รายงานการปฏิบัติงานในหน้าทีค่ รู ปกี ารศกึ ษา 2564
ของ นายปัฐวีร์ วงศ์พัฒนกลู
บทนา
การจัดการเรียนการสอนเป็นภาระงานของครูท่ีต้องรับผิดชอบให้การจัดการศึกษาเป็นไป
ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรสถานศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีท้ังความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม
กระบวนการเรยี นรู้ และความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม เพอ่ื พัฒนาคนให้มีความสมดลุ โดยยดึ หลักผู้เรยี นสาคญั ท่สี ุด
ทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความธรรมชาติและ
เต็มศักยภาพ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 เรื่อง แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 24 ข้อ 4 แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้
ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการ คือ การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้
ด้านต่างๆ อยา่ งสมดลุ กนั รวมทั้งให้มีการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เป็น
คนเก่ง มสี มรรถภาพในการดาเนินชีวติ มคี วามสุขบนพืน้ ฐานความเป็นไทย เป็นผู้ท่ีมคี วามสามารถพึ่งตนเองได้
ครูผู้สอนนอกจากจะมีหน้าที่จัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพผู้เรียนแล้ว
ยังต้องดูแลนักเรียนตามบทบาทครูที่ปรึกษา รวมทั้งรับผิดชอบงานพิเศษอ่ืนๆ อีกด้วย ท้ังนี้เพื่อให้โรงเรียน
ดาเนนิ กจิ กรรมการจัดการศกึ ษาเปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาและการประกนั คุณภาพ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการปฏบิ ตั งิ าน
1. เพ่ือใหก้ ารจดั การเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผูเ้ รยี นเปน็ ไปตามจุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร
2. เพ่ือให้งานการจัดการศึกษาประสบผลสาเร็จตามนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้และของโรงเรยี น
3. เพอื่ ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมอันพึงประสงค์ใหผ้ ูเ้ รยี น
เป้าหมายการปฏิบัตงิ าน
1. เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรถานศึกษา มุ่งพัฒนา
ผู้เรยี นแบบองคร์ วม เปน็ คนดี มีความรู้ ความสามารถ
2. เพื่อจัดการเรียน ให้ผู้เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึก ในการใช้
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มในการทางาน เพ่ือการดารงชีวิตและครอบครวั
3. เพื่อจัดการเรียน ให้ผู้เรียน มีทักษะ กระบวนการทางาน และการจัดการ การทางานเป็นกลุ่ม
การแสวงหาความรู้ สามารถแกป้ ัญหาในการทางาน รกั การทางาน และมเี จตคติท่ดี ตี อ่ งาน
4. เพื่อจัดการเรียนให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในงานอาชีพสุจริตมีคุณธรรมมีเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ
และเหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพสจุ รติ
ขอ้ มูลทว่ั ไป
ชือ่ ..........นายปฐั วรี .์ ........ นามสกลุ ..........วงศ์พฒั นกูล............ อายุ......27.......ปี
คุณวฒุ ิ..........ปริญญาตร.ี ........ ตาแหนง่ ........คร.ู ....... วทิ ยฐานะ....... - ......... ตาแหนง่ เลขท.ี่ .....986......
รบั เงนิ เดือนอนั ดับคศ. ....1...... ข้นั /เงินเดือน........19,030........บาท
สถานศึกษา/หนว่ ยการศกึ ษา...........โรงเรียนไตรมิตรวทิ ยาลัย......... เขต/อาเภอ.....สัมพนั ธวงศ์......
จงั หวัด.........กรุงเทพฯ........ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา.........มัธยมศึกษา กรงุ เทพมหานคร เขต1.........
สงั กัดส่วนราชการ...........สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร.............
