The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 ประติมากรรมประยุกต์ 1.65 (รวมหน่วย)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ruch1984, 2022-05-24 02:14:58

1 ประติมากรรมประยุกต์ 1.65 (รวมหน่วย)

1 ประติมากรรมประยุกต์ 1.65 (รวมหน่วย)

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวิชาประติมากรรมประยุกต์ รหสั วชิ า 20302 - 9004
หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562

หมวดวชิ า เลือกเสรี กลุ่มวิชา การออกแบบ
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

จัดทำโดย

นางสาวรชั นก แสนพลเมอื ง

ครปู ระจำวิชา

แผนกวิชาการออกแบบ
วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสระบุรี
สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 1
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

การพิจารณาแผนการจัดการเรยี นรู้
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

ความเห็นหัวหนา้ แผนก
ขอรับรองวา่ แผนการสอน รายวชิ า ประตมิ ากรรมประยุกต์ (รหัสวชิ า 20302 - 9004) ในภาคเรยี นที่
1 ปกี ารศึกษา 2565 ของ นางสาวรัชนก แสนพลเมือง ครปู ระจำวิชา เป็นแผนการสอนทถ่ี กู ต้องและมี

ความสมบูรณต์ ามรปู แบบการเขียนของทางวิทยาลัยฯ ที่มุ่งเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ทกุ ประการ

....................................................................................................................................................................
....................................................................................... ...................................................... .......................

....................................................
(ดร.สุวรรณา สุ่มเนยี ม)

................../....................../................
ผลการพจิ ารณา

............................................................................................................................. .......................................
........................................................................................................................................... .........................

ลงช่อื ..........................................................................
(นายกติ ติพล วเิ ชยี รเช้อื )
รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

................../....................../................
อนมุ ตั ิ

คำนำ

ชดุ การสอนวิชาประติมากรรมประยกุ ต์ รหัส 20302 – 9004 หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ
(ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จัดทำขน้ึ เพอื่ ใช้
เป็นชุดการสอนสำหรบั ครผู สู้ อนและผูเ้ รียนแผนกวชิ าการออกแบบ สาขางานการออกแบบ ซ่ึงได้มีการ
วเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้ ให้สอดคลอ้ งกับจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธบิ ายรายวิชาของ
หลกั สูตรมีจำนวนท้งั หมด 3 ชดุ ได้แก่ ความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ

ชดุ การสอนชุดนีเ้ ปน็ ชุดการสอน เรื่อง ความร้คู วามเข้าใจ ทกั ษะ กิจกรรมสร้างเสริม เนื้อหาสาระการ
เรียนรู้ ภายในชดุ การสอนนี้ ประกอบด้วย คูม่ ือครู โครงการสอนแผนการจัดการเรยี นรู้ แบบทดสอบกอ่ น
เรียน เอกสารประกอบการเรียน เร่อื ง วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ หลักการของงานประติมากรรมนูนต่ำ นนู สงู
และลอยตัว และกระบวนการวาดเสน้ ร่างภาพ การสร้างสรรค์ แบบฝึกหัด ใบงาน แบบประเมินผลการ
ปฏบิ ตั ิงาน บรรณานุกรมแบบทดสอบหลังเรียน คำแนะนำการใชส้ อื่ ตัวอย่างสอ่ื และภาคผนวก และแบบ
ประเมินกจิ กรรมรายบุคคล กิจกรรมกลมุ่ และแบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หวงั เป็นอยา่ งยิง่ วา่ ชดุ การสอนเร่ือง ความรู้ความเข้าใจ ทกั ษะ กิจกรรมสร้างเสริม ประติมากรรม
ประยุกต์ รหัส 20302 – 9004 ท่ผี ้เู รียบเรยี งจัดทำข้ึน จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ครูผู้สอนและผเู้ รียนในวิชาน้ี
และนำไปเป็นแบบอยา่ งในการจดั ทำชุดการสอนวิชาอืน่ ต่อไป หากมีข้อเสนอแนะใดๆ ผ้เู รียบเรียงน้อมรับ
ด้วยความยินดียิ่ง

(นางสาวรชั นก แสนพลเมอื ง)
ตำแหน่ง ครพู นักงานราชการ

หลกั สูตรรายวชิ า
รหสั วชิ า 20302-9004 รายวิชาประติมากรรมประยุกต์
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562

หมวดวชิ า เลือกเสรี กลมุ่ วชิ า การออกแบบ

❑ จดุ ประสงค์รายวชิ า :
1. เข้าใจวธิ ีการใชเ้ คร่ืองมือและวัสดุ-อปุ กรณใ์ นการประยุกตง์ านด้านประตกิ รรมเป็นผลิตภณั ฑข์ อง

ที่ระลกึ
2. มที กั ษะในการประยุกตง์ านประติมากรรมเป็นผลิตภัณฑ์ของท่ีระลึก เพ่ือจำหนา่ ยโดยการ

ออกแบบชน้ิ งานการเลอื กใชว้ ัสดุ ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน การผลิตช้นิ งาน และตกแต่งชน้ิ งานสำเร็จได้
ตามหลักการ

3. ประมาณราคาชิ้นงานและการผลิตช้นิ งานตามจำนวนได้อย่างเหมาะสม
4. มกี ิจนสิ ัยทีด่ ีในการปฏบิ ตั งิ าน
5. มีคณุ ธรรม จรรยาบรรณในวชิ าชีพ
❑ สมรรถนะประจำรายวิชา:
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั หลกั การ กระบวนการประยุกต์งานประตมิ ากรรมเพ่ือธุรกิจ
2. เตรยี ม วิธกี ารใช้ และการเกบ็ รกั ษาวสั ดุ อุปกรณป์ ระตมิ ากรรมเพื่อธุรกิจ
3. ออกแบบ เขียนแบบ ผลติ ภณั ฑเ์ พ่ืองานประติมากรรมประยกุ ต์
4. สร้างห่นุ จำลองเพอ่ื ผลิตชิ้นงาน
5. ผลติ ช้ินงานผลติ ภณั ฑป์ ระติมากรรมตามข้อกาหนด
6. นำเสนอผลงานประติมากรรมประยกุ ต์
❑ คำอธิบายรายวชิ า :

ศึกษาและปฏบิ ัติเกยี่ วกับ การใชเ้ ครอื่ งมือและวัสดุ อุปกรณ์ การประยุกตง์ านประติมากรรมเป็น
ผลติ ภณั ฑ์ของท่ีระลึกเพื่อจำหน่าย การออกแบบชนิ้ งาน การเลือกใชว้ ัสดุ การผลิตชน้ิ งาน การตกแต่งชน้ิ งาน
สำเรจ็ และการประมาณราคา

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร
รหสั วิชา 20302-9004 รายวชิ าประติมากรรมประยุกต์
ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง / สปั ดาห์ ปฏบิ ตั ิ 3 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จำนวน 2 หน่วยกิต

ระดับพฤติกรรมท่พี ึง
หน่วย ่ีท
ชอ่ื หน่วย ประสงค์ รวม
ัทกษะ ิพ ัสย 50%
ิจต ิพ ัสย 20%

ลำดับ
จำนวน ่ัชวโมง
พทุ ธพสิ ยั 30%

123456

1 5 12 1 10 1 50 20 100

1 ความรูค้ วามเข้าใจ 2 15

เครอื่ งมอื งานประตมิ ากรรมเป็น ✓ ✓ ✓ ✓✓

ผลิตภณั ฑ์ของท่รี ะลึก ความรู้เร่อื ง

อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมอื ท่ีใช้ในงาน

ประติมากรรมประยกุ ต์

2 ทักษะ 1 30

หลักการเลือกใชว้ สั ดุ และขน้ั ตอน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓

การสรา้ งประติมากรรมประยกุ ต์ ✓✓
✓✓
การผลติ ช้นิ งาน และตกแต่งช้ินงาน

สำเรจ็ ได้ตามหลกั การ

เทคนิคและวธิ กี ารปัน้ งาน ✓✓✓✓✓
ประติมากรรมประยกุ ต์

การปฏบิ ตั งิ านประตมิ ากรรม ✓✓✓✓✓
ประยุกตใ์ นรปู แบบตา่ งๆ

3 กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ 39
การสรา้ งสรรค์ช้นิ งานในรูปแบบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

ลักษณะตามโจทย์

รวม 1 5 12 1 10 1 50 20 100

ลำดับความสำคญั 43 1 52 6

หมายเหตุ พุทธพิ ิสัย พฤตกิ รรมด้านสมอง (Cognitive Domain)

1. จดจำ Knowledge = เรยี นง่าย สอนง่าย วัดผลงาย

2. เข้าใจ Comprehension = จบั ใจความ ยอ่ ความ คาดคะเน

3. นำไปใช้ Application = ประยุกต์ใช้ นำไปใชจ้ ริง

4. วิเคาระห์ Analysis = เปรยี บเทยี บ จดั หมวดหมู่ แยกความแตกตา่ ง วจิ ารย์

5. สร้างสรรค์ Synthesis = ประดษิ ฐ์ พฒั นา บรณู าการณ์ สงั เคราะห์

6. ประเมนิ ผล Evaluation = ตัดสิน ใหค้ ะแนน พิจารณา โตเ้ ถียง

กำหนดการเรียนรู้
รหัสวชิ า 20302-9004 รายวชิ าประติมากรรมประยุกต์
ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง / สปั ดาห์ ปฏบิ ัติ 3 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จำนวน 2 หน่วยกิต

สปั ดาห์ที่ หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วย ชั่วโมง จำนวน
ที่ ชว่ั โมง

1 1 รจู้ ักวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ งานประติมากรรมเปน็

ผลิตภณั ฑ์ของทีร่ ะลึก ความรู้เร่อื งอุปกรณ์และเคร่ืองมอื ที่ใช้ 4 4

ในงานประติมากรรมประยุกต์

2 2 หลักการเลอื กใช้วัสดุ และข้นั ตอนการสรา้ งประตมิ ากรรม

ประยุกต์การผลิตชน้ิ งาน และตกแตง่ ชิน้ งานสำเรจ็ ได้ตาม 5-8 4

หลักการ

3 – 7 2 เทคนคิ และวธิ ีการป้ันงานประติมากรรมประยกุ ต์ 9-28 20

8 - 10 2 การปฏบิ ตั งิ านประตมิ ากรรมประยุกตใ์ นรูปแบบต่างๆ 29–40 12

11 – 17 3 การสร้างสรรค์ชน้ิ งานในรปู แบบลกั ษณะตามโจทย์ 41-68 28

18 สอบปลายภาค 72 4

รวม 72

หน่วยการเรยี นรรู้ ายวิชา
รหัสวิชา 20302-9004 รายวชิ าประติมากรรมประยุกต์
ทฤษฎี 1 ชั่วโมง / สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 3 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จำนวน 2 หนว่ ยกิต

หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายหน่วย สัปดาห์ท่ี ช่ัวโมง
1 1 4
ความรู้ความเข้าใจ อธิบายเคร่อื งมือ งาน
ประตมิ ากรรมเป็นผลติ ภณั ฑข์ องที่
เคร่อื งมอื งานประติมากรรมเปน็ ผลิตภณั ฑ์ของที่ระลกึ ระลกึ ความรเู้ รอ่ื งอปุ กรณแ์ ละ
ความรูเ้ รื่องอุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือทใี่ ช้ในงานประติมากรรม เครื่องมอื ที่ใช้ในงานประติมากรรม
ประยกุ ต์ ประยกุ ต์

2 ทกั ษะ

หลักการเลอื กใชว้ สั ดุ และข้นั ตอนการสร้างประติมากรรม อธิบายการเลือกใชว้ สั ดุ การดูแล 2 4
ประยุกต์การผลิตชน้ิ งาน และตกแตง่ ชิ้นงานสำเร็จไดต้ าม และข้นั ตอนการเก็บรกั ษา 20
12
หลกั การ

เทคนคิ และวธิ กี ารปน้ั งานประติมากรรมประยกุ ต์ อธบิ ายเก่ยี วกบั ประเภทของงาน 3–7
ประตมิ ากรรมประยกุ ต์

การปฏบิ ัตงิ านประตมิ ากรรมประยุกตใ์ นรปู แบบตา่ งๆ อธิบายข้นั ตอนและการปฏิบตั แิ ละ 8 – 10

วิธกี ารขน้ึ งานประตมิ ากรรม

ประยุกต์

3 กิจกรรมสรา้ งเสริม สรา้ งโจทยเ์ พอ่ื การสร้างสรรค์ 11 - 17 28
ชิน้ งาน 18 4
การสร้างสรรคช์ ิน้ งานในรูปแบบลกั ษณะตามโจทย์

สอบปลายภาค

รวม 72

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1 1
รหัสวชิ า 20302-9004 สัปดาหท์ ี่ 4
ช่ือเรือ่ ง ความร้คู วามเขา้ ใจ จำนวนช่ัวโมง 4
ชั่วโมงรวม

สาระสำคัญ
ความรู้เร่ืองอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ เป็นพื้นฐานหลักของงานศิลปะ

ด้านประติมากรรมและการสร้างผลงานประติมากรรม โดยการนำหลัการใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ในงานปั้นมา
เป็นความรู้พ้ืนฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ คำน่ึงถึงความสำคัญในการสร้างสรรค์งาน ซ่ึงประกอบด้วยเนื้อหา
เก่ียวกับ ความรู้เร่ืองวัสดุ อุปกรณ์และเคร่ืองมือในงานประติมากรรมนูนต่ำนูนสูงและลอยตัว เทคนิควิธีการ
และการปฏิบัติงานประตมิ ากรรมเปน็ ต้น

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
- จดุ ประสงคท์ ั่วไป
นักเรียนมีความรู้และความสามารถใช้อุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์
ได้
- จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. อธิบายความรแู้ ละสามารถใชอ้ ุปกรแ์ ละเคร่อื งมือที่ใชใ้ นงานประติมากรรมประยุกต์ได้
2. อธิบายวิธีการและความสำคัญของอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใชใ้ นงานประติมากรรมประยุกต์
ได้
3. ปฏบิ ตั ิงานโดยใชอ้ ุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือในงานประติมากรรมประยุกต์ได้อยา่ งถูกต้อง

สมรรถนะประจำหนว่ ย
นักเรียนมีความรู้เร่ืองการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในงานประติมากรรมประยุกต์ วิธีการ ปฏิบัติงาน
บอกประเภทของเครอ่ื งมอื งานประติมากรรมและสรา้ งสรรคผ์ ลงานได้

สาระการเรยี นรู้

ความรทู้ ั่วไปเกย่ี วกับความสำคัญของอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยกุ ต์

อุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ คืออะไร ความหมายและความสำคัญของอุปกรณ์
และเคร่ืองมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ การปฏิบัติงานด้วยอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงาน
ประติมากรรมประยุกต์ มีวิธีการอย่างไร การใช้เครื่องมืออย่างถูกต้องตามหลักวิธีการ การเก็บรักษา วัสดุ
อปุ กรณ์ เคร่ืองมือของงานประตมิ ากรรมทำอย่างไร

เอกสารอ้างอิง

มัย ตะติยะ.ประติมากรรมภาคปฏิบัต.ิ _ปทมุ ธานี:สปิ ประภาจำกดั ,2549

กระบวนการจัดการเรยี นรู้

ขน้ั ตอนท่ี 1 ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น

1. ชแ้ี นะแนวทางและบอกวัตถุประสงค์ของการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 1

2. ซักถามพื้นฐานความรู้เดิมเก่ียวกับงานประติมากรรมประยุกต์ ความรู้เรื่องวัสดุ อุปกรณ์และ
เคร่ืองมอื ในงานประติมากรรมประยุกต์

3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความรู้เดิมในเรื่องอุปกรณ์และเคร่ืองมือท่ีใช้ในงาน
ประติมากรรมประยุกต์ ความเขา้ ใจทนี่ กั เรียนได้เคยศกึ ษาและปฏิบตั มิ า

