันแลว้ จดั แสดงผลงานในโต๊ะแสดงผลงาน หน้าหอ้ งเรียน

5. ครูให้นักเรียนตอบอธิบายว่า “การสร้างสรรค์ชิ้นงานในรูปแบบเฉพาะตน มีวิธีการอย่างไร มี
ประโยชน์อย่างไร และสามารถช่วยในงานประติมากรรมประยุกต์ ได้อย่างไร” จากนั้นนักเรียน
รว่ มกนั ตอบคาถาม

6. ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “การสร้างสรรค์ชิ้นงานในรูปแบบเฉพาะตน” มีความสาคัญอย่างไร
บา้ ง” จากน้นั นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม

7. ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “การสร้างสรรค์ช้ินงานในรูปแบบเฉพาะตน” ที่ดีควรคานึงถึงหลัก
ใดบ้าง” จากน้นั นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม

ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
- สือ่ การเรยี นรู้
13.เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 เร่ือง สัปดาห์ที่ 11-17 เรื่อง การสร้างสรรค์ช้ินงานใน
รูปแบบเฉพาะตน
14.ส่ือการเรียนการสอน หน่วยที่ 3
15.ใบกิจกรรม เรื่อง “การสร้างสรรค์ชน้ิ งานในรูปแบบเฉพาะตน”
- แหลง่ การเรียนรู้
5.YouTube รัชนกชาแนล : หอ้ งเรียนครูนก

กิจกรรมเสนอแนะ / งานทม่ี อบหมาย
กอ่ นเรยี น

5.จัดเตรียมเอกสาร สื่อการเรียนการสอนทีค่ รผู ู้สอนและบทเรียนท่ีกำหนดไว้
ขณะเรียน

2.สงั เกตการปฏิบัติงานตามใบกิจกรรม เร่ือง “การปฏบิ ัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ” พร้อมเดิน
สงั เกต และใหค้ ำแนะนำกับนกั เรียน

หลงั เรียน
5.นักเรียนเก็บทำความสะอาด โต๊ะ เก้าอ้ี พื้นห้องเรียน กระดานดำให้สะอาดเรียบร้อยและปิดไฟฟ้าพัด
ลมให้เรยี บร้อยก่อนออกจากห้องเรยี น

การวดั ประเมินผล
11.วธิ วี ดั ผลและประเมินผล
1.1 สังเกตพฤติกรรมการทำงาน
1.2 ประเมินจากผลงานการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แบบทดสอบก่อน/หลงั เรยี น และใบกจิ กรรม
1.3 สังเกตความสนใจและความตงั้ ใจในการทำกจิ กรรมของนักเรียน
2. เครือ่ งมือวดั และประเมินผล
2.1 แบบประเมนิ ผลช้นิ งาน
2.2 แบบทดสอบก่อน/หลังเรยี น
2.3 แบบสังเกตความสนใจและความตงั้ ใจในการทำกิจกรรมของนักเรียน
3. เกณ์การวดั และประเมินผล

3.1 ผลการประเมนิ แบบประเมนิ ผลชน้ิ งาน อยู่ในเกณร์ ะดบั ดี ขึน้ ไป
3.2 ผลการสังเกตความสนใจและความตัง้ ใจในการทำกจิ กรรมของนักเรียน อยูใ่ นเกณฑร์ ะดบั ดี
3.3 ผลการทำแบบทดสอบกอ่ น/หลังเรียนได้รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป

การวดั ผลและการประเมินผล

สิง่ ทีต่ ้องการวดั วธิ ีวัด เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารวดั

ดา้ นความรู้ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบประเมินผลชน้ิ งาน ผลการประเมนิ แบบ

(Cognitive) ประเมินผลชิน้ งาน อยู่

ในเกณ์ระดบั ดี ขึ้นไป

ด้านทกั ษะ ประเมนิ จากผลงานการ แบบทดสอบก่อน/หลงั ผลการสังเกตความ

(Psychomotor) ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เรียน สนใจและความต้ังใจใน

แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรยี น การทำกิจกรรมของ

และใบกิจกรรม นักเรียน อยใู่ นเกณฑ์

ระดบั ดี

ด้านคณุ ลกั ษณะ แตง่ กายถูกระเบียบ สนใจใฝ่ แบบสงั เกตความสนใจ ผลการทำแบบทดสอบ

(Affective) รู้ รับผิดชอบ กลา้ แสดงออก และความต้ังใจในการทำ ก่อน/หลังเรยี นไดร้ อ้ ย