1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 14.98 ชั่วโมง/สัปดาหด์ งั นี้
- รายวิชา ศ21203 ดนตรเี พ่ิมเติม 2 จานวน 1.66 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- รายวชิ า ศ22103 ดนตรี-นาฏศิลป์ 4 จานวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์
- รายวชิ า ศ31102 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 2 จานวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
- รายวิชา I22301 การนาองค์ความรูไ้ ปใชบ้ รกิ ารสงั คม จานวน 1.66 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น (ลูกเสอื ) จานวน 0.83 ชั่วโมง/สปั ดาห์
- กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (ชุมนุม) จานวน 0.83 ชัว่ โมง/สัปดาห์
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (จติ อาสา/ปกครอง) จานวน 0.83 ชว่ั โมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จานวน 12 ชัว่ โมง/สัปดาห์
- ครทู ป่ี รึกษางานวิจัย/โครงงาน จานวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- งานท่ีปรกึ ษา งานดแู ลนักเรียน/โฮมรมู จานวน 6 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- ตรวจภาระงานที่มอบหมายให้นกั เรยี น จานวน 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- ปฎิบตั หิ นา้ ทีเ่ วรประจาวัน จานวน 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
1.3 งานพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จานวน 6 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
- หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ จานวน 4 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
- กจิ กรรมชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จานวน 6 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- รับผิดชอบกิจกรรมดุรยิ างค์กา้ วไกล ไตรมติ รก้าวหนา้ จานวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปี 2564 จานวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
- คณะกรรมการจดั ตารางสอน ภาคเรยี นท่ี 2 2564 จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์
องค์ประกอบท่ี 1 การประเมินประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลการปฏบิ ัตงิ าน
ตามมาตรฐานตาแหน่ง
ตอนที่ 1 : ระดับความสาเรจ็ ในการพัฒนางานตามมาตฐานตาแหนง่
ดา้ นที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้
1.1 สร้างและหรอื พฒั นาหลกั สูตร
มกี ารจัดทำรายวิชาและหนว่ ยการเรยี นรใู้ หส้ อดคล้อง กับมาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ช้วี ดั หรือ
ผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรยี นได้พัฒนาสมรรถนะและ การเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ โดยมีการปรับ
ประยกุ ต์ ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผ้เู รียน และท้องถนิ่
จดั ทาแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จานวน จานวน จานวนแผน
ช่วั โมง หนว่ ยการ ทั้งหมด
ที่ รายการ ทัง้ หมด เรยี นรู้
1 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้รหัสวชิ า ศ22103 16 1
ช่อื วิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์ 4
16 1
2 แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรรู้ หัสวชิ า ศ31102
ชื่อวิชา ศิลปะพื้นฐาน 2