4. แนะนำวิธีการเรียนรู้และการเข้ากิจกรรมร่วมกัน โดยเปิดสื่อตัวอย่างงานประติมากรรมประยุกต์
และการศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูล ความรู้ก่อนเรยี น จากวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื จรงิ และหนงั สือ หรอื เว็ป
ไซต์

ขัน้ ตอนท่ี 2 ขน้ั ดำเนนิ การสอน

1. แจกเอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 1 เร่ือง “ความรู้เรื่องอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงาน
ประตมิ ากรรมประยกุ ต”์

2. ครูให้นักเรียนระดมความคิด ความรูเ้ รื่องอุปกรณ์และเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์คือ
อะไร จากนั้นครูจึงสรุปความสำคัญของอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ ว่า
หมายถึงส่ือ วสั ดุ อุปกรณใ์ นแต่ละประเภททีใ่ ช้สำหรบั งานประตมิ ากรรมประยุกต์ เป็นต้น

3. ครูเปิดสื่อการสอนเก่ียวกับอุปกรณ์และเคร่ืองมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ ให้นักเรียนดู
พรอ้ มกับอธิบายถึงความเป็นมาของอุปกรณ์และเคร่ืองมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ รวมถึง
แนะนำผลงานเป็นท่ีมีการนำวัสดุ อุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ มาเป็น
หลกั ในการสรา้ งสรรค์งานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เปน็ ต้น

4. จากน้ันครูต้ังคำถาม “อุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ใช้ในงานประตมิ ากรรมประยกุต์ มีความสำคัญและให้
ประโยชน์อย่างไรแก่ผู้ปั้นบ้าง”เพื่อให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดจากน้ันครูจึงสรุปวัตถุประสงค์
เกี่ ย ว กั บ ห ลั ก ก า ร ใช้ ง า น แ ล ะ ป ร ะ โย ช น์ ที่ ได้ จ า ก ก า ร เลื อ ก ใช้ อุ ป ก ร ณ์ แ ล ะ เค ร่ื อ ง มื อ ท่ี ใช้ ใน ง า น
ประติมากรรมประยุกต์

5. ครูให้นักเรียนดูรูปแบบของลักษณะผลงานที่มีหลักการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงาน
ประตมิ ากรรมประยุกต์ ได้อยา่ งสมบูรณ์ พรอ้ มกับอธบิ ายลักษณะสำคญั ของแตล่ ะรปู แบบ

6. จากน้ันครูอธิบายประเภทของอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ ให้นักเรียน
ฟงั ว่ามีอะไรอย่างไรบ้าง

ขั้นตอนที่ 3 ขัน้ สรปุ

1. ครูให้นักเรียนร่วมสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมนูนต่ำเพ่ือสรุป “ความสำคัญของอุปกรณ์และ
เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในงานประติมากรรม” ลงในกระดาษแล้วนำเสนอให้ครแู ละเพอื่ นรว่ มห้องฟัง

2. ครูให้นักเรียนตอบคำถาม “ในการป้ันดินเหนียวควรใช้อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างไร และในงาน
ประติมากรรมประยุกต์สร้างสรรค์เพื่ออะไรและมีประโยชน์อย่างไร และสามารถใช้อุปกรณ์และ
เคร่อื งมือไดอ้ ย่างไร” จากน้ันนดั เรียนร่วมกนั ตอบคำถาม

3. ครูให้นักเรียนตอบคำถาม “ความรู้เร่ืองอุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์มี
ความสำคญั อยา่ งไรบา้ ง” จากนน้ั นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคำถาม

4. ครูให้นักเรียนสรุปและตอบคำถาม “ประเภทอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงานประติมากรรม
ประยกุ ตแ์ บง่ ไดก้ แี่ บบจากนน้ั นกั เรียนร่วมกนั ตอบคำถาม

ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้
- ส่ือการเรียนรู้
1.เอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 1 เร่ือง ความรู้เรื่องอุปกรณ์ และเครื่องมือท่ีใช้ในงาน
ประติมากรรมประยุกต์
2.Power Point หน่วยท่ี 1
3.ใบกจิ กรรม เรื่อง “ความรู้เร่อื งอุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในงานประติมากรรมประยุกต์
- แหล่งการเรยี นรู้
1.YouTube รัชนกชาแนล : ห้องเรยี นครูนก

กจิ กรรมเสนอแนะ / งานทีม่ อบหมาย
กอ่ นเรียน

1.จดั เตรยี มเอกสาร สอื่ การเรียนการสอนที่ครผู สู้ อนและบทเรยี นที่กำหนดไว้
ขณะเรียน

1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบกิจกรรม เรื่อง “ความรู้เร่ืองอุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงาน
ประตมิ ากรรมประยกุ ต”์ พร้อมสังเกตและใหค้ ะแนะนำกบั นักเรียน

หลังเรียน
1.นักเรียนเก็บทำความสะอาด โต๊ะ เก้าอ้ี พ้ืนห้องเรียน กระดานดำให้สะอาดเรียบร้อยและปิดไฟฟ้าพัด
ลมใหเ้ รยี บร้อยกอ่ นออกจากห้องเรยี น

การวดั ประเมินผล
1.วิธวี ดั ผลและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน
1.2 ประเมินจากผลงานการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรียน และใบกจิ กรรม
1.3 สังเกตความสนใจและความต้งั ใจในการทำกจิ กรรมของนกั เรียน
2. เครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมนิ ผลชนิ้ งาน

2.2 แบบทดสอบกอ่ น/หลงั เรียน
2.3 แบบสงั เกตความสนใจและความต้ังใจในการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น

3. เกณ์การวัดและประเมนิ ผล
3.1 ผลการประเมินแบบประเมนิ ผลชน้ิ งาน อยใู่ นเกณร์ ะดบั ดี ขนึ้ ไป
3.2 ผลการสงั เกตความสนใจและความตงั้ ใจในการทำกจิ กรรมของนักเรียน อยใู่ นเกณฑร์ ะดบั ดี
3.3 ผลการทำแบบทดสอบก่อน/หลังเรยี นได้รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป

การวัดผลและการประเมินผล

สิง่ ทต่ี ้องการวดั วิธีวดั เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การวัด
ด้านความรู้
(Cognitive) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบประเมนิ ผล ผลการประเมินแบบ
ชนิ้ งาน ประเมนิ ผลชนิ้ งาน
ด้านทกั ษะ อย่ใู นเกณ์ระดับดี ขน้ึ
(Psychomotor) ประเมินจากผลงานการ แบบทดสอบก่อน/ ไป
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม หลงั เรยี น
ด้านคณุ ลักษณะ แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน ผลการสังเกตความ
(Affective) และใบกิจกรรม สนใจและความต้ังใจ
ในการทำกิจกรรม
แต่งกายถกู ระเบียบ สนใจใฝ่ แบบสังเกตความ ของนักเรียน อยู่ใน
เกณฑร์ ะดบั ดี
รู้ รบั ผิดชอบ กล้าแสดงออก สนใจและความ
ผลการทำ
นำเสนอผลงาน ต้ังใจในการทำ แบบทดสอบกอ่ น/
หลงั เรยี นได้ร้อยละ
กิจกรรมของ 80 ขน้ึ ไป

นักเรียน

เกณฑ์การประเมินใบงาน

รายการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. ปรมิ าณข้อมลู ปรมิ าณข้อมลู มี 4ดา้ น ขน้ึ ปริมาณข้อมูลมี 2-3 ปริมาณข้อมูลมนี ้อย มี
ไป ดา้ น เพยี ง 1 ดา้ น

2. คุณภาพขอ้ มลู ขอ้ มลู มีหวั เรื่องหลกั หัว ข้อมูลมีหวั เรื่องหลักและ ข้อมูลมีเฉพาะหวั เรือ่ ง
เร่อื งรอง มรี ายละเอียด ใน หวั เรอื่ งรองแต่ไม่ หลกั
หัวเรือ่ งรอง อย่าง เหมาะสม กับลาดับ
สมเหตุสมผล ความสาคญั

3. แบบแผนการคดิ มีการเชือ่ มโยงลำดบั จดั กลุ่มข้อมลู และ แผนทค่ี วามคดิ ไม่แสดง
(การเชือ่ มโยง) เหตกุ ารณเ์ ปน็ แสดง การเชอ่ื มโยง การเช่ือมโยง
เหตุเป็นผล และแสดง ภายในกลุ่ม แต่ไม่ ระหว่างกลุ่ม
ความสมั พนั ธ์ ทัง้ ระบบ เชือ่ มโยงทั้งระบบ

4. แบบแผนการคิด สาระที่เขียนส่วนใหญเ่ ปน็ สาระท่เี ขียนมรี ปู ธรรม สาระทเ่ี ขียนมีแต่
(สาระ/เน้อื หา) นามธรรม องค์ความรู้ มากกว่านามธรรม และ รูปธรรม ที่เปน็
หลักการดาเนินชีวติ ทด่ี ี แสดงวสิ ยั ทศั น์เร่อื งท่ีจะ พฤติกรรม และแสดง
และแสดงวิสยั ทัศนเ์ รื่องท่ี ทาในอนาคต 1 เรื่อง วิสยั ทศั นเ์ รือ่ งท่จี ะทา
จะทาในอนาคต2เร่อื ง ขน้ึ ใน อนาคต
ไป

5. ความคดิ สร้างสรรค์ รปู แบบ ทัง้ การออกแบบ รปู แบบ ทั้ง การ รปู แบบ ท้ัง การ
MindMap และเนอื้ หา ดู ออกแบบ MindMap ออกแบบ MindMap
นา่ สนใจ รอ้ ยละ 75 ข้นึ และเนือ้ หา ดูไม่ค่อย และเนื้อหา ไม่นา่ สนใจ
ไป นา่ สนใจ (ไม่ถงึ ร้อยถะ เลย
75 )

6. ความรับผดิ ชอบ สง่ งานตรงเวลาทีค่ รูกา สง่ งานล่าช้า แต่มีเหตผุ ล สง่ งานลา่ ช้า และไม่มี
หนด จาเป็น เหตุผลจาเป็น

7. ความช่อื สัตย์ เขยี นตามรูปแบบของ เขยี นตามรูปแบบของ ดดั ลอกจากหนังสือ/
ตนเอง ตนเอง หรอื ดัดแปลงจาก website ดดั แปลง
ต้นแบบ 75 % ขึน้ ไป บางสว่ น

แบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น

ชื่อวิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาห์ท่ี 1
4
รหัสวชิ า 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 4

ช่ือเรื่อง ความรูค้ วามเข้าใจ ชั่วโมงรวม

คำช้แี จง แบบทดสอบเปน็ แบบอัตนัย จานวน 5 ขอ้
คำสง่ั จงเติมความหมายให้ถูกตอ้ งลงในกระดาษคาตอบ
1. จงเขยี นวัสดุ อุปกรณ์และเคร่อื งมือในงานประติมากรรมประยุกต์ ทนี่ ักเรยี นรจู้ กั ให้มากทีส่ ุด
วสั ดุ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
อุปกรณ…์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เครอ่ื งมอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. วสั ดุทส่ี ามารถนามาทางานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ สามารถแบ่งออกเป็นกป่ี ระเภท
............................................................................................................................................................................
................................................................................................................ ........................................................ ....
3.จงยกตวั อยา่ งงานประตมิ ากรรมประยุกต์ ทน่ี ักเรยี นรจู้ กั พรอ้ มอธิบายลกั ษณะรูปแบบของงาน
................................................................................................................... .........................................................
.......................................................................................................................................................... ..................
4.อปุ กรณแ์ ละเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นงานประติมากรรมประยกุ ต์ มคี วามสาคัญอย่างไร
......................................................................................................................................... ...................................
............................................................................................................................................................................
5.นกั เรียนสามารถนาเทคนิค วธิ ีการใช้อุปกรณ์และเคร่ืองมือในงานปน้ั ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้อย่าง
............................................................................................................................................................................
...................................................................................................... ................................................................... ...

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
เรอื่ ง ความรู้เรอื่ งอปุ กรณแ์ ละเครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นงานประติมากรรมประยุกต์
จดุ ม่งุ หมาย เพื่อใหน้ ักเรยี นมีความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับอปุ กรณ์และเคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นงานประติมากรรม
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. อุปกรณแ์ ละเครอื่ งมือทใี่ ช้ในงานประติมากรรมประยุกต์ มีความสาคัญอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ประตมิ ากรรมประยกุ ต์ มคี วามแตกต่างจากประตมิ ากรรมคนเหมือนกันอยา่ งไร มีวิธกี ารสังเกตอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.อปุ กรณ์และเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นงานประตมิ ากรรมประยุกต์ มีประโยชน์อย่างไรในการสรา้ งผลงานอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ ใบความรู้ 1
รหัสวิชา 20302-9004 4
ชื่อเร่อื ง ความรู้ความเขา้ ใจ สัปดาหท์ ี่ 4
จำนวนชัว่ โมง
ช่วั โมงรวม

รปู แบบ วัสดุ อุปกรณ์ ในงานประติมากรรม
อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นงานปั้น
บทท1่ี อุปกรณท์ ี่ใช้ในงานปนั้
จดุ ประสงค์อุปกรณใ์ นงานปั้น
1.เพอื่ ให้นกั เรยี นได้ร้จู ักอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นงานป้ัน
2.เพอ่ื ให้นักเรยี นไดร้ ู้จักวธิ ีการใชอ้ ุปกรณ์งานป้ันได้อยา่ งถูกตอ้ ง
อุปกรณ์ประกอบดว้ ย
เครอื่ งมอื ปัน้ และไม้เสนยี ด ขนาดตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการปน้ั

๑. เตรียมเหลก็ เสน้ ขนาด ๓ หุน ติดตามรปู ความสงู จากขาส่ีแฉกจนถึงขดกลม ประมาณ ๔๐ – ๖๐ ซ.ม.
(แลว้ แตค่ วามสูงของรูปท่จี ะปั้น)

๒. แท่นรองปนั้ ขนาดประมาณ ๔๕ x ๔๕ x ๑๐ ซ.ม. พน้ื ควรเปน็ ไมม้ ีความหนาอย่างต่ำ ๔ ซ.ม.