นำเสนอผลงาน กจิ กรรมของนักเรยี น ละ 80 ขนึ้ ไป

เกณฑ์การประเมนิ ใบงาน

รายการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. ปรมิ าณข้อมลู ปรมิ าณข้อมลู มี 4ดา้ น ขน้ึ ปริมาณข้อมลู มี 2-3 ปรมิ าณข้อมูลมีน้อย มี
ไป ดา้ น เพียง 1 ดา้ น

2. คุณภาพขอ้ มลู ขอ้ มูลมีหวั เรื่องหลกั หัว ข้อมูลมีหวั เรื่องหลักและ ข้อมลู มีเฉพาะหวั เรื่อง

เร่อื งรอง มรี ายละเอียด ใน หวั เรื่องรองแต่ไม่ หลัก

หวั เรือ่ งรอง อย่าง เหมาะสม กับลาดับ

สมเหตุสมผล ความสาคญั

3. แบบแผนการคดิ มกี ารเชือ่ มโยงลำดบั จดั กลุ่มข้อมลู และ แผนทีค่ วามคดิ ไม่แสดง
(การเชือ่ มโยง) เหตกุ ารณเ์ ปน็ แสดง การเชอ่ื มโยง การเชื่อมโยง
เหตุเป็นผล และแสดง ภายในกลุ่ม แต่ไม่ ระหวา่ งกลุ่ม
ความสมั พนั ธ์ ทัง้ ระบบ เชือ่ มโยงทั้งระบบ

4. แบบแผนการคิด สาระที่เขียนส่วนใหญเ่ ปน็ สาระท่เี ขียนมรี ปู ธรรม สาระท่ีเขยี นมีแต่
(สาระ/เน้อื หา) นามธรรม องค์ความรู้ มากกว่านามธรรม และ รปู ธรรม ท่ีเป็น
หลักการดาเนินชีวติ ทด่ี ี แสดงวสิ ยั ทศั น์เร่อื งท่ีจะ พฤติกรรม และแสดง
และแสดงวิสยั ทัศนเ์ รื่องท่ี ทาในอนาคต 1 เรื่อง วสิ ัยทศั นเ์ รอ่ื งท่จี ะทา
จะทาในอนาคต2เร่อื ง ขน้ึ ใน อนาคต
ไป

5. ความคดิ สร้างสรรค์ รูปแบบ ทัง้ การออกแบบ รปู แบบ ทั้ง การ รปู แบบ ท้งั การ
MindMap และเนอื้ หา ดู ออกแบบ MindMap ออกแบบ MindMap
น่าสนใจ รอ้ ยละ 75 ข้นึ และเนือ้ หา ดูไม่ค่อย และเนอื้ หา ไมน่ า่ สนใจ
ไป นา่ สนใจ (ไม่ถงึ ร้อยถะ เลย
75 )

6. ความรับผดิ ชอบ ส่งงานตรงเวลาทีค่ รูกา สง่ งานล่าชา้ แต่มีเหตผุ ล สง่ งานล่าชา้ และไม่มี
หนด จาเป็น เหตผุ ลจาเป็น

7. ความช่อื สัตย์ เขยี นตามรูปแบบของ เขยี นตามรปู แบบของ ดัดลอกจากหนังสือ/
ตนเอง ตนเอง หรอื ดัดแปลงจาก website ดดั แปลง
ต้นแบบ 75 % ขึน้ ไป บางสว่ น

แบบทดสอบก่อน หลังเรียน

ชอื่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ี่ 11 - 17

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชวั่ โมง 28

ชอ่ื เรอื่ ง การปฏบิ ตั งิ านประติมากรรมประยุกตใ์ นรูปแบบตา่ งๆ ชั่วโมงรวม 41-68

คำชี้แจง ให้นกั เรียนสาธิตการสร้างสรรคง์ านโดยวสั ดอุ ุปกรณ์ ดว้ ยเทคนิควิธีการป้ันในรปู แบบเฉพาะตน