คิวอารโ์ คด้ แผนการจัดการเรยี นรู้
และบนั ทึกหลังการสอนฉบับเต็ม
1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั เพ่ือให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ทักษะ คุณลกั ษณะประจำวชิ า คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และสมรรถนะทส่ี ำคัญ ตามหลักสูตร โดยมกี ารปรับประยกุ ต์ให้สอดคล้องกับบรบิ ท ของสถานศกึ ษา
ผเู้ รียน และท้องถ่นิ
จัดทาประมวลรายวชิ า ชั้น/หอ้ ง หมายเหตุ
ท่ี รายการ ม.2/1-6 -
1 ประมวลรายวิชา ศ22103 ดนตรี-นาฏศลิ ป์ 4 ม.4/1-6 -
2 ประมวลรายวิชา ศ31102 ศิลปะพื้นฐาน 2
3 ประมวลรายวิชา I22301 การนาองค์ความรไู้ ปใช้บรกิ าร ม.2/5-6 -
สังคม : IS3 (Social Service Activity)
คิวอารโ์ คด้ ประมวลรายวิชาฉบับเตม็
1.3 จดั กิจกรรมการเรียนรู้
มกี ารอำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ เรยี นรู้
และทำงาน ร่วมกัน โดยมกี ารปรบั ประยกุ ตใ์ หส้ อดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งของผู้เรยี น
ภาพตวั อยา่ งรายงานสรุปการสอนรายสัปดาห์
ควิ อาร์โค้ดรายงานสรุปการสอน
รายสัปดาห์
1.4 สร้างและหรือพัฒนาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
มีการสรา้ งและหรอื พัฒนาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนร้สู อดคล้องกับกิจกรรมการ
เรยี นรู้ โดยมีการปรับประยุกตใ์ ห้สอดคล้องกับความแตกต่าง ของผ้เู รียน และทำใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะการคดิ และ
สามารถสร้างนวตั กรรมได้
รายการส่อื /เอกสารประกอบการสอนที่จัดทา ชัน้ /ห้อง หมายเหตุ
ท่ี รายการ/ประเภท ม.2/1-6
1 เอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง ค่าของตวั โน้ต ม.4/1-6
2 เอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง ดนตรียคุ โบราณ-ยุคเรเนซองส์ ม.2/1-6
3 ส่อื ประกอบการสอน เรื่อง ค่าโน้ต 1 ม.2/1-6
4 สื่อประกอบการสอน เรื่อง คา่ โน้ต 2 ม.2/1-6
5 สอ่ื ประกอบการสอน เร่ือง คา่ โน้ต 3 ม.2/1-6
6 สื่อประกอบการสอน เรื่อง ระดบั เสยี ง 1 ม.2/1-6
7 ส่ือประกอบการสอน เร่ือง ระดับเสยี ง 2 ม.2/1-6
8 สอ่ื ประกอบการสอน เรื่อง การอ่านโนต้ บนบรรทัดห้าเส้น ม.2/1-6
9 สือ่ ประกอบการสอน เร่ือง กิจกรรมฟงั เพลง1 beethoven Symphony No.5 ม.2/1-6
10 ส่ือประกอบการสอน เร่ือง กิจกรรมฟังเพลง2 Gershwin Rhapsody in blue ม.4/1-6
11 สอื่ ประกอบการสอน เรื่อง กาเนิดดนตรีและดนตรียุคโบราณ ม.4/1-6
12 สื่อประกอบการสอน เร่ือง ดนตรียคุ กลาง ม.4/1-6
13 สอ่ื ประกอบการสอน เร่ือง ดนตรียุคเรเนซองส์ ม.4/1-6
14 สอ่ื ประกอบการสอน เร่ือง ดนตรยี คุ บาโรก ม.4/1-6
15 สอ่ื ประกอบการสอน เร่ือง ดนตรียุคคลาสสกิ ม.4/1-6
16 สื่อประกอบการสอน เรื่อง ดนตรยี ุคโรแมนติก ม.4/1-6
17 สื่อประกอบการสอน เรื่อง ดนตรยี คุ ศตวรรษที่ 20 ม.4/1-6
18 คลปิ วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรอ่ื ง ดนตรียุคบาโรก
ควิ อารโ์ ค้ดส่ือและ
เอกสารประกอบการสอน
แบบประเมินและรายงาน
การใชส้ ื่อการสอน
1.5 วดั และประเมินผลการเรยี นรู้
มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับ
มาตรฐาน การเรียนร้ใู หผ้ ู้เรยี นพัฒนาการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนือ่ ง
ผลการเรียน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
ที่ รหสั วิชา ชน้ั ร 0 1 ระดบั ผลการเรียน 3 3.5 4 รวม