๓. ลวดยดึ ดิน เปน็ ลวดดำ (ลวดผูกเหล็ก) นำมาขดเป็นปมมหี ว่ งแลว้ ยึดกากบาทจบั ดิน
๔. ไมก้ ากบาทจบั ยึดดนิ เป็นไมข้ นาดประมาณ ๑/๒ x ๔ X ๑/๒ นวิ้ ใชล้ วดดำผกู ยึดไม้ ๒ ช้นิ เป็นรปู
กากบาท ปล่อยชายลวดยาวประมาณ ๒๕ – ๓๕ ซ.ม.
แกนปั้นที่พร้อมจะทำการข้นึ ดิน

แกนป้นั ท่ีพรอ้ มจะทำการขน้ึ ดิน



อุปกรณ์
กระดาษหนังสอื พมิ พ์ , กาวลาเท็กซ์ , สเปรยเ์ คลือบเงา , แป้นหมุนไม้ , ฟ็อกก้ีฉีดนำ้ , พกู่ ัน , แปรง , สี
อะครลิ ิก , ชุดเกรียง , ชดุ ไม้ขูดดนิ , ชุดไมแ้ ต่งดนิ , ไมน้ วดแป้ง , สกอ๊ ตช์เทป , เทปกาวสองหน้าชนดิ ใสแรง
ยดึ ตดิ สงู

ขน้ั ตอนการเตรียมกระดาษป้ัน
1.ฉกี กระดาษหนงั สือพิมพ์เปน็ ช้ินเลก็ ๆ แช่น้ำทิ้งไว้ เม่ือกระดาษหนงั สอื พมิ พ์นิ่มแล้วให้ใช้มือฉกี จนยุ่ย
2.บบี น้ำออกจากกระดาษแลว้ นำกาวลาเทก็ ซ์มาผสม ขยำจนกาวและกระดาษเข้ากนั เปน็ เนื้อเดียว
3. เมอื่ กาวกบั กระดาษรวมกนั เป็นเน้อื เดยี วแล้วจะออกมาหน้าตาแบบนี้เลยค่ะ เหมอื นเป็นดินเย้ือกระดาษใน
ราคาเบา ๆ ท่ีเราทำเองไดจ้ ากวัสดุเหลอื ใชเ้ ลย

ชอื่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ ใบมอบหมายงาน 1
รหสั วิชา 20302-9004 สปั ดาหท์ ี่ 4
ชื่อเรอื่ ง ความรคู้ วามเขา้ ใจ จำนวนช่วั โมง 4
ช่ัวโมงรวม

จดุ ประสงค์ เพ่ือให้นกั เรียนสามารถ
1.เข้าใจรจู้ กั วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ งานประตมิ ากรรมเป็นผลติ ภณั ฑ์ของท่ีระลกึ
2.ความรเู้ ร่ืองอปุ กรณ์และเคร่อื งมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยุกต์

วสั ดุอุปกรณ์
1.กระดาษเหลือใช้
2.กาว TOA
3.เครอ่ื งมือป้นั

ลำดบั ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
1.เตรยี มอปุ กรณ์การทำดินกระดาษ
2.ทำงานตามขนั้ ตอน เพ่ือดำเนินงานในข้ันตอนต่อไป/รักษาและดแู ลวัสดุอุปกรณ์

การวัดผลประเมินผล
1.อธิบายเคร่ืองมือ งานประติมากรรมเป็นผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก
2.รูเ้ รือ่ งอปุ กรณแ์ ละเครื่องมือท่ีใชใ้ นงานประติมากรรมประยุกต์

คุณธรรมจริยธรรมทค่ี วรเน้น
1.ความมีวนิ ัย
2.ความรับผิดชอบ
3.ความสนใจใฝ่รู้
4.ความสะอาด
5.ความซอื่ สัตย์

ลงช่ือ........................................................
(นางสาวรชั นก แสนพลเมอื ง)
ครูประจำวชิ า

ช่อื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ ใบประเมนิ ผลการเรียน 1
รหสั วิชา 20302-9004 สัปดาหท์ ่ี 4
ชือ่ เร่อื ง ความรูค้ วามเขา้ ใจ จำนวนชั่วโมง 4
ช่วั โมงรวม

แบบประเมนิ ผลการเรยี นและคุณธรรมของนักเรียน
คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนขดี เครื่องหมายถกู / ในช่องระดับผลการเรียนเพื่อประเมินผลการเรียนของตน

เกณฑ์การตัดสิน หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก
4 คะแนน หมายถึง ผลการเรียนดี
3 คะแนน หมายถงึ ผลการเรยี นพอใช้
2 คะแนน หมายถงึ ผลการเรียนต้องปรบั ปรงุ
1 คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ หมายถงึ ระดับความรู้ดมี าก
18 -20 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรูด้ ี
15 -17 คะแนน หมายถงึ ระดับความรู้พอใช้
10 – 14 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรู้ต้องได้รบั การสอนซ่อมเสริม
ตำ่ กว่า 10 คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั ผลการเรียน หมายเหตุ
432 1

1 อธิบายเคร่อื งมือ งานประติมากรรม
2 อธิบายเกีย่ วกับผลติ ภณั ฑ์ของท่รี ะลกึ
3 อุปกรณ์การทำดนิ กระดาษ
4 ทำงานตามขั้นตอนดนิ กระดาษ

รวมคะแนน

บันทึกหลังการสอน

แผนจัดการเรียนรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ่ี 1

รหสั วชิ า 20302-9004 จำนวนช่วั โมง 4

ช่ือเรื่อง ความรูค้ วามเข้าใจ ชั่วโมงรวม 4

1. สรปุ ผลการใชแ้ ผนการสอน คน
1.1 รายละเอียดการสอน จำนวนนักศกึ ษาทงั้ ส้ิน

หัวข้อเนอ้ื หาที่สอน เข้าใจ/ปฏิบตั ิ (คน ) ไมเ่ ข้าใจ ( คน )
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. วธิ ีการเตรยี ม วสั ดุ อุปกรณ์

2. ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน

3. การประเมนิ คณุ คา่

1.2 ผลการจัดกจิ กรรมบูรณาการหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง จำนวนนกั ศกึ ษาทั้งสนิ้ คน

ความรู้/กจิ กรรมท่ีบรู ณาการประจำหนว่ ย เข้าใจ/ปฏิบตั ิ (คน )
จำนวน รอ้ ยละ

1. รูจ้ ักและสามารถเลือกวัสดุอปุ กรณท์ ่ีเหมาะสม

2. สามารถทำงานไดต้ ามข้ันตอน

3. สามารถคดิ และคำนวนและประเมินชนิ้ งานได้

1.3 ปญั หาและอุปสรรคในการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2………………………………………………………………………..…………………………………………………………………..
3…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

1.4 ปัญหาดา้ นการใชส้ อื่ การเรยี นการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

2. ปัญหาการเรียนของนกั เรียน/นกั ศกึ ษา:
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

ขอ้ ควรปรับปรุง:
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
................................................................................................................................................ ............................

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ที่ 2
รหัสวิชา 20302-9004
ชอ่ื เร่อื ง หลักการงานปน้ั ประยกุ ต์ จำนวนชวั่ โมง 4

ชั่วโมงรวม 5 - 8

สาระสำคญั
หลกั การและขั้นตอนการสร้างประติมากรรมประยุกต์ เปน็ หลกั การที่สาคญั ในเร่ืองความเข้าใจ ขน้ั ตอน

วิธีการ การปฏิบัติงาน เพราะเป็นการนาหลักความรู้ ความเข้าใจสร้างสรรค์ช้ินงานประติมากรรมในรูปแบบ
ประยุกต์ ตามวัสดุต่างๆความต้องการของผู้ปั้น นับว่าสามารถพ้ืนฐานหลักในการฝึกฝนการป้ันงาน
ประติมากรรมประยุกต์ ได้เป็นอย่างดี และเป็นพื้นฐานของศิลปะด้านงานประติมากรรมประยุกต์ งาน
ออกแบบงานประติมากรรมตกแต่งต่างๆ โดยการใช้หลักการและข้ันตอนงานประติมากรรมประยุกต์ โดยใช้
การออกแบบชนิ้ งาน วธิ ีการสรา้ งชิ้นงาน ประเภทงานประตมิ ากรรม เปน็ ตน้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
- จุดประสงคท์ วั่ ไป
นกั เรยี นมีความรู้และสามารถปฏิบัติงานตามหลกั การและขั้นตอนงานประติมากรรมประยกุ ต์ ได้
- จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1.อธิบายหลักการงานประตมิ ากรรมพ้ืนฐานได้
2.ปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอนวธิ ีการงานประตมิ ากรรมพื้นฐานได้
3.อธบิ ายความหมายของประเภทงานประติมากรรมพน้ื ฐานได้
4.อธิบายหลักการใช้วัสดุอุปกรณ์ โดยยึดหลักการงานประติมากรรมประยุกต์ ได้อย่าง
ถกู ต้อง
5.อธบิ ายและแยกแยะประเภทของงานประติมากรรมพนื้ ฐานได้

สมรรถนะประจำหน่วย
นักเรียนเข้าใจหลักการและข้ันตอนวธิ ีการ ปฏบิ ัติงานและสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้หลักการปั้น รวมไป
ถึงเทคนคิ ในการสรา้ งสรรค์ได้

สาระการเรยี นรู้
ประตมิ ากรรมประยกุ ต์ คืองานประเภทอะไร ขั้นตอนการสรา้ งงานประติมากรรมประยุกต์ คืออะไร

ความสาคัญของหลักการและขั้นตอน สาคญั อย่างไรรูปแบบการสร้างงานประตมิ ากรรมประยุกต์ มกี ่ปี ระเภท
เอกสารอา้ งอิง

มัย ตะตยิ ะ.ประตมิ ากรรมภาคปฏิบตั ิ._ปทุมธาน:ี สปิ ประภาจำกดั ,2549
นวลนอ้ ย บุญวงษ.์ (2542). หลักการออกแบบ. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
นิรชั สดุ สังข.์ (2548). การออกแบบผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม. กรุงเทพ: ไอเดยี นสโตร์.
ประเสรฐิ ศลิ รตั นา. (2531). ของทีร่ ะลึก. กรุงเทพ: ไอเดียนสโตร.์

กระบวนการจัดการเรยี นรู้

ขนั้ ตอนที่ 1 ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน

1. ครชู ี้แนะแนวทางและบอกวัตถุประสงคข์ องการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 2

2. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนท่ีได้เรียนไปในช่ัวโมงที่ผ่านมา โดยให้นักเรียนตอบคาถามว่า
หลกั การและขั้นตอนคืออะไร มีความเป็นมาและวิธกี ารอยา่ งไร ใหป้ ระโยชน์แก่ผูว้ าดอยา่ งไร

3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับหลักการและขั้น ตอนงาน
ประติมากรรมประยุกต์ ครูแนะนาวิธีการเรียนรู้และการเข้ากิจกรรมร่วมกัน โดยการศึกษาค้นคว้า
ข้อมลู ความรู้กอ่ นเรียน จากหนงั สอื หรอื เว็ปไซต์

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนนิ การสอน

7. แจกเอกสารประกอบการสอน หนว่ ยที่ 2 เรอ่ื ง “หลักการและข้นั ตอนการสร้างประติมากรรม

ประยกุ ต”์

8. ครูให้นักเรียนระดมความคิดว่า หลักการและขั้นตอนการสร้างประติมากรรมประยุกต์ คืออะไร
จากนั้นครูจึงสรุปความหมายของหลักการและขั้นตอนงานประติมากรรมประยุกต์ ว่าหมายถึง หลัก
ในการสร้างสรรค์งานประติมากรรมประยุกต์ และกระบวนการทางานขั้นพื้นฐานของงาน
ประติมากรรมประยุกต์ เป็นต้น

9. ครูเปิดสื่อการสอนเก่ียวกับ หลักการและข้ันตอนงานประติมากรรมประยุกต์ ให้นักเรียนดู พร้อมกับ
อธิบายถึงความเป็นมาของหลักการและข้ันตอนงานประติมากรรมประยุกต์ รวมถึงแนะนาผลงาน
เป็นท่ีมีการใช้หลักการและขั้นตอนการปั้น มาเป็นหลักในการสร้างสรรค์งาน เป็นต้นจากน้ันครูต้ัง
คำถาม “อุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในงานประติมากรรมประยกุต์ มีความสำคัญและให้ประโยชน์
อย่างไรแก่ผู้ป้ันบ้าง”เพื่อให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดจากน้ันครูจึงสรุปวัตถุประสงค์เก่ียวกับ
หลักการใช้งานและประโยชน์ที่ได้จากการเลือกใช้อุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ใช้ในงานประติมากรรม
ประยุกต์

10.จากนั้นครูตัง้ คาถามว่า “ประตมิ ากรรมประยุกต์ มีความสาคัญและใหป้ ระโยชน์อย่างไรแก่ผปู้ ัน้ บา้ ง”
เพ่ือให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิด จากน้ันครูจึงสรุปวัตถุประสงค์เก่ียวกับหลักการและข้ันตอน
การสร้างประติมากรรมประยุกต์และประโยชน์ท่ีได้จากการใช้ทักษะความเข้าใจและวิธีการได้อย่าง
ถูกตอ้ ง

11.ครูให้นักเรียนดูรูปแบบของลักษณะผลงานท่ีผ่านการใช้หลักการและข้ันตอนงานประติมากรรม
ประยุกต์ ทีส่ มบรู ณ์ พร้อมกบั อธิบายลักษณะสาคัญของแตล่ ะรปู แบบ

12. จากน้ันครูอธิบายประเภทของหลักการและข้ันตอนงานประติมากรรมและเทคนิควิธีการสร้างส รรค์
ผลงานให้นกั เรยี นฟงั วา่ มีอะไรบ้าง

ขัน้ ตอนที่ 3 ขน้ั สรุป

5. ครูให้นักเรียนสร้างสรรค์งานโดยใช้การ “ปฏิบัติชิ้นงานจริง 1 ช้ินงาน” ลงในแผ่นรองปั้นแล้วนา
เสนอเทคนคิ วิธกี ารสรา้ งสรรคห์ น้าหอ้ งเรยี น

6. ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “เรื่องหลักการและข้ันตอนการสร้างประติมากรรมประยุกต์ มี
จดุ ประสงค์เพ่ืออะไร มีประโยชน์อยา่ งไร และสามารถใชห้ ลักการออกแบบองค์ประกอบศิลป์มาช่วย
ในการจัดวางรปู แบบและกาหนดลักษณะงานได้อยา่ งไร” จากน้ันนกั เรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม

7. ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “หลักการและขั้นตอนการสร้างประติมากรรมประยุกต์มีความสาคัญ
อยา่ งไรบา้ ง” จากนนั้ นักเรียนร่วมกันตอบคาถาม

8. ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “ประเภทงานประติมากรรมประยุกต์”มีอะไรบ้าง จากนั้นนักเรียน
รว่ มกันตอบคาถาม

ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
- ส่ือการเรียนรู้
4.เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 2 เร่ือง หลักการและขั้นตอนการสร้างประติมากรรม
ประยุกต์
5.สอื่ การเรยี นการสอน หนว่ ยท่ี 2
6.ใบกจิ กรรม เร่อื ง “หลักการงานปัน้ ”
- แหลง่ การเรียนรู้
2.YouTube รัชนกชาแนล : ห้องเรยี นครูนก

กิจกรรมเสนอแนะ / งานท่ีมอบหมาย
ก่อนเรียน

2.จดั เตรียมเอกสาร สื่อการเรียนการสอนทค่ี รูผ้สู อนและบทเรียนทก่ี ำหนดไว้
ขณะเรียน

1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบกิจกรรม เร่ือง “หลักการและขั้นตอนการสร้างประติมากรรมประยุกต์”
พร้อมเดินสงั เกต และใหค้ าแนะนากบั นกั เรียน

หลังเรียน
2.นักเรียนเก็บทำความสะอาด โต๊ะ เก้าอี้ พ้ืนห้องเรียน กระดานดำให้สะอาดเรียบร้อยและปิดไฟฟ้าพัด
ลมใหเ้ รียบร้อยก่อนออกจากห้องเรียน

การวัดประเมนิ ผล
2.วธิ ีวัดผลและประเมนิ ผล
1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน
1.2 ประเมนิ จากผลงานการปฏิบตั ิกจิ กรรม แบบทดสอบก่อน/หลงั เรยี น และใบกิจกรรม
1.3 สังเกตความสนใจและความตงั้ ใจในการทำกิจกรรมของนักเรยี น
2. เครื่องมอื วดั และประเมินผล
2.1 แบบประเมนิ ผลชนิ้ งาน

2.2 แบบทดสอบกอ่ น/หลงั เรยี น
2.3 แบบสังเกตความสนใจและความตั้งใจในการทำกจิ กรรมของนกั เรียน
3. เกณ์การวดั และประเมนิ ผล
3.1 ผลการประเมนิ แบบประเมินผลช้ินงาน อยู่ในเกณร์ ะดับดี ขึ้นไป
3.2 ผลการสงั เกตความสนใจและความตงั้ ใจในการทำกิจกรรมของนักเรยี น อยูใ่ นเกณฑร์ ะดับดี
3.3 ผลการทำแบบทดสอบกอ่ น/หลงั เรยี นได้รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป

การวดั ผลและการประเมนิ ผล

สง่ิ ท่ตี ้องการวดั วธิ ีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การวดั

ด้านความรู้ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบประเมินผลชน้ิ งาน ผลการประเมนิ แบบ