ดังตอ่ ไปนี้ (ประติมากรรมนูนต่า ประตมิ ากรรมนูนสูง ประตมิ ากรรมลอยตัว) โดยตกแตง่ รายละเอยี ดให้ดู
สวยงาม นา่ สนใจ
คำชแ้ี จง แบบทดสอบเปน็ แบบอตั นัย จำนวน 1 ข้อ
คำส่งั จงสร้างสรรคง์ านประติมากรรมลอยตวั สาคัญ แลว้ นามาป้นั ดว้ ยเทคนิควิธีการเฉพาะตน พร้อมท้ัง
อธิบายเทคนิควิธีการและการปฏิบัติงานการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยยึดหลกั ประติมากรรม
แนวความคดิ ……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5
เร่ือง การสร้างสรรคช์ ้นิ งานในรปู แบบเฉพาะตน
จดุ ม่งุ หมาย เพื่อใหน้ ักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การสร้างสรรคช์ ้ินงานในรูปแบบเฉพาะตน

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1.การสร้างสรรค์ช้นิ งานในรปู แบบเฉพาะตน มคี วามสาคัญอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การใชเ้ ทคนิคและวธิ กี ารปน้ั ประติมากรรมในรปู แบบเฉพาะตน มีไว้เพ่ือวัตถุประสงค์ใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.เทคนิคและวิธกี ารป้นั มสี ่วนชว่ ยในการสรา้ งงานประติมากรรมในรปู แบบเฉพาะตน อย่างไร
ประกอบด้วยรายละเอยี ดของเทคนิคอะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.นักเรียนสามารถนาเทคนคิ และวิธีการปั้นประติมากรรมในรูปแบบเฉพาะตน ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
อย่างไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.นักเรียนสามารถนาเทคนิคการปฏิบัติงานประติมากรรมในรปู แบบตา่ งๆ ไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้
อยา่ งไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 6
เรอื่ ง ประตมิ ากรรมนูนและลอยตวั
จุดมุง่ หมาย เพ่ือใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติงานเก่ยี วกับการปฏิบตั ิงานประตมิ ากรรมลอยตวั
จงตอบคาถามต่อไปน้ี
1.การปฏิบตั ิงานประติมากรรมลอยตัว คือขั้นตอนอะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.การปฏบิ ตั ิงานประติมากรรมลอยตัว บุคคลคนสาคญั ในประเทศไทย มไี ว้เพอ่ื วตั ถุประสงค์ใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การปฏบิ ตั งิ านประติมากรรมลอยตวั มปี ระโยชนอ์ ย่างไรในการสร้างสรรค์งาน “ปฏิมากรรม”
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.เทคนคิ และวิธกี ารปั้น มสี ่วนชว่ ยในทฤษฎีการขึ้นโครงสรา้ งประตมิ ากรรมลอยตัวอยา่ งไร ประกอบด้วย
รายละเอียดของเทคนิคอะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. นกั เรยี นสามารถสร้างสรรคง์ านประตมิ ากรรมนนู และลอยตัวไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้อย่างไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรู้

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาห์ที่ 11 - 17

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 28

ชอื่ เรื่อง การปฏบิ ัติงานประติมากรรมประยกุ ต์ในรปู แบบตา่ งๆ ชั่วโมงรวม 41-68

รปู แบบงานประติมากรรมประยุกต์และงานตวั อยา่ ง

ใบมอบหมายงาน

ช่อื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ท่ี 11 - 17

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชวั่ โมง 28

ชอื่ เรอ่ื ง การปฏิบตั งิ านประติมากรรมประยกุ ตใ์ นรูปแบบต่างๆ ชวั่ โมงรวม 41-68

คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนสาธิตการสรา้ งสรรค์งานโดยวัสดอุ ปุ กรณ์ ดว้ ยเทคนคิ วิธกี ารปนั้ ในรูปแบบเฉพาะตน
ดังตอ่ ไปนี้ (ประตมิ ากรรมนนู ตา่ ประติมากรรมนนู สงู ประตมิ ากรรมลอยตวั ) โดยตกแต่งรายละเอียดให้ดู
สวยงาม น่าสนใจ

จุดประสงค์ เพ่ือใหน้ ักเรยี นสามารถ
1. อธบิ ายกระบวนการสร้างสรรคช์ ้ินงานในรูปแบบเฉพาะตนได้
2. ปฏบิ ัตงิ านตามทฤษฎกี ารปน้ั ประตมิ ากรรมเฉพาะตน ได้
3. อธบิ ายความรูค้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกับเทคนิควธิ ีการสรา้ งชิน้ งานในรูปแบบเฉพาะตนได้
4. ปฏิบัตงิ านตามเทคนคิ วิธีการการสร้างสรรคใ์ นรูปแบบเฉพาะตน ได้
5. อธิบายวิธีการใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานในรปู แบบเฉพาะตนได้