1.5 2 2.5
1 ศ22101 ม.2 113 - 1 3 - 4 10 6 44 181
2 ศ31101 ม.4 54 - 6 2 5 2 6 6 55 136
3 ศ21201 ม.1 10 - - - 2 1 2 - 1 16
4 I22201 ม.2 29 - 1 - - - - - 1 31
รวม 209 - 8 5 7 7 18 12 101 364
คิดเป็นร้อยละ 57.41 0 2.19 1.37 1.92 1.92 4.94 3.29 27.74
ร้อยละของผูเ้ รียนที่ได้ระดบั ผลการเรยี น 3 - 4 35.93
ผลการเรยี น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ที่ รหัส ชน้ั ร 0 ระดบั ผลการเรยี น 4 รวม
วิชา 1 1.5 2 2.5 3 3.5 มผ ผ
1 ศ22103 ม.2 100 - 20 5 2 2 3 5 43 180
2 ศ31102 ม.4 59 3 6 4 2 - 2 2 57 135
3 ศ21202 ม.1 11 - - 1 - - - - 3 15
4 I22901 ม.2 23 27 50
รวม 170 3 26 10 4 2 5 7 103 23 27 360
คดิ เป็นร้อยละ 47.2 0.83 7.2 2.7 1.1 0.5 1.38 1.94 28.61 6.38 7.5
รอ้ ยละของผู้เรียนทีไ่ ด้ระดับผลการเรียน 3 - 4 31.93
โดยสรุปรวม ผลการเรียนมี ดงั น้ี
ภาคเรยี นท่ี 1 – 2 รวม
ที่ รวม ระดับผลการเรยี น 364
360
ร 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 มผ ผ 724
1 ภาคเรียนที่ 1 209 - 8 5 7 7 18 12 101 - - 33.96
2 ภาคเรยี นท่ี 2 170 3 26 10 4 2 5 7 103 23 27
รวม 379 3 34 15 11 9 23 19 204 23 27
รอ้ ยละ 52.34 0.41 4.69 2.07 1.51 1.24 3.17 2.62 28.17 3.17 3.72
ร้อยละของผเู้ รยี นทไ่ี ด้ระดบั ผลการเรียน 3 - 4
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ สงั เคราะห์ เพ่อื แกป้ ัญหา หรอื พัฒนาการเรียนรู้
มกี ารศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพ่ือแก้ปญั หา หรือพัฒนาการเรยี นรทู้ ส่ี ่งผลต่อคณุ ภาพผเู้ รียน
รายงานวจิ ยั ในช้ันเรียน (ระบุชื่อเรอื่ ง – รายละเอียด) ชั้น/หอ้ ง หมายเหตุ
ที่ เร่ือง ม.2 -
1 การพฒั นาทกั ษะดนตรดี ้านจงั หวะโดยใช้หลกั การสอนดนตรีแบบโคดาย กรณีศึกษา:
นกั เรยี นระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่2 โรงเรียนไตรมติ รวิทยาลัย ปีการศึกษา2564
คิวอารโ์ คด้ รายงานวิจัยในชั้นเรียน
1.7 จัดบรรยากาศท่สี ่งเสริมและพัฒนาผ้เู รียน
มกี ารจดั บรรยากาศทีส่ ่งเสริมและพัฒนาผเู้ รียน ให้กระบวนการคิด ทักษะชวี ติ ทกั ษะการ
ทำงาน ทักษะ การเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม ทักษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ตวั อยา่ งภาพบรรยากาศกิจกรรมการเรยี น
คิวอารโ์ คด้ ภาพบรรยากาศการเรยี น
การสอนในชัน้ เรยี นออนไลน์
1.8 อบรมและพฒั นาคณุ ลักษณะท่ีดีของผู้เรียน
มกี ารอบรมบม่ นิสัยใหผ้ ู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และคา่ นิยม
ความเปน็ ไทยทีด่ ีงาม
ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงคป์ ระจาปีการศกึ ษา 2564
ระดบั คณุ ภาพ
ท่ี รหสั วิชา ชัน้ ภาคเรยี นที่ 2 รวม
3 210 180
135
1 ศ22103 ม.2 55 25 100 - 15
50
2 ศ31102 ม.4 63 10 62 - 380
3 ศ21203 ม.1 4 - 11 - 48.42
4 I22901 ม.2 27 - 23 -
รวม 149 35 195 -
คิดเปน็ รอ้ ยละ 39.21 9.21 51.31 -
รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีไดร้ ะดับคณุ ภาพ 2 - 3
ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี นสื่อความ ประจาปีการศึกษา 2564
ระดบั คณุ ภาพ
ที่ รหสั วชิ า ช้ัน ภาคเรยี นที่ 2 รวม
3 210 180
135
1 ศ22103 ม.2 55 25 100 - 15
50
2 ศ31102 ม.4 63 10 62 - 380
3 ศ21203 ม.1 4 - 11 - 48.42
4 I22901 ม.2 27 - 23 -
รวม 149 35 195 -
คิดเป็นรอ้ ยละ 39.21 9.21 51.31 -