(Cognitive) ประเมนิ ผลช้นิ งาน อยู่

ในเกณ์ระดบั ดี ข้ึนไป

ด้านทกั ษะ ประเมินจากผลงานการ แบบทดสอบกอ่ น/หลัง ผลการสงั เกตความ

(Psychomotor) ปฏบิ ตั ิกิจกรรม เรียน สนใจและความตั้งใจใน

แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรยี น การทำกจิ กรรมของ

และใบกิจกรรม นกั เรยี น อยใู่ นเกณฑ์

ระดับดี

ดา้ นคณุ ลักษณะ แตง่ กายถกู ระเบียบ สนใจใฝ่ แบบสังเกตความสนใจ ผลการทำแบบทดสอบ

(Affective) รู้ รบั ผิดชอบ กล้าแสดงออก และความต้ังใจในการทำ ก่อน/หลังเรียนไดร้ ้อย

นำเสนอผลงาน กจิ กรรมของนักเรยี น ละ 80 ข้นึ ไป

เกณฑ์การประเมนิ ใบงาน

รายการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. ปรมิ าณข้อมลู ปรมิ าณข้อมลู มี 4ดา้ น ขน้ึ ปริมาณข้อมูลมี 2-3 ปรมิ าณข้อมลู มีน้อย มี
ไป ดา้ น เพียง 1 ดา้ น

2. คุณภาพขอ้ มลู ขอ้ มูลมีหวั เรื่องหลกั หัว ข้อมูลมีหวั เรื่องหลักและ ข้อมลู มีเฉพาะหวั เรื่อง

เร่อื งรอง มรี ายละเอียด ใน หวั เร่ืองรองแต่ไม่ หลัก

หัวเรื่องรอง อย่าง เหมาะสม กับลาดับ

สมเหตุสมผล ความสาคญั

3. แบบแผนการคดิ มีการเชือ่ มโยงลำดบั จดั กลุ่มข้อมลู และ แผนทีค่ วามคดิ ไม่แสดง
(การเชือ่ มโยง) เหตกุ ารณเ์ ปน็ แสดง การเชื่อมโยง การเชื่อมโยง
เหตุเป็นผล และแสดง ภายในกลุม่ แต่ไม่ ระหวา่ งกล่มุ
ความสมั พนั ธ์ ทัง้ ระบบ เชือ่ มโยงทง้ั ระบบ

4. แบบแผนการคิด สาระที่เขียนส่วนใหญเ่ ปน็ สาระที่เขยี นมีรปู ธรรม สาระทเ่ี ขียนมแี ต่
(สาระ/เน้อื หา) นามธรรม องค์ความรู้ มากกวา่ นามธรรม และ รปู ธรรม ท่ีเป็น
หลักการดาเนินชีวติ ทด่ี ี แสดงวิสยั ทัศน์เร่อื งท่ีจะ พฤติกรรม และแสดง
และแสดงวิสยั ทัศนเ์ รื่องท่ี ทาในอนาคต 1 เรื่อง วสิ ัยทศั น์เร่อื งท่จี ะทา
จะทาในอนาคต2เร่อื ง ขน้ึ ใน อนาคต
ไป

5. ความคดิ สร้างสรรค์ รปู แบบ ทัง้ การออกแบบ รปู แบบ ทงั้ การ รปู แบบ ทงั้ การ
MindMap และเนอื้ หา ดู ออกแบบ MindMap ออกแบบ MindMap
น่าสนใจ รอ้ ยละ 75 ข้นึ และเนอื้ หา ดูไม่ค่อย และเน้ือหา ไม่นา่ สนใจ
ไป นา่ สนใจ (ไม่ถงึ ร้อยถะ เลย
75 )

6. ความรับผดิ ชอบ สง่ งานตรงเวลาทีค่ รูกา สง่ งานลา่ ช้า แต่มีเหตผุ ล สง่ งานล่าชา้ และไม่มี
หนด จาเปน็ เหตุผลจาเป็น

7. ความช่ือสัตย์ เขียนตามรูปแบบของ เขยี นตามรูปแบบของ ดัดลอกจากหนงั สือ/
ตนเอง ตนเอง หรือดัดแปลงจาก website ดดั แปลง
ต้นแบบ 75 % ขึน้ ไป บางสว่ น

แบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น

ชื่อวิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ี่ 2

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชวั่ โมง 4

ชือ่ เรอ่ื ง หลกั การงานปัน้ ประยุกต์ ชั่วโมงรวม 5 - 8

คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายการสร้างงานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ เร่ือง “ประติมากรรมสัตวใ์ นจินตนาการ”
(ประกอบดว้ ยหัวข้อใดบ้าง เชน่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีทา เคร่ืองมือและวิธกี ารสร้างสรรค์ ประโยชนข์ องหลกั การงาน
ประตมิ ากรรม และประเภทงานประตมิ ากรรมประยกุ ต์) โดยตกแตง่ เก็บรายละเอยี ดผลงานใหด้ ูนา่ สนใจ
1.ช่อื ผลงาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………
2.วัสดุทีใ่ ช้ทำ …………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ประเภทงานประติมากรรม ……………………………………………………………………………………………………………
4.อุปกรณ์และเครื่อง......................................................................................................................................
5.วิธกี ารสร้างสรรค์………………………………………………………………………………………………………………………....
6.ประโยชนข์ องการใช้หลักการและการวางแผนข้ันตอนการทำงาน ………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
คำชแ้ี จง แบบทดสอบเป็นแบบอตั นัย จำนวน 1 ข้อ
คำสงั่ จงออกแบบชน้ิ งานประติมากรรมประยุกต์ คนละ 1 ชิ้น โดยการนาหลักการประติมากรรมและนา
เสนอเทคนิควิธกี ารการสรา้ งสรรค์งานป้ันในรปู แบบเฉพาะตน พรอ้ มท้ังอธิบายเทคนิคและแนวความคดิ ใน
การสรา้ งสรรค์ผลงาน
แนวความคดิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 2
เร่อื ง หลักการและขัน้ ตอนการสร้างประตมิ ากรรมประยุกต์
จุดมงุ่ หมาย เพื่อให้นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั ความสาคญั ของหลกั การและขนั้ ตอนการสร้าง
ประตมิ ากรรมประยกุ ต์
จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1.หลักการและข้นั ตอนการสร้างประติมากรรมประยกุ ต์ มีความสาคญั อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.การออกแบบช้ินงานประติมากรรมประยุกต์ มีส่วนสาคัญในการกาหนดวิธกี ารสรา้ งสรรคง์ านอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.ขั้นตอนการป้ันงานประตมิ ากรรมแบบนนู สงู แตกต่างจากประตมิ ากรรมประยกุ ต์ อย่างไร สังเกตได้
อย่างไร………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.ประเภทของงานประตมิ ากรรมประยุกต์ มีอะไรบา้ ง แตล่ ะประเภทมีความแตกตา่ งกันอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.นกั เรียนสามารถนาหลกั การและข้นั ตอนการสร้างประตมิ ากรรมประยกุ ต์ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้
อยา่ งไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชือ่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ ใบความรู้ 2
รหัสวชิ า 20302-9004 4
ช่ือเรื่อง หลักการงานปนั้ ประยกุ ต์ สปั ดาห์ที่ 5-8
จำนวนช่ัวโมง
ชวั่ โมงรวม

ประตมิ ากรรม (Sculpture) เปน็ ผลงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการสร้างรปู ทรง 3 มติ ิ มีปริมาตร มี
นำ้ หนักและกนิ เน้ือท่ีในอากาศ โดยการใชว้ ัสดชุ นิดตา่ ง ๆ วัสดุท่ใี ชส้ รา้ งสรรค์งานประติมากรรม จะเป็น
ตวั กำหนด วธิ กี ารสร้างผลงาน ความงามของงานประติมากรรม เกิดจากการแสงและเงา ท่ี เกดิ ข้นึ ในผลงาน
การสร้างงานประตมิ ากรรมทำได้ 4 วิธี คือ
1. การป้ัน (Casting) เปน็ การสรา้ งรปู ทรง 3 มติ ิ จากวัสดุ ทีเหนียว ออ่ นตวั และยดึ จับตัว กันไดด้ ี วัสดทุ ่ี
นิยมนำมาใชป้ น้ั ได้แก่ ดินเหนยี ว ดินน้ำมัน ปูน แป้ง ขีผ้ ้ึง กระดาษ หรือ ขี้เลื่อยผสมกาว เป็นต้น
2. การแกะสลกั (Carving) เป็นการสรา้ งรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุท่ี แขง็ เปราะ โดยอาศัย เคร่อื งมือ วัสดทุ ่ี
นยิ มนำมาแกะ ได้แก่ ไม้ หิน กระจก แกว้ ปนู ปลาสเตอร์ เปน็ ตน้
3. การหลอ่ (Molding) เปน็ การสร้างรูปทราง 3 มติ ิ จากวสั ดุที่หลอมตวั ได้และกลบั แขง็ ตวั ได้ โดยอาศยั
แม่พิมพ์ ซ่ึงสามารถทำให้เกิดผลงานทเี่ หมอื นกันทุกประการตงั้ แต่ 2 ชิ้น ข้นึ ไป วัสดุทน่ี ิยมนำมาใช้หล่อ
ไดแ้ ก่ โลหะ ปูน แป้ง แกว้ ขี้ผงึ้ ดิน เรซนิ่ พลาสติก ฯลฯ รำมะนา (ชิต เหรยี ญประชา)
4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) เปน็ การสร้างรูปทรง 3 มิติ โดยนำวัสดตุ า่ ง ๆ มา ประกอบเข้า
ดว้ ยกนั และยึดติดกันด้วยวสั ดุตา่ ง ๆ การเลอื กวิธกี ารสร้างสรรคง์ านประติมากรรม ข้ึนอย่กู ับวัสดุทต่ี ้องการ
ใช้ ประตมิ ากรรม ไมว่ า่ จะสร้างข้ึนโดยวิธีใด จะมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ แบบนูนตำ่ แบบนูนสงู และแบบลอยตัว
ผ้สู ร้างสรรค์งานประตมิ ากรรม เรยี กว่าประติมากร
เป็นงานศลิ ปะทแี่ สดงออกดว้ ยการป้ัน แกะสลกั หล่อ และการจดั องคป์ ระกอบความงามอ่นื ลงบนสื่อตา่ งๆ
เชน่ ไม้ หนิ โลหะ สมั ฤทธิ์ ฯลฯ เพ่อื ให้เกิดรูปทรง 3 มติ ิ มคี วามลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสงิ่ ต่างๆ
สภาพสังคม วฒั นธรรม รวมถึงจติ ใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสรา้ งของประตมิ ากร ประติกรรมเปน็
แขนงหน่ึงของทัศนศลิ ป์ ผ้ทู ำงานประติมากรรม มักเรียกว่า ประติมากร
งานประตมิ ากรรมที่เก่ียวกับศาสนามกั สะกดใหแ้ ตกต่างออกไปว่า ปฏมิ ากรรม ผทู้ ่ีสรา้ งงานปฏมิ ากรรม
เรียกว่า ปฏิมากร
งานประติมากรรม แบ่งเปน็ 3 ประเภท ตามมติ ิของความลกึ ได้แก่
ประติมากรรมนูนตำ่
ประติมากรรมนูนสูง
ประตมิ ากรรมลอยตัว
นอกจากนยี้ ังมปี ระติมากรรมโมบาย ทีแ่ ขวนลอยและเคล่ือนไหวได้ และประติมากรรมตดิ ตง้ั ชว่ั คราว
กลางแจ้ง (Installation Art) ที่เรียกวา่ ศลิ ปะจดั วาง
1. ประติมากรรมลอยตวั ( Round - Relief ) ได้แก่ ประตมิ ากรรมที่ปั้น หลอ่ หรือแกะสลักข้นึ เปน็ รูปร่าง
ลอยตวั มองไดร้ อบดา้ น ไม่มีพ้ืนหลงั เชน่ รปู ประติมากรรมทเ่ี ปน็ อนุสาวรยี ์ประตมิ ากรรมรูปเหมือน และ
พระพุทธรปู ลอยตวั สมยั ตา่ ง ๆ ตลอดไปจนถงึ ประตมิ ากรรมสำหรับประดับตกแต่ง เป็นต้น ประติมากรรม
ประเภทลอยตวั ของไทยท่รี ู้จักกันดี คือ พระพทุ ธรูปสมัยตา่ ง ๆ โดยเฉพาะพระพุทธรปู สมยั สโุ ขทยั ซงึ่ ถือว่า
เป็นพระพุทธรูปคลาสิคของไทยนน้ั นบั เปน็ ประติมากรรมลอยตวั ทีส่ มบรู ณ์แบบที่สุดของไทย ประตมิ ากรรม

ประเภทนี้สรา้ งมากในสมัยปัจจุบัน คอื อนสุ าวรยี แ์ ละรูปเคารพหรือพระบรมรปู ของเจ้านายชน้ั สงู เชน่
อนุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เชงิ สะพานพทุ ธยอดฟา้ กรุงเทพ ฯ อนสุ าวรยี ์

พระเจา้ ตากสินมหาราช ทีว่ งเวียนใหญ่ กรุงเทพ ฯ อนุสาวรีย์พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทส่ี วน
ลมุ พินี กรุงเทพ ฯ อนุสาวรยี ์ในจงั หวดั ตา่ ง ๆ มากมายเปน็ ต้น

https://sites.google.com/site/klumsarakarreiynruwichasilpa/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-
1/pratimakrrm-sculpture

3.ประตมิ ากรรมประเภทนูนสงู ( High – Relief ) ไดแ้ ก่ ประตมิ ากรรมท่ีไมล่ อยตัว มพี ื้นหลงั ตัว

ประตมิ ากรรมจะยื่นออกมาจากพืน้ หลังค่อนขา้ งสูง แตม่ ีพื้นเป็นฉากหลังประกอบอยู่ ประตมิ ากรรม

ประเภทน้ีมักใช้ตกแต่งอาคารสถาปัตยกรรมพุทธศาสนาฐานอนุสาวรยี ์อาคารท่ัวไป เป็น

ประตมิ ากรรมทน่ี ิยมสรา้ งขึ้นเพือ่ ประดับตกแต่งอาคารสถาปัตยกรรมพุทธศาสนาแต่อดตี เชน่

ประติมากรรมตกแต่งกระวิหารวัดไลย์ อำเภอท่าวุง้ จังหวัดลพบุรี ซง่ึ เป็นประตมิ ากรรมปูนปัน้ แบบ

นนู สงู กล่าวกันว่าเปน็ ศลิ ปะสมัยอู่ทอง สรา้ งข้ึนราวพุทธศวตวรรษท่ี 17 โดยด้านหน้าวิหารปั้นเป็น

เรื่องปฐมสมโพธ์ิและทศชาติด้านหลังเป็นเร่อื งการแบ่งพระบรมสารีรกิ ธาตุ ประติมากรรมปนู ป้นั

พระพุทธรปู ปางลลี าที่วัดเจดียเ์ จด็ แถว อำเภอศรสี ัชนาลยั จงั หวดั สุโขทัย ประตมิ ากรรมปนู ป้นั ที่

วหิ ารทรงม้า วดั มหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราชและประตมิ ากรรมปูนปน้ั ประดบั เจดยี ์เจด็ ยอด วัด

เจดีย์เจ็ดยอดอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เปน็ ต้น ประติมากรรมประเภทนนู สูงทีใ่ ชส้ ำหรับตกแตง่ น้ี

ควรจะรวมถึง ประติมากรรมทเี่ ป็นลวดลายประดับตกแต่งด้วย เชน่ ประตมิ ากรรมปูนป้ันประดับ

กระจกหน้าบา้ น พระอุโบสถและวหิ ารต่าง ๆ ตลอดจนถึงการประดับตกแตง่ สถาปัตยกรรมใน

ปัจจุบนั เช่น ประติมากรรมที่ป้นั เปน็ เรื่องราวหรอื เปน็ ลวดลายประดับตกแต่งอาคาร ตกแตง่ ฐาน