วัสดุอุปกรณ์
16.ดนิ กระดาษ
17.เครอื่ งมือปั้น
18.สีอะคริลิค
19.น้ำยาเคลือบดนิ ปัน้

ลำดับขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน
9.เตรียมอุปกรณ์
10.ทำงานตามขั้นตอน เพื่อดำเนินงานในข้ันตอนต่อไป/รักษาและดแู ลวัสดอุ ปุ กรณ์

การวัดผลประเมินผล
9.อธิบายหลกั การงานประติมากรรมประยุกต์
10.อธิบายและแยกแยะประเภทของงานประติมากรรม

คณุ ธรรมจริยธรรมทีค่ วรเน้น
21.ความมีวินัย
22.ความรับผิดชอบ
23.ความสนใจใฝร่ ู้
24.ความสะอาด
25.ความซอ่ื สตั ย์

ลงช่ือ........................................................
(นางสาวรชั นก แสนพลเมอื ง)
ครปู ระจำวชิ า

ใบประเมินผลการเรยี น

ช่อื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ่ี 11 - 17

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนช่วั โมง 28

ชอื่ เร่ือง การปฏิบตั งิ านประติมากรรมประยกุ ตใ์ นรูปแบบต่างๆ ช่วั โมงรวม 41-68

แบบประเมินผลการเรียนและคณุ ธรรมของนกั เรยี น
คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นขีดเครื่องหมายถูก / ในช่องระดับผลการเรยี นเพือ่ ประเมินผลการเรียนของตน

เกณฑ์การตดั สิน หมายถึง ผลการเรียนดมี าก
4 คะแนน หมายถงึ ผลการเรยี นดี
3 คะแนน หมายถงึ ผลการเรียนพอใช้
2 คะแนน หมายถึง ผลการเรียนต้องปรบั ปรงุ
1 คะแนน

เกณฑ์การประเมิน หมายถึง ระดับความรู้ดมี าก
18 -20 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรดู้ ี
15 -17 คะแนน หมายถึง ระดับความรู้พอใช้
10 – 14 คะแนน หมายถงึ ระดับความรตู้ ้องได้รับการสอนซ่อมเสริม
ตำ่ กวา่ 10 คะแนน

ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั ผลการเรียน หมายเหตุ
432 1

1 ปรมิ าณข้อมลู
2 คุณภาพขอ้ มูล
3 แบบแผนการคิด (การเชื่อมโยง)
4 แบบแผนการคิด (สาระ/เน้ือหา)
5 ความคดิ สรา้ งสรรค์
6 ความรบั ผดิ ชอบ
7 ความชื่อสตั ย์

รวมคะแนน

บนั ทกึ หลังการสอน

แผนจดั การเรยี นรู้มุง่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาห์ที่ 11 - 17

รหสั วชิ า 20302-9004 จำนวนชวั่ โมง 28

ชือ่ เรอ่ื ง การปฏิบตั ิงานประติมากรรมประยุกต์ในรูปแบบต่างๆ ชว่ั โมงรวม 41-68

1. สรุปผลการใช้แผนการสอน คน
1.1 รายละเอยี ดการสอน จำนวนนักศกึ ษาทั้งสนิ้

หัวข้อเนอ้ื หาที่สอน เข้าใจ/ปฏิบัติ (คน ) ไมเ่ ข้าใจ ( คน )
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. วธิ ีการเตรียม วสั ดุ อปุ กรณ์

2. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

3. การประเมนิ คณุ ค่า

1.2 ผลการจัดกจิ กรรมบูรณาการหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง จำนวนนกั ศกึ ษาท้ังสนิ้ คน

ความร้/ู กิจกรรมที่บูรณาการประจำหนว่ ย เข้าใจ/ปฏิบัติ (คน )
จำนวน รอ้ ยละ

1. รู้จกั และสามารถเลอื กวัสดุอุปกรณ์ท่เี หมาะสม

2. สามารถทำงานได้ตามขั้นตอน

3. สามารถคดิ และคำนวนและประเมินชิ้นงานได้

1.3 ปัญหาและอุปสรรคในการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2………………………………………………………………………..…………………………………………………………………..
3…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

1.4 ปญั หาดา้ นการใช้สอ่ื การเรยี นการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

2. ปญั หาการเรยี นของนักเรียน/นักศึกษา:
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

ข้อควรปรับปรุง:
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version