ร้อยละของผเู้ รียนท่ไี ดร้ ะดับคุณภาพ 2 - 3
ด้านที่ 2 ดา้ นการส่งเสริมและสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้
2.1 จดั ทาข้อมูลสารสนเทศของผูเ้ รียนและรายวิชา
มีการจดั ทาข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพ่อื ใช้ในการส่งเสริมสนบั สนุนการ
เรยี นรู้และพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น
ท่ี เร่ือง ช้นั /หอ้ ง หมายเหตุ
1 รายงานผลการคดั กรองนักเรียนชน้ั ม.2/5 ปกี ารศึกษา 2564 ม.2/5 -
2 รายงานการเยย่ี มบ้านนักเรยี นชน้ั ม.2/5 ปีการศึกษา 2564 ม.2/5 -
รายงานผลการคดั กรองนักเรยี น
และรายงานการเยยี่ มบ้าน
2.2 ดาเนนิ การตามระบบดแู ลช่วยเหลือผ้เู รียน
มกี ารใช้ข้อมลู สารสนเทศเก่ียวกบั ผเู้ รยี นรายบุคคล และประสานความรว่ มมือกับผ้มู ีส่วน
เก่ียวข้อง เพ่อื พฒั นาและแก้ปัญหาผเู้ รยี น
ภาพกิจกรรมการเย่ยี มบา้ นในรปู แบบออนไลน์เปน็ รายบุคค
2.3 ปฏิบตั ิงานวชิ าการ และงานอืน่ ๆ ของสถานศกึ ษา
ร่วมปฏิบัตงิ านทางวิชาการและงานอน่ื ๆ ของสถานศึกษา เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
งานอืน่ ๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
ท่ี งาน ปฏบิ ัติหนา้ ที่ หมายเหตุ ตามคาสง่ั ท่ี
1 งานกลุ่มสาระการเรยี นรู้ -หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ 058/2564
-บรหิ ารงานกลุม่ สาระการเรียนรู้ทไ่ี ด้รับ 059/2564
มอบหมาย
-บริหารจดั การและปฏบิ ัตงิ านใหเ้ ปน็ ไปตาม
พรรณางานและมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของ
กล่มุ สาระฯและโรงเรยี น
2 งานกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน -สนบั สนนุ สง่ เสริม ใหผ้ เู้ รียนทำกิจกรรมจิต 058/2564
(กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน)์ อาสาทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา
3 งานบริหารจดั การทรัพยากรเพือ่ -บริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาภายใน 058/2564
การศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ
4 งานควบคุมภายใน -ประสานงานและใหค้ วามร่วมมือในงานควบคุม 058/2564
ภายใน
5 งานแผนงาน (กลุ่มสาระฯศลิ ปะ) -รวบรวมขอ้ มลู การทำโครงงานในกลุ่มสาระสรุป 058/2564
เปน็ แผนปฏบิ ตั กิ ารของกลุ่ม
6 งานพัสดุ (กลุ่มสาระฯศิลปะ) -ดำเนินการ ตรวจสอบ จดั ซือ้ พัสดุของกลมุ่ 058/2564
สาระการเรยี นรู้ศิลปะ 094/2564
7 งานหลักสตู รและจัดการเรยี นรู้ -วเิ คราะห์หลักสตู ร และประสานงานกบั ครใู น 058/2564
(กลุม่ สาระฯศลิ ปะ) กลุ่มสาระในการจัดทำโครงสรา้ งรายวิชา
แผนการจัดการเรยี นรูใ้ หเ้ ป็นไปตามหลกั สูตร
8 งานนิเทศการศึกษา (กลมุ่ สาระฯศิลปะ) -นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ 058/2564
ครูในกลุ่มสาระ
-สรปุ รายงานผลการปฏิบตั ิงานให้ ผูบ้ รหิ าร
ทราบ
9 งานวดั และประเมินผลการจดั การ -ดูแล ประสานงานการจดั ทำขอ้ สอบ จัดเก็บ 058/2564
เรียนรู้ ขอ้ สอบ ดำเนินการสอบให้เป็นไปตามระเบียบ
-ตรวจสอบความเหมาะสมความถกู ต้องของ 058/2564
10 งานส่งเสรมิ สวัสดกิ ารบุคลากร ขอ้ สอบใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บการวัดและ
11 งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ประเมินผลการศกึ ษา กรรมการคมุ สอบ 058/2564
-สง่ เสริมสวสั ดกิ ารบคุ ลากรภายในกลุ่มสาระการ 079/2564
เรียนรู้ศิลปะ 085/2564