อนุสาวรยี ์ ตกแต่งสะพาน และสิ่งก่อสร้างตา่ ง ๆ เปน็ ต้น

แสงหริ ญั ไดถ้ ่ายทอดความแกร่งกลา้ ของเดก็ ไทย
และชวี ิตความเปน็ อยู่ของคนไทยในอดตี ภาพป้ันสิงห์ ประติมากรรมนนู สงู
https://sites.google.com/site/klumsarakarreiynruwichasilpa/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-

1/pratimakrrm-sculpture

4.ประติมากรรมประเภทนนู ต่ำ ( Bas – Relief ) ไดแ้ ก่ งานประตมิ ากรรมท่ีมีลักษณะคลา้ ยคลึงกับ
ประติมากรรมประเภทนูนสงู แตจ่ ะแบนหรือบางกว่าประติมากรรมประเภทน้ี ไม่ปรากฏมากนักใน
อดตี ซ่งึ มักจะได้แก่ ประตมิ ากรรมที่เปน็ ลวดลายประดบั ตกแตง่ เชน่ แกะสลกั ดว้ ยไม้ หนิ ปนู ปน้ั
เป็นตน้ ในปัจจุบันมที ำกนั มากเพราะใช้เปน็ งานประดับตกแต่งไดด้ ี ซง่ึ อาจจะปั้นเปน็ เรื่องราวท่ี
เกยี่ วกบั ประวัติศาสตร์ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของสถาปัตยกรรมท่นี ำประติมากรรมนนั้ ไปประกอบ
นอกจากนี้ ประตมิ ากรรมประเภทน้ยี ังใชไ้ ด้ดีในการปัน้ เหรียญชนดิ ตา่ ง ๆ รวมถงึ การป้ันเคร่ืองหมาย
ตรา เครอื่ งหมายตา่ ง ๆ กนั อย่างแพรห่ ลาย

รปู ปัน้ ศาสตราจารยศ์ ิลป์ พีระศรี ผลงานประติมากรรมนนู ตำ่
ของบุญพาต ฆังคะมะโน

https://sites.google.com/site/klumsarakarreiynruwichasilpa/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-
1/pratimakrrm-sculpture

ประตมิ ากรรมทีม่ ีลักษณะสูงต่ำทั้ง 3 ประเภท มีความสำคญั และการนำไปใช้เพ่ือความเหมาะสมต่างๆ กนั
ซ่งึ พอประมวลไดด้ งั ต่อไปน้ี
1. เพือ่ เปน็ การจำลองคนท่เี ราเคารพนับถือให้มรี ูปแบบหลงเหลือเพื่อเตือนใหร้ ะลึกถงึ หรอื เพ่ือเคารพบชู า
2. เพอื่ เปน็ การบันทึกเหตุการณท์ เี่ กิดขึ้นในสังคมใหเ้ ป็นรูปทรงปรากฎเปน็ หลกั ฐานทางด้านประวตั ิศาสตร์
3. เพอ่ื เปน็ การปลุกเร้าใหผ้ ู้พบเห็นตระหนักในความสำคัญของการอยู่ร่วมกนั ความสามคั คี และความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยของสงั คม
4. เพอ่ื เปน็ การแสดงเอกลักษณท์ างวฒั นธรรมของสังคมนั้นๆ
ประตมิ ากรรมนน้ั หากผู้สร้างตอ้ งการจะเพิม่ จำนวนปริมาณตามความตอ้ งการของสังคม เขากม็ ักจะใช้วธิ ี
หลอ่ โดยสรา้ งรปู ที่ต้องการน้นั ให้เปน็ แม่พิมพ์ หรือรปู แม่แบบเสียกอ่ นแลว้ จึงทำพิมพ์จากรปู แมแ่ บบนนั้ เพ่ือ
หล่อตอ่ ไป การหล่อมีวธิ ีทำพิมพ์ 2 วธิ ี คือ

1. การทำพิมพท์ ุบ พิมพ์ทุบเป็นแม่พิมพช์ ่ัวคราว เม่อื สร้างขึน้ มาแล้ว สามารถใช้หลอ่ ได้ เพียงรปู
เดยี วเท่าน้นั เพราะเมื่อจะนำแม่พิมพ์ออก หลังจากทำการหล่อรปู แล้วนัน้ ต้องทำการสกัดแม่พิมพ์ใหแ้ ตก
ออก เหลอื เฉพาะส่วนทีเ่ ปน็ รูปหล่อเทา่ นั้น แมพ่ ิมพท์ ุบน้ีใชส้ ำหรับการหลอ่ งานป้นั ทท่ี ำด้วยวัสดอุ อ่ น เชน่ ดนิ
เหนียว ดินน้ำมนั ขีผ้ ง้ึ เท่านัน้

2. การทำพิมพช์ ้ิน ใช้สำหรบั การหลอ่ งานปน้ั ที่มีลกั ษณะรูปนนู ทม่ี แี งม่ มุ โค้งเวา้ มาก หรือรปู ท่ี
ต้องการหล่อออกมาเหมือนรูปตน้ แบบหลายๆ รูป การทำพมิ พช์ ้นิ ไมน่ ิยมทำจากรปู ตน้ แบบทเี่ ป็นดนิ เหนยี ว
ดนิ นำ้ มัน หรอื ขีผ้ ึ้ง แต่นยิ มทำจากรปู ต้นแบบท่ีมีเนื้อวสั ดุแขง็ ดังนนั้ ถ้าจะทำแม่พิมพ์ชนิ้ ควรหลอ่ รูปจาก
แมพ่ ิมพ์ทุบเสียก่อน เม่ือได้รูปแบบเป็นวสั ดุทต่ี อ้ งการแล้วจงึ แบง่ พิมพเ์ ป็นชั้น การแบ่งพมิ พ์ประติมากรจะร้วู า่
ส่วนไหนย่นื โปนออกมา กจ็ ะต้องแบ่งหลายชิ้น หากมีแง่มุมท่ีถอดพิมพ์ยากกจ็ ะแบ่งหลายๆ ชนิ้ และควรถอด

พมิ พ์ตามลำดบั กอ่ นหลงั มิฉะน้ันส่วนยน่ื โปนออกมาจะชำรุดได้
สรปุ ไดว้ า่ ประตมิ ากรรมเป็นผลงานรปู ทรงที่มนุษย์สรา้ งข้นึ มลี ักษณะ 3 มติ ิ โดย มกี ระบวนการทำ

3 ประการ คือ การเพม่ิ การสลกั ออก และการผสมทั้งเพิม่ และสลัก รูปแบบของประติมากรรมท่เี กิดจาก
กระบวนการเหลา่ นี้มี 3 แบบเช่นกัน คือรูปแบบลอยตวั รูปแบบนูนสงู และรูปแบบนูนต่ำ รปู แบบทง้ั หลายน้ี
ศิลปนิ จะเลอื กทำตามความเหมาะสมและประโยชนใ์ ชส้ อยที่ตนและสังคมต้องการ

ประตมิ ากรรมก่ึงนามธรรมถ่ายทอดชีวติ
พอ่ แม่ลูก ผลงานของเฮนร่ี มัวร์

งานประติมากรรมแบบนามธรรม ผลงานของ
มอน มัดจแิ มน ประติมากรชาวอนิ โดนเิ ซยี ในงานแสดงประตมิ ากรรมอาเซียน
https://sites.google.com/site/klumsarakarreiynruwichasilpa/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-

1/pratimakrrm-sculpture

ชือ่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ ใบมอบหมายงาน 2
รหัสวชิ า 20302-9004 สปั ดาหท์ ่ี 4
ช่อื เร่อื ง หลกั การงานปั้นประยกุ ต์ จำนวนช่วั โมง 5-8
ช่ัวโมงรวม

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นอธิบายการสรา้ งงานประติมากรรมประยุกต์ เร่ือง “ประติมากรรมสัตวใ์ นจนิ ตนาการ”
(ประกอบด้วยหัวข้อใดบ้าง เช่น วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีทำ เคร่ืองมือและวธิ ีการสรา้ งสรรค์ ประโยชน์ของหลกั การงาน
ประติมากรรม และประเภทงานประติมากรรมประยุกต์) โดยตกแต่งเกบ็ รายละเอียดผลงานใหด้ นู ่าสนใจ

จดุ ประสงค์ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ
1.อธิบายหลกั การงานประติมากรรมพน้ื ฐานได้
2.ปฏิบตั งิ านตามข้ันตอนวิธกี ารงานประตมิ ากรรมพื้นฐานได้
3.อธิบายความหมายของประเภทงานประติมากรรมพน้ื ฐานได้
4.อธบิ ายหลกั การใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ โดยยึดหลักการงานประตมิ ากรรมประยุกต์ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
5.อธบิ ายและแยกแยะประเภทของงานประติมากรรมพืน้ ฐานได้

วัสดอุ ุปกรณ์
4.ดนิ กระดาษ
5.เครือ่ งมอื ปัน้
6.สีอะครลิ ิค
7.น้ำยาเคลอื บดนิ ป้นั

ลำดับขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน
3.เตรียมอุปกรณ์
4.ทำงานตามขน้ั ตอน เพ่ือดำเนินงานในข้ันตอนต่อไป/รักษาและดูแลวสั ดุอปุ กรณ์

การวัดผลประเมนิ ผล
3.อธบิ ายหลกั การงานประติมากรรมประยุกต์
4.อธบิ ายและแยกแยะประเภทของงานประติมากรรม

คุณธรรมจริยธรรมทีค่ วรเนน้
6.ความมีวนิ ยั
7.ความรบั ผิดชอบ
8.ความสนใจใฝ่รู้
9.ความสะอาด
10.ความซ่อื สตั ย์

ลงชือ่ ........................................................
(นางสาวรัชนก แสนพลเมอื ง)
ครูประจำวชิ า

ช่ือวิชา ประติมากรรมประยุกต์ ใบประเมนิ ผลการเรยี น 2
รหสั วิชา 20302-9004 สปั ดาห์ท่ี 4
ช่ือเรื่อง หลกั การงานป้ันประยกุ ต์ จำนวนชว่ั โมง 5-8
ช่ัวโมงรวม

แบบประเมนิ ผลการเรยี นและคณุ ธรรมของนกั เรียน
คำช้ีแจง ให้นักเรยี นขดี เครื่องหมายถูก / ในช่องระดับผลการเรียนเพื่อประเมนิ ผลการเรียนของตน

เกณฑ์การตัดสิน หมายถงึ ผลการเรียนดีมาก
4 คะแนน หมายถงึ ผลการเรยี นดี
3 คะแนน หมายถึง ผลการเรียนพอใช้
2 คะแนน หมายถึง ผลการเรียนต้องปรับปรุง
1 คะแนน

เกณฑก์ ารประเมิน หมายถึง ระดบั ความรู้ดมี าก
18 -20 คะแนน หมายถงึ ระดบั ความร้ดู ี
15 -17 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรูพ้ อใช้
10 – 14 คะแนน หมายถงึ ระดับความรตู้ ้องได้รับการสอนซ่อมเสรมิ
ตำ่ กว่า 10 คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั ผลการเรียน หมายเหตุ
432 1

1 ปริมาณข้อมูล
2 คณุ ภาพข้อมลู
3 แบบแผนการคิด (การเชื่อมโยง)
4 แบบแผนการคิด (สาระ/เนื้อหา)
5 ความคิดสร้างสรรค์
6 ความรับผิดชอบ
7 ความชื่อสัตย์

รวมคะแนน

บนั ทกึ หลังการสอน

แผนจดั การเรยี นรมู้ ุง่ เนน้ สมรรถนะอาชพี และบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ชื่อวิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ่ี 2

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 4

ชอ่ื เรอ่ื ง หลกั การงานปั้นประยุกต์ ชัว่ โมงรวม 5 - 8

1. สรปุ ผลการใช้แผนการสอน คน
1.1 รายละเอยี ดการสอน จำนวนนกั ศกึ ษาทง้ั สน้ิ

หวั ข้อเนอื้ หาท่ีสอน เข้าใจ/ปฏบิ ตั ิ (คน ) ไม่เขา้ ใจ ( คน )
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

1. วธิ กี ารเตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์

2. ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน

3. การประเมนิ คุณคา่

1.2 ผลการจดั กิจกรรมบรู ณาการหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง จำนวนนกั ศึกษาท้ังสน้ิ คน

ความรู้/กจิ กรรมที่บรู ณาการประจำหน่วย เขา้ ใจ/ปฏิบัติ (คน )
จำนวน ร้อยละ

1. รูจ้ ักและสามารถเลือกวสั ดอุ ุปกรณ์ทเ่ี หมาะสม

2. สามารถทำงานไดต้ ามขั้นตอน

3. สามารถคดิ และคำนวนและประเมินช้ินงานได้

1.3 ปญั หาและอุปสรรคในการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2………………………………………………………………………..…………………………………………………………………..
3…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

1.4 ปญั หาด้านการใชส้ อื่ การเรียนการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

2. ปัญหาการเรียนของนกั เรียน/นักศกึ ษา:
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

ขอ้ ควรปรับปรงุ :
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

ชือ่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาหท์ ่ี 3-7
20
รหสั วิชา 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 9 - 28

ชื่อเรื่อง เทคนิคและวิธีการป้ันงานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ ชว่ั โมงรวม

สาระสำคญั
เทคนิคและวิธีการป้ันประติมากรรมประยุกต์ เป็นข้ันตอนของการสร้างสรรค์งานประติมากรรมทุก

ประเภทและเป็นการนาพื้นฐานประติมากรรมท่ัวไป รวมถึงขั้นตอนการสร้างงานมาประยุกต์ใหม่ด้วยวัสดุ
เทคนิคการสรา้ งสรรคง์ านให้มีประสทิ ธิภาพ ความสมบูรณ์และและเทคนิควิธีการตา่ งๆ ตามที่ผู้สร้างต้องการ
ให้มีลกั ษณะที่น่าสนใจ โดยใชห้ ลักงานประติมากรรม หลกั การขึ้นโครงสร้าง ทฤษฎงี านประติมากรรม รวมไป
ถงึ การเข้าใจวธิ ีการใชว้ สั ดุอุปกรณ์ในแต่ละชนิดประเภท ทนี่ ามาสร้างสรรค์งาน เพ่อื ใหผ้ ลงานที่สรา้ งออกมามี
ความสมบูรณ์มากที่สุด ผู้สร้างสรรค์ต้องเข้าใจหลักองค์ประกอบศิลป์ หลักงานประติมากรรม และเรียนรู้
วธิ ีการการปฏิบตั งิ านรปู แบบตา่ งๆ เพ่อื นาประยุกต์กับงานปนั้ เปน็ ตน้

จุดประสงค์การเรยี นรู้
- จุดประสงค์ทั่วไป
นักเรียนมีความรแู้ ละสามารถอธิบายเทคนคิ วธิ ีการและการปฏิบัติงานประติมากรรมประยุกต์ ได้
- จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
6.อธิบายกระบวนการสร้างสรรค์งานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ได้
7.ปฏบิ ตั งิ านตามทฤษฎกี ารปนั้ ประติมากรรมประยกุ ต์ได้
8.อธบิ ายความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับเทคนิควิธกี ารสร้างชิ้นงานได้
9.ปฏิบัติงานตามเทคนคิ วธิ ีการการสรา้ งสรรค์ในงานประติมากรรมประยุกต์ได้
10.อธิบายวิธกี ารใช้วสั ดอุ ุปกรณใ์ นงานประติมากรรมประยุกต์ ท่หี ลากหลายได้

สมรรถนะประจำหน่วย
นกั เรียนเขา้ ใจเทคนคิ วธิ กี ารและการปฏิบตั งิ านประติมากรรมประยุกต์ ตามโครงสรา้ งในหลักงาน

ประติมากรรมทีถ่ ูกตอ้ ง เพอ่ื ให้ผลงานปน้ั มคี วามเหมือนจรงิ สวยงาม และสร้างช้ินงานออกมาไดจ้ ริง

สาระการเรียนรู้

การใช้เทคนิคและวิธีการป้ันประติมากรรมประยุกต์ประเภทวัสดุในงานป้ัน มีวัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง
แนวทางเทคนิควธิ ีการสร้างงานประติมากรรมประยกุ ต์ มีวิธใี ดบ้างความสาคัญของการใช้เทคนคิ วธิ กี ารในการ
ปั้น มคี วามสาคัญอยา่ งไรการใช้เทคนคิ วิธีการป้ันในงานประติมากรรมประยุกต์

เอกสารอา้ งอิง

มยั ตะตยิ ะ.ประตมิ ากรรมภาคปฏิบัต.ิ _ปทุมธานี:สิปประภาจำกดั ,2549

นวลนอ้ ย บุญวงษ์. (2542). หลักการออกแบบ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรงุ เทพ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

นิรชั สดุ สงั ข.์ (2548). การออกแบบผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม. กรุงเทพ: ไอเดียนสโตร.์

ประเสรฐิ ศิลรัตนา. (2531). ของที่ระลกึ . กรุงเทพ: ไอเดียนสโตร์.

กระบวนการจัดการเรยี นรู้

ขน้ั ตอนที่ 1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน

1. ครชู แ้ี นะแนวทางและบอกวัตถุประสงค์ของการเรยี นรู้หน่วยที่ 2 สัปดาห์ที่ 3-7

2. ครทู บทวนความรู้เดิมของนักเรียนท่ีไดเ้ รียนไปในชว่ั โมงท่ผี า่ นมา โดยให้นกั เรียนตอบคาถามว่า การ
ป้นั ประตมิ ากรรมประยกุ ต์ มกี ระบวนการอย่างไร ใหป้ ระโยชนแ์ ก่ผปู้ นั้ อย่างไร

3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการป้ันด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ตามหลักการ
ปฏิบัตงิ านประตมิ ากรรม

4. ครูแนะนาวิธีการเรียนรู้และการเข้ากิจกรรมร่วมกัน โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู้ก่อนเรียน
จากหนังสอื หรือ เวป็ ไซต์

ขน้ั ตอนที่ 2 ขน้ั ดำเนินการสอน

13.แจกเอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 2 เร่ือง “เทคนิคและวิธีการป้ันงานประติมากรรมพื้นฐาน”
ครูให้นักเรียนระดมความคิดว่า เทคนิควิธีการการปฏิบัติงานประติมากรรมประยุกต์ สามารถทาได้
ด้วยวิธีการใดได้บ้าง จากน้ันครูจึงสรุปวิธีการและการปฏิบัติงานประติมากรรมประยุกต์ ในรูปแบบ
เทคนิคเฉพาะตน ที่มีความสาคัญต่อผลงานที่แสดงออกมาในรูปแบบที่ไม่เหมือนใคร การสร้างสรรค์
ผลงาน และมีความสาคัญตอ่ อารมณ์ความรู้สกึ ความหมายของผลงาน เป็นต้น

14.ครูเปิดสื่อการสอนเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการปั้นประติมากรรมประยุกต์ ให้นักเรียนดู พร้อมกับ
อธิบายถึงความสาคัญของเทคนิค วิธีการและกระบวนการป้ันงานประติมากรรม รวมถึงแนะนา
ผลงานที่มีโครงสร้าง สัดส่วน การจัดองค์ประกอบของภาพ และใช้เทคนิควิธีการปั้นได้อย่างสมบูรณ์
มาเป็นหลกั ในการทางาน เปน็ ต้น

15.จากนั้นครูตั้งคาถามว่า “เทคนิคและวิธีการป้ันงานประติมากรรมพื้นฐาน มีความสาคัญและให้
ประโยชน์แก่ผ้ปู ั้นอย่างไรบา้ ง” เพื่อให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิด จากนั้นครูจงึ สรุปวัตถุประสงค์
เก่ียวกับเทคนิคและวิธีการป้ันประติมากรรมประยุกต์ และประโยชน์ท่ีได้จากการใช้วัสดุ เทคนิค
สรา้ งสรรค์ใหมๆ่

16.ครูให้นักเรียนดูรูปแบบของลักษณะผลงานท่ีผ่านกระบวนการสร้างสรรค์งานเทคนิคและวิธีการป้ัน
ตามหลักประติมากรรมประยุกต์ เพ่ือให้ชิ้นงานมีความสมบูรณ์ พร้อมกับอธิบายลักษณะสาคัญของ
แตล่ ะเทคนิค วิธกี าร

17.จากน้ันครอู ธบิ ายประเภทของวสั ดอุ ุปกรณ์ และเคร่ืองมือท่ีใช้ปั้นตามวิธกี ารเฉเพาะตน หลักการวาด
เทคนิควิธีการ การปฏิบตั ิงานใหน้ ักเรียนฟงั ว่ามีอะไรบ้าง

ขัน้ ตอนท่ี 3 ข้นั สรปุ

9. ครูให้นักเรียนสร้างสรรคง์ านโดยใช้เคร่ืองมือ ตาม“เทคนิคและวิธกี ารปนั้ ประติมากรรมประยุกต์ เช่น
ดินเหนียว ขี้เรื่อย เคร่ืองมือป้ันตัวขูด ปากตัด ตัวปาด เพ่ือให้งานมีความสมบูรณ์ สวยงาม” ลง

กระดานรองปั้นแล้วจดั แสดงผลงานในโตะ๊ แสดงผลงาน หนา้ ห้องเรียน

10.ครูให้นักเรียนตอบอธิบายว่า “เทคนิคและวิธีการปั้นประติมากรรมประยุกต์ มีวิธีการอย่างไร มี
ประโยชน์อย่างไร และสามารถช่วยในงานประติมากรรมประยุกต์ ได้อย่างไร” จากน้ันนักเรียน
รว่ มกันตอบคาถาม

11.ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “เทคนิคและวิธีการป้ันประติมากรรมประยุกต์ มีความสาคัญอย่างไร
บา้ ง” จากน้นั นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม

12.ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “เทคนิคและวิธีการปั้นประติมากรรมประยุกต์ ท่ีดีควรคานึงถึงหลัก
ใดบา้ ง” จากนัน้ นักเรยี นร่วมกันตอบคาถาม

สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
- สอื่ การเรยี นรู้
7.เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 2 เรื่อง สัปดาห์ที่ 3-7 เร่ือง เทคนิคและวิธีการปั้น
ประตมิ ากรรมประยุกต์
8.ส่ือการเรียนการสอน หน่วยท่ี 2
9.ใบกิจกรรม เรอ่ื ง “เทคนิคและวิธีการปน้ั ประติมากรรมประยุกต์”
- แหล่งการเรยี นรู้
3.YouTube รัชนกชาแนล : หอ้ งเรยี นครูนก

กิจกรรมเสนอแนะ / งานที่มอบหมาย
ก่อนเรียน

3.จัดเตรียมเอกสาร สอ่ื การเรยี นการสอนทีค่ รผู ู้สอนและบทเรียนทก่ี ำหนดไว้
ขณะเรียน

2.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบกิจกรรม เรื่อง “หลักการและข้ันตอนการสร้างประติมากรรมประยุกต์”
พรอ้ มเดินสงั เกต และให้คาแนะนากบั นักเรียน

หลังเรยี น
3.นักเรียนเก็บทำความสะอาด โต๊ะ เก้าอ้ี พื้นห้องเรียน กระดานดำให้สะอาดเรียบร้อยและปิดไฟฟ้าพัด
ลมให้เรยี บร้อยกอ่ นออกจากหอ้ งเรยี น

การวัดประเมนิ ผล
5.วธิ วี ดั ผลและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน
1.2 ประเมนิ จากผลงานการปฏิบตั ิกจิ กรรม แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรยี น และใบกจิ กรรม
1.3 สงั เกตความสนใจและความต้ังใจในการทำกิจกรรมของนักเรยี น
2. เครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมินผลช้ินงาน
2.2 แบบทดสอบก่อน/หลังเรียน
2.3 แบบสงั เกตความสนใจและความตง้ั ใจในการทำกิจกรรมของนักเรยี น
3. เกณ์การวดั และประเมินผล

3.1 ผลการประเมนิ แบบประเมนิ ผลชนิ้ งาน อยู่ในเกณ์ระดับดี ขึน้ ไป
3.2 ผลการสังเกตความสนใจและความต้ังใจในการทำกิจกรรมของนักเรียน อยูใ่ นเกณฑร์ ะดบั ดี
3.3 ผลการทำแบบทดสอบก่อน/หลงั เรยี นไดร้ ้อยละ 80 ขึน้ ไป

การวดั ผลและการประเมินผล

สิง่ ทีต่ ้องการวดั วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารวดั
ดา้ นความรู้ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบประเมินผลชนิ้ งาน
(Cognitive) ผลการประเมนิ แบบ
ประเมนิ จากผลงานการ แบบทดสอบก่อน/หลงั ประเมินผลชิน้ งาน อยู่
ด้านทกั ษะ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม เรียน ในเกณ์ระดบั ดี ขึ้นไป
(Psychomotor) แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน
และใบกิจกรรม ผลการสังเกตความ
ด้านคณุ ลกั ษณะ สนใจและความต้ังใจใน
(Affective) แต่งกายถูกระเบียบ สนใจใฝ่ แบบสังเกตความสนใจ การทำกิจกรรมของ
นักเรียน อยใู่ นเกณฑ์
รู้ รบั ผดิ ชอบ กลา้ แสดงออก และความต้ังใจในการทำ ระดบั ดี

นำเสนอผลงาน กิจกรรมของนักเรยี น ผลการทำแบบทดสอบ
ก่อน/หลังเรยี นไดร้ อ้ ย
ละ 80 ขนึ้ ไป

เกณฑ์การประเมนิ ใบงาน

รายการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. ปรมิ าณข้อมลู ปรมิ าณข้อมลู มี 4ดา้ น ขน้ึ ปริมาณข้อมูลมี 2-3 ปรมิ าณข้อมูลมีน้อย มี
ไป ดา้ น เพยี ง 1 ดา้ น

2. คณุ ภาพข้อมลู ขอ้ มลู มีหวั เรื่องหลกั หัว ข้อมูลมีหวั เรื่องหลักและ ข้อมลู มีเฉพาะหวั เรื่อง
เร่อื งรอง มรี ายละเอียด ใน หวั เรอื่ งรองแต่ไม่ หลัก
หวั เรือ่ งรอง อย่าง เหมาะสม กับลาดับ
สมเหตุสมผล ความสาคญั

3. แบบแผนการคดิ มกี ารเชือ่ มโยงลำดบั จดั กลุ่มข้อมลู และ แผนทีค่ วามคดิ ไม่แสดง
(การเชือ่ มโยง) เหตกุ ารณเ์ ปน็ แสดง การเชอ่ื มโยง การเชื่อมโยง
เหตุเป็นผล และแสดง ภายในกลุ่ม แต่ไม่ ระหวา่ งกลุ่ม
ความสมั พนั ธ์ ทัง้ ระบบ เชือ่ มโยงทั้งระบบ

4. แบบแผนการคิด สาระที่เขียนส่วนใหญเ่ ปน็ สาระท่เี ขียนมรี ปู ธรรม สาระท่ีเขียนมีแต่
(สาระ/เน้ือหา) นามธรรม องค์ความรู้ มากกว่านามธรรม และ รปู ธรรม ท่ีเป็น
หลักการดาเนินชีวติ ทด่ี ี แสดงวสิ ยั ทศั น์เร่อื งท่ีจะ พฤติกรรม และแสดง
และแสดงวิสัยทัศนเ์ รื่องท่ี ทาในอนาคต 1 เรื่อง วสิ ัยทศั นเ์ รอ่ื งท่จี ะทา
จะทาในอนาคต2เร่อื ง ขน้ึ ใน อนาคต
ไป

5. ความคดิ สร้างสรรค์ รูปแบบ ทัง้ การออกแบบ รปู แบบ ทั้ง การ รปู แบบ ท้งั การ
MindMap และเนอื้ หา ดู ออกแบบ MindMap ออกแบบ MindMap
น่าสนใจ รอ้ ยละ 75 ข้นึ และเนือ้ หา ดูไม่ค่อย และเนอื้ หา ไมน่ ่าสนใจ
ไป นา่ สนใจ (ไม่ถงึ ร้อยถะ เลย
75 )

6. ความรับผดิ ชอบ ส่งงานตรงเวลาที่ครูกา สง่ งานล่าชา้ แต่มีเหตผุ ล สง่ งานล่าชา้ และไม่มี
หนด จาเป็น เหตผุ ลจาเป็น

7. ความช่อื สัตย์ เขยี นตามรูปแบบของ เขยี นตามรปู แบบของ ดัดลอกจากหนังสือ/
ตนเอง ตนเอง หรอื ดัดแปลงจาก website ดัดแปลง
ต้นแบบ 75 % ขึน้ ไป บางสว่ น

แบบทดสอบก่อน หลังเรยี น

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ที่ 3-7
20
รหสั วชิ า 20302-9004 จำนวนช่วั โมง 9 - 28

ชือ่ เรือ่ ง เทคนคิ และวิธีการป้ันงานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ ช่วั โมงรวม

คำช้ีแจง ให้นักเรียนสาธิตการใช้งานวัสดุอุปกรณ์ ด้วยเทคนิควิธีการป้ันดังต่อไปน้ี (ประติมากรรมนูนต่า
ประติมากรรมนูนสงู ประติมากรรมลอยตัว) โดยตกแต่งรายละเอยี ดใหด้ ูสวยงาม น่าสนใจ

คำช้ีแจง แบบทดสอบเปน็ แบบอัตนยั จานวน 1 ขอ้
คำสง่ั จงสรา้ งสรรค์งานประติมากรรมลอยตัวสาคัญ แลว้ นามาปัน้ ดว้ ยเทคนิควิธกี ารเฉพาะตน พร้อมทั้ง
อธิบายเทคนิควิธีการและการปฏบิ ตั งิ านการสร้างสรรค์ผลงาน โดยยึดหลักประติมากรรม
แนวความคิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5
เรือ่ ง เทคนิคและวิธกี ารปนั้ ประติมากรรมประยุกต์
จุดมงุ่ หมาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับเทคนิคและวธิ ีการปนั้ ประติมากรรมประยกุ ต์
จงตอบคาถามต่อไปนี้

1.เทคนิคและวิธีการป้ันประติมากรรมประยุกต์ มีความสาคัญอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2.การใช้เทคนิคและวธิ กี ารปัน้ ประติมากรรมประยุกต์ ในรูปแบบตา่ งๆ มไี วเ้ พอ่ื วตั ถุประสงค์ใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3.เทคนคิ และวิธีการป้ันประตมิ ากรรมประยุกต์ มีประโยชน์อย่างไรในการสรา้ งสรรคง์ านประติมากรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.เทคนคิ และวิธกี ารปัน้ มีส่วนชว่ ยในทฤษฎีงานประติมากรรมประยุกต์ อย่างไร ประกอบดว้ ย
รายละเอียดของเทคนิคอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

5.นกั เรยี นสามารถนาเทคนิคและวิธกี ารป้ันประติมากรรมประยกุ ต์ ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรู้ สปั ดาหท์ ่ี 3-7
ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ จำนวนชัว่ โมง 20
รหัสวิชา 20302-9004 ชั่วโมงรวม 9 - 28
ชื่อเรอ่ื ง เทคนิคและวิธีการปั้นงานประติมากรรมประยกุ ต์

ภาพนนู ตำ่

หมายถึง รปู ท่ีนูนขึน้ จากพน้ื หรอื มพี นื้ หลังรองรบั มองเห็นไดช้ ดั เจนเพยี งด้านเดยี ว คอื ด้านหนา้ มีความสงู
จากพืน้ ไม่ถึงคร่ึงหนง่ึ ของรูป

ข้ันตอนการปัน้ แบบนูนต่ำ

1. ออกแบบภาพท่ตี ้องการป้ัน แลว้ ร่างภาพที่คิดออกแบบไว้ลงบนกระดาษ โดยกำหนดขนาดของภาพท่ีร่าง
ให้มคี วามเหมาะสมกบั ช้นิ งานทีต่ อ้ งการ