-เย่ยี มบ้าน 095/2564
-พจิ ารณาทนุ การศึกษา 052/2564
058/2564
12 งานปอ้ งกนั และส่งเสริมวินยั และความ -เวรรกั ษาการณ์ (เวรรกั ษาความปลอดภยั ใน 060/2564
064/2564
ประพฤติในนกั เรียน สถานทรี่ าชการ) 074/2564
058/2564
-สอดสอ่ งดูแลนักเรยี นในเร่ืองระเบียบวนิ ยั และ 079/2564
056/2564
ความประพฤติ 075/2564
058/2564
13 งานแนะแนวและทนุ การศึกษา -เย่ียมบา้ น
14 งานสมาคมและเครอื ข่ายผ้ปู กครอง -พิจารณาจดั ลำดบั ทนุ การศึกษาม.2 058/2564
-รับมอบตวั ลงทะเบียน
058/2564
15 งานมาตรฐานสากล -ประสานงานและให้ความรว่ มมอื ในงาน 064/2564
058/2564
มาตรฐานสากล 064/2564
058/2564
16 งานวิเทศสัมพนั ธ์ -ประสานงานและให้ความรว่ มมอื ในงานวเิ ทศ 064/2564
058/2564
สัมพนั ธ์ 064/2564
058/2564
17 งานส่งเสรมิ คุณภาพจริยธรรมนกั เรยี น -สง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของนกั เรียนในหอ้ ง 064/2564
ประจำชนั้
18 งานส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย -ส่งเสริมประชาธปิ ไตยในชนั้ เรียน
19 งานโรงเรยี นดีไมม่ ีอบายมุข -ป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ และเอดส์ใน
20 งานโรงเรียนคณุ ธรรมสพฐ. ห้องประจำชนั้
21 งานโภชนาการ -สง่ เสริมกิจกรรมโรงเรียนคุณธรรมสพฐ.ในหอ้ ง
ประจำชั้น
-สง่ เสรมิ กจิ กรรมของงานโภชนาการในห้อง
ประจำช้ัน
22 งานอนามยั -ส่งเสริมกิจกรรมของงานอนามัยในห้องประจำ 058/2564
23 งานธนาคารโรงเรยี น ช้ัน 064/2564
21 งานปอ้ งกนั และแก้ไขยาเสพติด 058/2564
-ส่งเสริมกจิ กรรมของงานธนาคารโรงเรียนใน 064/2564
ห้องประจำชั้น 058/2564
-ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในห้อง 064/2564
ประจำช้นั
058/2564
25 งานลกู เสือ -จัดการและอำนวยความสะดวกในวิชาและค่าย 064/2564
ลกู เสอื
ภาพประกอบการปฏบิ ัติงานวชิ าการ และงานอน่ื ๆ ของสถานศึกษา
เขา้ ประชุมแผนงานวิชาการของโรงเรยี น
เขา้ ประชมุ คณะกรรมการโครงการ one class one project
2.4 ประสานความร่วมมือกับผูป้ กครอง ภาคเี ครอื ข่าย และหรอื สถานประกอบการ
ประสานความรว่ มมือกับผปู้ กครอง ภาคเี ครือข่าย และหรอื สถานประกอบการเพื่อร่วมกนั พฒั นาผเู้ รยี น
ภาพตัวอย่างการติดตอ่ ประสานความร่วมมอื ผ่านแอพลเิ คชั่นไลน์
ดา้ นที่ 3 ดา้ นการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ
3.1 พัฒนาตนเอง อย่างเป็นระบบและต่อเนอื่ ง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
สมรรถนะทางวิชาชีพครูความรอบรู้ในเนือ้ หาวชิ าและวิธีการสอน
รายการการเขา้ รับการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชพี ระหว่างวันท่ี หนว่ ยงานท่ีจดั จานวน
3 หลักสตู ร
(ชัว่ โมง)
1 โครงการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาม
หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารประเมินตาแหน่งการเลื่อนวทิ ยฐานะ 10 ตุลาคม 2564 สพม.กท.1 6
ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาตามข้อตกลงในการ
พฒั นางาน (Performance Agreement : PA) “เรียนรู้ PA สู่ 22 ตุลาคม 2564 สพม.กท.1 6
การปฏบิ ตั ิจริง”
2 โครงการพัฒนาครูเพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอน
ออนไลนใ์ ห้นกั เรียนและครูมีความสขุ
3 โครงการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตาม 29 ตลุ าคม 2564 โรงเรียนไตรมิตร 6
หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารประเมินตาแหนง่ การเล่ือนวทิ ยฐานะ วทิ ยาลยั
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามข้อตกลงในการ
พัฒนางาน (Performance Agreement : PA)
4 การอบรมพัฒนาครูและบุตลากรทางการศึกษา เรื่อง การใช้ 13 มกราคม 2565 โรงเรียนไตรมติ ร 2
Canva และ Application ที่ใช้ในการอดั วีดโิ อนาเสนอ วิทยาลยั
5 การสมั มนาวชิ าการภาษาองั กฤษออนไลน์ "Project-Based 28 มกราคม 2565 สพม.กท.2 6
Learning in Digital Era" เพอื่ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและ 2
ทกั ษะดจิ ิทลั 29 มกราคม 2565 โครงการ
บัณฑิตศึกษา
6 การอบรมสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการการเขยี นบทความวชิ าการ สถาบันบณั ฑิต
พัฒนศิลป์
7 ผา่ นการเรยี นรู้และทดสอบความรูด้ ้วยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ใน 1 กุมภาพันธ์ 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอก 1
การทาแบบทดสอบภาษาไทย
ระบบและ 6
การศกึ ษาตาม 6
อัธยาศยั 3
3
อาเภอเมอื ง 1
1
อานาจเจรญิ 1
8 เข้าร่วมอบรมโครงการสมั มนากฎหมาย จรรยาบรรณทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 12 กมุ ภาพันธ์ วิทยาลัยครุ
กับครู หวั ขอ้ รอบรูจ้ รรยาบรรณ เทา่ ทันกฎหมายไทย 2565 ศาสตร์
มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบณั ฑิตย์
9 การอบรมออนไลน์หัวข้อดนตรคี ลาสสิกปรทิ รรศน์ 12 กมุ ภาพนั ธ์ Chula MOOC
2565 และคณะ
ศลิ ปกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั
10 เข้าร่วมการอบรมพัฒนาศักยภาพดา้ นการวดั และประเมินผล 14 กุมภาพันธ์ โรงเรยี นไตรมติ ร
ทางการศึกษาในยคุ ดิจิทลั 2565 วิทยาลยั
11 ผ่านการอบรมเชิงปฏบิ ัติการจัดทาส่อื วดี ิทัศน์ประกอบการเรียน 14 กุมภาพนั ธ2์ 565 โรงเรยี นไตรมิตร
การสอนเพือ่ จดั ทาคลังความรู้แบบ On-Demand วทิ ยาลัย
12 อบรมออนไลน์ในหวั ข้อเร่ือง การจดั ทาแผนการจดั การศกึ ษา 3 มีนาคม 2565 โรงเรียนไตรมติ ร
เฉพาะบคุ คล และการสอนนักเรยี นที่มีความบกพร่องเลก็ น้อย วทิ ยาลยั
13 อบรมออนไลนแ์ ละวดั ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการวิจยั ในช้ัน สานักงานเขตพน้ื ที่
เรยี น การศึกษา
ประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต3
14 อบรมออนไลน์และวดั ความรู้ความเข้าใจเร่ืองการวัดประเมินผล สานักงานเขตพ้นื ที่
ทักษะด้านการเขา้ ใจดิจิทลั (Digital Literacy) การศึกษา
ประถมศึกษา
สพุ รรณบรุ ี เขต3
ควิ อารโ์ ค้ดเกยี รติบตั รการอบรม
พัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชพี
ตวั อยา่ งเกยี รติบตั รการเขา้ รับการพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี
3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ทางวิชาชีพ จานวนช่ัวโมง
8
มีส่วนร่วมในการแลกเปล่ยี นเรียนรทู้ างวชิ าชพี เพื่อพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ 10
8
แบบบนั ทึกการแลกเปลี่ยนเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) 8
ที่ เรื่อง 6
1 การพฒั นาสื่อการสอนดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอรม์ ลั ตมิ ีเดีย
2 การนาวธิ ีการสอนดนตรีแบบโคดายมาประยุกต์ใช้ในการสอน ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์
3 การจดั การเรยี นรู้โดยใช้หอ้ งเรียนกลบั ดา้ น
4 การพฒั นาการเรยี นการสอนออนไลนโ์ ดยใช้รปู แบบ Active Learning