2. นำดินเหนยี ว หรือดินนำ้ มันพอกทำเป็นพ้ืนลงบนแผน่ ไม้ท่ีเตรยี มไว้ ให้ดนิ ที่พอกมีความหนาประมาณ 1
เซนตเิ มตร แตง่ หนา้ ดนิ ให้เรียน

3. นำภาพท่ีออกแบบไวไ้ ปรา่ งดว้ ยเคร่ืองมอื ปนั้ ปลายแหลมลงบนดนิ ทเ่ี ตียมไว้

4. นำดินเหนยี วหรือดินนำ้ มนั ทน่ี วดเรยี บร้อยแล้ว พอกลงบนแบบที่ร่างไว้ ตามรูปร่าง และขนาดของชนิ้ งาน
แล้วแตง่ เตมิ ให้ได้รูปทรงตามแบบท่ีตอ้ งการ

5. ตรวจสอบความสมบูรณข์ องชนิ้ งาน ถา้ พบข้อบกพร่อง กป็ รับปรงุ แก้ไขใหส้ มบรู ณ์

ใบมอบหมายงาน

ชื่อวิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาห์ท่ี 3-7
20
รหสั วิชา 20302-9004 จำนวนช่วั โมง 9 - 28

ชอื่ เรอ่ื ง เทคนคิ และวิธีการป้ันงานประตมิ ากรรมประยุกต์ ชว่ั โมงรวม

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นสาธติ การใช้งานวัสดุอปุ กรณ์ ดว้ ยเทคนคิ วิธกี ารปนั้ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ประตมิ ากรรมนนู ต่า
ประตมิ ากรรมนูนสูง ประติมากรรมลอยตัว) โดยตกแตง่ รายละเอียดให้ดูสวยงาม น่าสนใจ
คำส่ัง จงสรา้ งสรรค์งานประติมากรรมลอยตัวสาคัญ แลว้ นามาปั้นดว้ ยเทคนิควธิ กี ารเฉพาะตน พรอ้ มทั้ง
อธบิ ายเทคนิควิธกี ารและการปฏบิ ัตงิ านการสรา้ งสรรค์ผลงาน โดยยดึ หลักประตมิ ากรรม

จดุ ประสงค์ เพ่ือใหน้ ักเรยี นสามารถ
1.อธบิ ายกระบวนการสรา้ งสรรคง์ านประติมากรรมประยุกต์ได้
2.ปฏิบตั งิ านตามทฤษฎกี ารปนั้ ประติมากรรมประยกุ ต์ได้
3.อธบิ ายความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั เทคนิควิธกี ารสรา้ งช้ินงานได้
4.ปฏบิ ตั งิ านตามเทคนคิ วิธกี ารการสร้างสรรคใ์ นงานประตมิ ากรรมประยุกต์ได้
5.อธบิ ายวธิ กี ารใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ในงานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ ท่หี ลากหลายได้

วสั ดุอุปกรณ์
8.ดนิ กระดาษ
9.เคร่ืองมอื ปั้น
10.สอี ะครลิ ิค
11.นำ้ ยาเคลอื บดินป้ัน

ลำดับข้นั ตอนการปฏิบัติงาน
5.เตรียมอปุ กรณ์
6.ทำงานตามข้นั ตอน เพื่อดำเนินงานในข้ันตอนต่อไป/รักษาและดูแลวัสดอุ ุปกรณ์

การวดั ผลประเมนิ ผล
5.อธิบายหลักการงานประติมากรรมประยุกต์
6.อธิบายและแยกแยะประเภทของงานประติมากรรม

คุณธรรมจริยธรรมทคี่ วรเน้น
11.ความมวี ินัย
12.ความรับผดิ ชอบ
13.ความสนใจใฝ่รู้
14.ความสะอาด
15.ความซ่อื สัตย์

ลงช่อื ........................................................
(นางสาวรชั นก แสนพลเมอื ง)
ครูประจำวิชา

ใบประเมนิ ผลการเรียน

ชอ่ื วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาหท์ ่ี 3 - 7

รหัสวชิ า 20302-9004 จำนวนชัว่ โมง 20

ชอ่ื เรื่อง เทคนิคและวิธีการป้ันงานประติมากรรมประยกุ ต์ ชั่วโมงรวม 9 - 28

แบบประเมินผลการเรียนและคณุ ธรรมของนักเรียน
คำช้ีแจง ให้นักเรียนขดี เคร่ืองหมายถกู / ในช่องระดบั ผลการเรยี นเพอื่ ประเมินผลการเรยี นของตน

เกณฑ์การตัดสิน หมายถงึ ผลการเรียนดีมาก
4 คะแนน หมายถงึ ผลการเรยี นดี
3 คะแนน หมายถึง ผลการเรยี นพอใช้
2 คะแนน หมายถงึ ผลการเรยี นต้องปรับปรงุ
1 คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ หมายถงึ ระดบั ความรู้ดีมาก
18 -20 คะแนน หมายถึง ระดบั ความรู้ดี
15 -17 คะแนน หมายถงึ ระดบั ความรูพ้ อใช้
10 – 14 คะแนน หมายถงึ ระดับความรู้ต้องไดร้ บั การสอนซ่อมเสรมิ
ตำ่ กว่า 10 คะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับผลการเรียน หมายเหตุ
432 1

1 ปริมาณข้อมูล
2 คณุ ภาพขอ้ มูล
3 แบบแผนการคิด (การเชื่อมโยง)
4 แบบแผนการคิด (สาระ/เน้ือหา)
5 ความคิดสร้างสรรค์
6 ความรับผิดชอบ
7 ความชือ่ สตั ย์

รวมคะแนน

บันทกึ หลังการสอน

แผนจดั การเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ชอื่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ที่ 3 - 7

รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชว่ั โมง 20

ชือ่ เร่ือง เทคนคิ และวธิ ีการป้ันงานประตมิ ากรรมประยกุ ต์ ชั่วโมงรวม 9 - 28

1. สรุปผลการใชแ้ ผนการสอน คน
1.1 รายละเอียดการสอน จำนวนนกั ศึกษาทงั้ สนิ้

หวั ข้อเนือ้ หาท่ีสอน เข้าใจ/ปฏบิ ัติ (คน ) ไม่เข้าใจ ( คน )
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

1. วธิ ีการเตรียม วัสดุ อุปกรณ์

2. ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน

3. การประเมินคุณค่า

1.2 ผลการจดั กิจกรรมบรู ณาการหลักเศรษฐกจิ พอเพียง จำนวนนักศึกษาทั้งสนิ้ คน

ความร้/ู กจิ กรรมท่ีบูรณาการประจำหน่วย เข้าใจ/ปฏิบตั ิ (คน )
จำนวน รอ้ ยละ

1. รูจ้ ักและสามารถเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม

2. สามารถทำงานได้ตามข้ันตอน

3. สามารถคดิ และคำนวนและประเมินชิน้ งานได้

1.3 ปัญหาและอุปสรรคในการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2………………………………………………………………………..…………………………………………………………………..
3…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

1.4 ปญั หาดา้ นการใชส้ ื่อการเรียนการสอน
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

2. ปัญหาการเรียนของนักเรียน/นกั ศกึ ษา:
1…………………………………………………………………………………………………………………………………..………..
2………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
3………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

ข้อควรปรับปรงุ :
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
................................................................................................................................................ ............................

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 2

ชือ่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาห์ที่ 8 - 10
12
รหัสวิชา 20302-9004 จำนวนชั่วโมง 29 - 40

ชอ่ื เร่อื ง การปฏิบตั งิ านประติมากรรมประยกุ ตใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ชั่วโมงรวม

สาระสำคัญ
การปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ เป็นข้ันตอนของการสร้างสรรค์งานประติมากรรมที่นา

พ้ืนฐานประติมากรรมทั่วไป รวมถึงข้ันตอนการสร้างงานมาประยุกต์ใหม่ด้วยวัสดุ เทคนิควิธีการ มา
สร้างสรรค์งานให้มีความหลากหลาย โดยคิดแบบ ออกแบบเทคนิควิธีการต่างๆ ตามท่ีผู้สร้างต้องการ ให้มี
ลักษณะท่ีน่าสนใจ โดยใช้หลักงานประติมากรรม หลักการข้ึนโครงสร้าง ทฤษฎีงานประติมากรรม รวมไปถึง
การเข้าใจวิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในแต่ละชนิดประเภท ท่ีนามาสร้างสรรค์งาน เพื่อให้ผลงานท่ีสร้างออกมามี
ความสมบูรณ์มากที่สุด ผู้สร้างสรรค์ต้องเข้าใจหลักประติมากรรม การสร้างงานประติมากรรม และเรียนรู้
วธิ ีการการปฏบิ ตั ิงานรูปแบบต่างๆ เพ่ือนาประยกุ ต์กบั งานป้นั เปน็ ต้น

จุดประสงค์การเรยี นรู้
- จุดประสงค์ทว่ั ไป
นกั เรยี นมคี วามร้แู ละสามารถอธบิ ายและปฏบิ ัตงิ านประติมากรรมประยุกต์ ในรปู แบบต่างๆ ได้
- จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
11.อธบิ ายกระบวนการออกแบบสรา้ งสรรคง์ านประตมิ ากรรมรูปแบบต่างๆ ได้
12.ปฏบิ ัติงานตามทฤษฎีการปฏิบัติงานประตมิ ากรรมในรูปแบบตา่ งๆได้
13.อธบิ ายความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั เทคนิควธิ กี ารสร้างชนิ้ งานได้
14.ปฏิบัติงานตามเทคนคิ วธิ กี ารการปฏบิ ัติงานประติมากรรมในรปู แบบต่างๆได้
5. อธบิ ายวิธกี ารปฏบิ ัตงิ านประตมิ ากรรมในรปู แบบตา่ งๆ ท่หี ลากหลาย ได้

สมรรถนะประจำหน่วย
นกั เรียนเขา้ ใจการปฏบิ ตั งิ านประตมิ ากรรมในรูปแบบต่างๆ ตามโครงตน้ แบบในผลงานประตมิ ากรรม

ตวั อย่างทีถ่ ูกตอ้ ง เพ่อื ให้ผลงานปัน้ ใหม้ คี วามหลากหลายในการใชว้ สั ดุ และสรา้ งชิ้นงานออกมาไดจ้ รงิ
สาระการเรียนรู้

การปฏิบตั ิงานประติมากรรมในรปู แบบต่างๆงานปนั้ ในรูปแบบที่หลากหลาย มีวสั ดุอุปกรณ์อะไรบา้ ง

แนวทางการเลอื กวสั ดุเพอื่ นามาสรา้ งงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ มีวิธีใดบ้างความสาคัญของการใช้สื่อ
วัสดุต่างๆ ในการปั้น มีความสาคัญอย่างไรการประยุกต์ใช้เศษวัสดุ วัตถุดิบ การป้ันในงานประติมากรรม
ประยุกต์

เอกสารอ้างอิง

มัย ตะตยิ ะ.ประตมิ ากรรมภาคปฏิบัต.ิ _ปทุมธานี:สปิ ประภาจำกัด,2549

นวลน้อย บญุ วงษ.์ (2542). หลกั การออกแบบ. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2). กรุงเทพ: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

นิรัช สดุ สงั ข์. (2548). การออกแบบผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม. กรุงเทพ: ไอเดยี นสโตร์.

ประเสริฐ ศิลรตั นา. (2531). ของทรี่ ะลึก. กรุงเทพ: ไอเดยี นสโตร์.

กระบวนการจัดการเรียนรู้

ขน้ั ตอนท่ี 1 ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ครูช้แี นะแนวทางและบอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 2 สัปดาหท์ ี่ 8 - 10

2. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนท่ีไดเ้ รียนไปในชั่วโมงท่ผี ่านมา โดยให้นักเรยี นตอบคาถามวา่ การ
ปน้ั ประตมิ ากรรมประยกุ ต์ มีกระบวนการอย่างไร ให้ประโยชนแ์ ก่ผูป้ ัน้ อยา่ งไร

3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับกระบวนการป้ันด้วยเทคนิควิธีการต่างๆ ตามหลักการ
ปฏิบัติงานประติมากรรม

4. ครูแนะนาวิธีการเรียนรู้และการเข้ากิจกรรมร่วมกัน โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู้ก่อนเรียน
จากหนังสือ หรือ เวป็ ไซต์

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดำเนินการสอน

18.แจกเอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 2 เรอื่ ง“การปฏิบัติงานประตมิ ากรรมในรูปแบบต่างๆ”ครูให้
นักเรียนระดมความคิดว่า เทคนิควิธีการการปฏิบัติงานประติมากรรมประยุกต์ สามารถทาได้ด้วย
วิธีการใดได้บ้าง จากน้ันครูจึงสรุปการปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ คือรูปแบบเทคนิค
เฉพาะตน ที่มีความสาคัญต่อผลงานทแี่ สดงออกมาในรูปแบบท่ไี ม่เหมือนใคร ด้วยวสั ดุการสรา้ งสรรค์
ผลงาน และมคี วามสาคญั ตอ่ อารมณค์ วามรู้สึก ความหมายของผลงาน เปน็ ตน้

19.ครูเปิดส่ือการสอนเก่ียวกับการปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ ให้นักเรียนดู พร้อมกับ
อธิบายถึงความสาคัญของเทคนิค วิธีการและกระบวนการป้ันงานประติมากรรมในรูปแบบท่ี
หลากหลาย รวมถงึ แนะนาผลงานท่ีมีโครงสร้าง สัดส่วน การจัดองค์ประกอบของภาพ และใช้เทคนิค
วิธีการปัน้ ได้อย่างสมบูรณ์มาเป็นหลกั ในการทางาน เปน็ ตน้

20.จากนั้นครูต้ังคำถามว่า “การปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ มีความสำคัญและให้
ประโยชนแ์ ก่ผ้ปู ้ันอย่างไรบ้าง” เพอื่ ให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิด จากน้ันครูจึงสรุปวัตถุประสงค์
เก่ียวกับการปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ และประโยชน์ท่ีได้จากการใช้วัสดุ เทคนิค
สรา้ งสรรคใ์ หมๆ่

21.ครูให้นักเรียนดูรูปแบบของลักษณะผลงานที่ผ่านกระบวนการสร้างสรรค์งานด้วยเทคนิคและวิธีการ
ปน้ั ทหี่ ลากหลาย ตามหลักประตมิ ากรรมประยกุ ต์ เพือ่ ให้ช้ินงานมคี วามสมบรู ณ์ แปลกใหมพ่ ร้อมกับ
อธิบายลักษณะสำคัญของแตล่ ะเทคนิค วธิ ีการ

22.จากนั้นครูอธิบายประเภทของวิธีการเฉเพาะตน หลักการวาด เทคนิควิธีการ การปฏิบัติงานให้
นักเรียนฟังวา่ มอี ะไรบ้าง

ขั้นตอนที่ 3 ขน้ั สรุป

1. ครูให้นักเรียนสร้างสรรค์งานโดยใช้เครื่องมือ ตาม“การปฏบิ ัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆเช่น
ดินเหนียว ขี้เร่ือย แป้ง ปูน และเครื่องมือป้ันตัวขูด ปากตัด ตัวปาด เพื่อให้งานมีความสมบูรณ์

สวยงาม” ลงกระดานรองปนั้ แล้วจัดแสดงผลงานในโต๊ะแสดงผลงาน หน้าหอ้ งเรียน

2. ครูให้นักเรียนตอบอธิบายว่า “การปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ มีวิธีการอย่างไร มี
ประโยชน์อย่างไร และสามารถช่วยในงานประติมากรรมสร้างสรรค์ได้อย่างไร” จากนั้นนักเรียน
รว่ มกันตอบคำถาม

3. ครูให้นักเรียนตอบคำถามว่า “การปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ มีความสำคัญอย่างไร
บ้าง” จากนัน้ นักเรียนรว่ มกนั ตอบคำถาม

ครูให้นักเรียนตอบคาถามว่า “การปฏิบัติงานประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ ที่ดีควรคำนึงถึงหลัก
ใดบา้ ง” จากนัน้ นกั เรยี นร่วมกันตอบคาถาม

สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
- สือ่ การเรยี นรู้
10.เอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 2 เร่ือง สัปดาห์ที่ 8-10 เรื่อง การปฏิบัติงาน
ประติมากรรมในรูปแบบต่างๆ
11.สือ่ การเรยี นการสอน หน่วยที่ 2
12.ใบกจิ กรรม เร่ือง “การปฏบิ ตั ิงานประตมิ ากรรมในรูปแบบตา่ งๆ”
- แหลง่ การเรยี นรู้
4.YouTube รัชนกชาแนล : หอ้ งเรยี นครูนก

กจิ กรรมเสนอแนะ / งานท่ีมอบหมาย
กอ่ นเรยี น

4.จัดเตรียมเอกสาร สือ่ การเรียนการสอนที่ครูผู้สอนและบทเรยี นที่กำหนดไว้
ขณะเรียน

1.สังเกตการปฏิบตั ิงานตามใบกิจกรรม เร่ือง “การปฏิบัติงานประตมิ ากรรมในรูปแบบต่างๆ” พรอ้ มเดิน
สงั เกต และให้คำแนะนำกับนกั เรียน

หลังเรียน
4.นักเรียนเก็บทำความสะอาด โต๊ะ เก้าอี้ พ้ืนห้องเรียน กระดานดำให้สะอาดเรียบร้อยและปิดไฟฟ้าพัด
ลมให้เรียบร้อยกอ่ นออกจากหอ้ งเรยี น

การวดั ประเมนิ ผล
6.วิธวี ัดผลและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน
1.2 ประเมนิ จากผลงานการปฏิบตั กิ ิจกรรม แบบทดสอบก่อน/หลังเรียน และใบกจิ กรรม
1.3 สังเกตความสนใจและความตัง้ ใจในการทำกิจกรรมของนกั เรยี น
2. เครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมนิ ผลชิ้นงาน
2.2 แบบทดสอบก่อน/หลงั เรยี น
2.3 แบบสังเกตความสนใจและความตัง้ ใจในการทำกจิ กรรมของนักเรยี น
3. เกณก์ ารวดั และประเมนิ ผล

3.1 ผลการประเมนิ แบบประเมนิ ผลชน้ิ งาน อยู่ในเกณร์ ะดบั ดี ขึน้ ไป
3.2 ผลการสังเกตความสนใจและความตงั้ ใจในการทำกจิ กรรมของนักเรียน อยูใ่ นเกณฑร์ ะดบั ดี
3.3 ผลการทำแบบทดสอบกอ่ น/หลังเรียนได้รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป

การวดั ผลและการประเมนิ ผล

สิง่ ทีต่ ้องการวดั วธิ ีวัด เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารวดั
ดา้ นความรู้ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบประเมินผลชน้ิ งาน
(Cognitive) ผลการประเมนิ แบบ
ประเมนิ จากผลงานการ แบบทดสอบก่อน/หลงั ประเมินผลชิน้ งาน อยู่
ด้านทกั ษะ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เรียน ในเกณ์ระดบั ดี ขึ้นไป
(Psychomotor) แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรยี น
และใบกิจกรรม ผลการสังเกตความ
ด้านคณุ ลกั ษณะ สนใจและความต้ังใจใน
(Affective) แตง่ กายถูกระเบียบ สนใจใฝ่ แบบสงั เกตความสนใจ การทำกิจกรรมของ
นักเรียน อยใู่ นเกณฑ์
รู้ รับผิดชอบ กลา้ แสดงออก และความต้ังใจในการทำ ระดบั ดี

นำเสนอผลงาน กจิ กรรมของนักเรยี น ผลการทำแบบทดสอบ
ก่อน/หลังเรยี นไดร้ อ้ ย
ละ 80 ขนึ้ ไป

เกณฑ์การประเมนิ ใบงาน

รายการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2

1. ปรมิ าณข้อมลู ปรมิ าณข้อมลู มี 4ดา้ น ขน้ึ ปริมาณข้อมลู มี 2-3 ปรมิ าณข้อมูลมีน้อย มี
ไป ดา้ น เพียง 1 ดา้ น

2. คุณภาพขอ้ มูล ขอ้ มลู มีหวั เรื่องหลกั หัว ข้อมูลมีหวั เรื่องหลักและ ข้อมลู มีเฉพาะหวั เรื่อง
เร่อื งรอง มรี ายละเอียด ใน หวั เรอื่ งรองแต่ไม่ หลัก
หัวเรือ่ งรอง อย่าง เหมาะสม กับลาดับ
สมเหตุสมผล ความสาคญั

3. แบบแผนการคิด มีการเชือ่ มโยงลำดบั จดั กลุ่มข้อมลู และ แผนทีค่ วามคดิ ไม่แสดง
(การเชือ่ มโยง) เหตกุ ารณเ์ ปน็ แสดง การเชอ่ื มโยง การเชื่อมโยง
เหตุเป็นผล และแสดง ภายในกลุ่ม แต่ไม่ ระหวา่ งกล่มุ
ความสมั พนั ธ์ ทัง้ ระบบ เชือ่ มโยงทั้งระบบ

4. แบบแผนการคดิ สาระที่เขียนส่วนใหญ่เปน็ สาระท่เี ขียนมรี ปู ธรรม สาระทเ่ี ขยี นมีแต่
(สาระ/เน้อื หา) นามธรรม องค์ความรู้ มากกว่านามธรรม และ รปู ธรรม ท่ีเปน็
หลักการดาเนินชีวติ ที่ดี แสดงวสิ ยั ทศั น์เร่อื งท่ีจะ พฤติกรรม และแสดง
และแสดงวิสยั ทัศนเ์ รื่องท่ี ทาในอนาคต 1 เรื่อง วิสัยทศั นเ์ รือ่ งท่จี ะทา
จะทาในอนาคต2เร่อื ง ขน้ึ ใน อนาคต
ไป

5. ความคดิ สร้างสรรค์ รปู แบบ ทัง้ การออกแบบ รปู แบบ ทั้ง การ รปู แบบ ทง้ั การ
MindMap และเนอื้ หา ดู ออกแบบ MindMap ออกแบบ MindMap
นา่ สนใจ รอ้ ยละ 75 ข้นึ และเนือ้ หา ดูไม่ค่อย และเนอื้ หา ไมน่ า่ สนใจ
ไป นา่ สนใจ (ไม่ถงึ ร้อยถะ เลย
75 )

6. ความรับผดิ ชอบ สง่ งานตรงเวลาทีค่ รูกา สง่ งานล่าชา้ แต่มีเหตผุ ล สง่ งานล่าช้า และไม่มี
หนด จาเป็น เหตผุ ลจาเปน็

7. ความช่อื สัตย์ เขยี นตามรูปแบบของ เขยี นตามรปู แบบของ ดัดลอกจากหนังสือ/
ตนเอง ตนเอง หรอื ดัดแปลงจาก website ดดั แปลง
ต้นแบบ 75 % ขึน้ ไป บางสว่ น

แบบทดสอบกอ่ น หลงั เรยี น

ชือ่ วิชา ประติมากรรมประยุกต์ สัปดาห์ที่ 8 - 10

รหสั วชิ า 20302-9004 จำนวนช่ัวโมง 12

ชอ่ื เร่ือง การปฏิบตั งิ านประติมากรรมประยุกตใ์ นรูปแบบต่างๆ ชั่วโมงรวม 29 - 40

คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนสาธิตการใช้งานวัสดปุ นู สด ดว้ ยเทคนิควธิ กี ารปัน้ ดงั ต่อไปน้ี (ประตมิ ากรรมนนู ต่า

ประตมิ ากรรมนนู สูง ประติมากรรมลอยตัว) โดยตกแต่งรายละเอยี ดให้ดสู วยงาม น่าสนใจ
คำชแี้ จง แบบทดสอบเปน็ แบบอตั นยั จานวน 1 ขอ้
คำส่ัง จงสรา้ งสรรคง์ านประติมากรรมลอยตวั แล้วนามาปัน้ ด้วยเทคนคิ วิธกี ารเฉพาะตน พรอ้ มทง้ั อธบิ ายวสั ดุ
ท่ใี ช้ เทคนคิ วิธีการและการปฏิบตั งิ านการสร้างสรรค์ผลงาน โดยยึดหลักประตมิ ากรรม
แนวความคิด ……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 4
เรือ่ ง การปฏบิ ัติงานประติมากรรมในรปู แบบตา่ งๆ
จดุ มุง่ หมาย เพื่อให้นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การปฏบิ ัติงานประตมิ ากรรมในรูปแบบตา่ งๆ
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. การปฏิบัติงานประตมิ ากรรมในรปู แบบต่างๆ มคี วามสาคญั อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การใชเ้ ทคนิคและวิธกี ารปน้ั ประติมากรรมประยกุ ต์ ในรปู แบบตา่ งๆ มีไวเ้ พ่อื วตั ถุประสงคใ์ ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.เทคนิคและวธิ กี ารปน้ั ประติมากรรมในรปู แบบต่างๆมีประโยชน์อยา่ งไรในการสร้างสรรคง์ าน
ประตมิ ากรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.การปฏบิ ตั งิ านประตมิ ากรรมในรูปแบบต่างๆ มสี ่วนช่วยในการคิดแบบสร้างสรรคง์ านประตมิ ากรรม
ประยุกต์ อย่างไร ประกอบด้วยรายละเอียดของเทคนิควัสดุอะไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.นักเรียนสามารถนาเทคนิคการปฏิบัตงิ านประติมากรรมในรูปแบบตา่ งๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
อยา่ งไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรู้

ชื่อวิชา ประติมากรรมประยุกต์ สปั ดาห์ท่ี 8 - 10

รหัสวชิ า 20302-9004 จำนวนช่วั โมง 12

ชอื่ เรื่อง การปฏบิ ตั งิ านประติมากรรมประยุกตใ์ นรูปแบบต่างๆ ชวั่ โมงรวม 29 - 40

ประติมากรรม (SCULPTURE) หมายถึงผลงานศลิ ปะเกดิ จากการสร้างสรรค์ดว้ ยวิธี การปน้ั การแกะสลัก

การหลอ่ แบบ การเช่ือมปะติด การทบุ ตี เคาะ โดยอาศยั ดิน ไม้ หิน โลหะ แก้ว พลาสติก นำ้ แขง็ และวัสดุ

อนื่ ๆ เปน็ สอ่ื แสดงทางความงามของรูปทรง ทางสาระ และทางอารมณค์ วามรู้สึก มีลักษณะเป็นรูป 3 มติ ิ

คำที่ใช้เรยี กชอ่ื ผลงานทส่ี รา้ งสรรค์ดว้ ยกลวิธเี หลา่ น้ใี นภาษาไทยมอี ยู่ 2 คำ คือ

“ประติมากรรม” และ “ปฏิมากรรม”

คำวา่ “ประติมากรรม” เปน็ คำท่ีใช้เรยี กผลงานทสี่ รา้ งสรรคข์ นึ้ เปน็ รูปผลงานโดยรวมทั่วไป เช่น

รปู คน รปู สัตว์ รปู ผลไม้ รูปส่งิ ของ และรูปทรงตามความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นตน้

สว่ นคำวา่ “ปฏมิ ากรรม” เปน็ คำท่ีใชเ้ รียกผลงานทีส่ ร้างสรรคข์ นึ้ เปน็ รูปเคารพในศาสนา เช่น

“พระพุทธรูป[1] ” ดังเราจะเคยพบเห็นการใชภ้ าษาเขียนว่า “องค์พระปฏมิ า” เป็นต้น

สำหรับผู้สรา้ งสรรคเ์ ราเรียกวา่ “ประตมิ ากร” และ “ปฏมิ ากร” ตามลำดับ

ประเภทของงานประตมิ ากรรม งานประตมิ ากรรมซึง่ มรี ปู ทรง 3 มติ ิ นิยมสรา้ งกัน 3 ลกั ษณะใหญ่ ๆ ได้แก่

รูปแบบนูนต่ำ รปู แบบนนู สงู และรปู แบบลอยตัว

1. รปู แบบนนู ตำ่ (BAS RELIEF) เป็นประตมิ ากรรมที่มรี ูปทรงนนู ขน้ึ มาจากพ้นื หลงั เพียงเลก็ นอ้ ย สามารถ

มองเห็นความงามของรปู ได้จากดา้ นหนา้ เพยี งด้านเดยี ว เช่น รูปประติมากรรมบนเหรยี ญต่าง ๆ

ประติมากรรมอียิปต์ “รปู แผ่นหินของพระเจ้านารเ์ มอร์” และรปู “ชวี ติ ประจำวัน” ของชาวอยี ปิ ต์โบราณใน

หอ้ งเกบ็ ศพที่สุสาน เมืองซัคคารา่ เปน็ ตน้

“แผน่ หินของพระเจ้านารเ์ มอร”์ (PALETTE OF NARMER) ประติมากรรมบนแผ่นหนิ ศิลปะ อยี ปิ ต์,

พพิ ิธภณั ฑสถานกรงุ ไคโร,อยี ิปต์ ภาพแสดงฟาโรห์นาเมอร์หรือฟาโรห์-เมนิสทรงมงกุฎอาณาจักรบนกำลังลง

อาญาศัตรู

2. รปู แบบนนู สงู (HIGH RELIEF) เป็นประติมากรรมท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกับแบบนูนต่ำ แตจ่ ะมีความ

ต่างกันทส่ี ่วนของรูปจะนูนสูงขึน้ มาจากพื้นหลงั มากกวา่ ซึ่งสามารถรบั รู้ความงามของรูปทรงไดท้ ั้ง 3 ด้าน คือ

ความงามทางดา้ นหน้า ความงามทางด้านขา้ งของดา้ นขวา และความงามทางด้านขา้ งของด้านซ้าย เช่นรูปป้นั

ประกอบบริเวณฐานของอนุสาวรยี ์ประชาธปิ ไตย รปู เรือ่ งราวการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ศิลป พรี ะศรี และประติมากรรมตกแต่งอา่ งนำ้ มนต์พธิ ีศลี จมุ่ ศลิ ปะสมัยโร

มยั เนสก์ ของ เรอนิเอร์ แห่งอุย เป็นตน้

3. รปู แบบลอยตวั (ROUND RELIEF) เป็นประตมิ ากรรมที่สามารถรบั รูค้ วามงามจากการมองเห็นไดร้ อบด้าน

ไม่มีพน้ื หลงั ของภาพแต่ต้องมีฐานรองรบั นำ้ หนกั เพอ่ื ใหร้ ูปทรงต้งั อยู่ได้ หรือมที ีย่ ดึ น้ำหนักจากดา้ นบนโดย

ปลอ่ ยใหร้ ูปทรงนั้นห้อยลงมาจากท่สี งุ ซงึ่ อาจเป็นเพดาน หรือราวโลหะ เชน่ พระบรมรปู ทรงม้ารัชกาลท่ี 5”

ของชอร์ช ซูโล รปู “พระจักรพรรดิออกัสตสั แหง่ พริมาพอร์ต” (THE EMPEROR AUGUSTUS) ศลิ ปะ

ของ โรมนั และรูป “โรมิวลุสเรมสุ กำลงั กินนมสนุ ขั ปา่ ” (SHE-WOLF OF THE CAPITOL) ศิลปะของอิทรุส

คัน เปน็ ประติมากรรมแบบมีฐานรองรบั น้ำหนักหรอื เปน็ แบบวางรปู ทรงให้น้ำหนักถา่ ยเทลงสพู่ น้ื ด้านลา่ ง

เปน็ ตน้ สว่ นลักษณะทม่ี รี ูปทรงหอ้ ยลงจากทีย่ ึดน้ำหนกั ข้างบนเชน่ รปู “กับดกั ก้งุ ลอ็ พสะเตอร์และหางปลา”

(LOBSTER TRAP AND FISH TAIL) ของ อะเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ (ALEXANDER CALDER) เปน็ ต้น


Click to View FlipBook Version