5 เทคนคิ การจัดการเรียนการสอนทักษะปฏบิ ัติ
แบบบนั ทึกชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
แบบบันทึกการนิเทศการสอน
ภาพบรรยากาศการมสี ว่ นร่วมในการแลกเปลี่ยนเรยี นร้ทู างวชิ าชพี
3.3 นาความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทไี่ ด้จากการพัฒนา ตนเองและวิชาชีพมาใช้
นาความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ท่ีไดจ้ ากการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพมาใชใ้ นการพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน และการพฒั นานวตั กรรมการจดั การเรียนรู้
การจดั ทารายงานการอบรม วัน/เวลา หนว่ ยงานที่จดั
ที่ เร่ือง 10 ตุลาคม 2564 สพม.กท1
1 โครงการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามหลักเกณฑแ์ ละ
22 ตุลาคม 2564 สพม.กท1
วิธกี ารประเมนิ ตาแหน่งการเล่ือนวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการ 29 ตุลาคม 2564
ศึกษาตามข้อตกลงในการพฒั นางาน (Performance Agreement : PA) โรงเรยี นไตรมติ ร
“เรียนรู้ PA สูก่ ารปฏบิ ตั ิจริง” 13 มกราคม 2565 วทิ ยาลัย
2 โครงการพัฒนาครูเพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ใหน้ ักเรียน 1 กุมภาพนั ธ์ 2565
และครมู ีความสขุ โรงเรียนไตรมิตร
3 โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามหลกั เกณฑแ์ ละ 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 วทิ ยาลยั
วธิ กี ารประเมินตาแหน่งการเลื่อนวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) 14 กุมภาพนั ธ์ 2565 ศูนยก์ ารศึกษานอก
4 การอบรมพฒั นาครูและบตุ ลากรทางการศึกษา เรอ่ื ง การใช้ Canva และ 14 กุมภาพนั ธ์ 2565 ระบบและการศึกษา
Application ทีใ่ ช้ในการอัดวีดิโอนาเสนอ
5 ผ่านการเรยี นร้แู ละทดสอบความร้ดู ้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในการทา 3 มนี าคม 2565 ตามอัธยาศัย
แบบทดสอบภาษาไทย อาเภอเมอื งอานาจเจรญิ
6 เข้าร่วมอบรมโครงการสัมมนากฎหมาย จรรยาบรรณทเ่ี กีย่ วข้องกบั ครู หวั ขอ้ วิทยาลัยครศุ าสตร์
รอบรจู้ รรยาบรรณ เท่าทันกฎหมายไทย มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจ
7 เขา้ รว่ มการอบรมพฒั นาศักยภาพด้านการวดั และประเมนิ ผลทางการศึกษาใน บณั ฑิตย์
ยคุ ดจิ ิทลั โรงเรยี นไตรมิตร
8 ผา่ นการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการจัดทาสอ่ื วดี ทิ ัศนป์ ระกอบการเรียนการสอนเพื่อ วิทยาลัย
จดั ทาคลงั ความรู้แบบ On-Demand โรงเรยี นไตรมติ ร
9 อบรมออนไลนใ์ นหวั ขอ้ เร่ือง การจดั ทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล และ วทิ ยาลัย
การสอนนักเรยี นท่มี ีความบกพร่องเล็กน้อย โรงเรียนไตรมติ ร
วิทยาลยั
ควิ อารโ์ คด้ รายงานการอบรม
ตอนท่ี 2 : ระดบั ความสำเรจ็ ในการพัฒนางานที่เสนอเปน็ ประเดน็ ทา้ ทายในการ
พัฒนาผลลพั ธ์การเรียนรูข้ องผ้เู รียน
ประเดน็ ท้าทาย เรื่อง การพัฒนาทักษะดนตรดี า้ นจังหวะโดยใช้หลักการสอนดนตรแี บบโคดาย (The Kodaly
Method) กรณีศึกษา : นกั เรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นไตรมิตรวทิ ยาลัย ปีการศกึ ษา 2564
1. สภาพปัญหาการจดั การเรยี นรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผเู้ รียน
วิชาดนตรีเป็นวิชาที่ช่วยพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีสุนทรียภาพ การปฏิบัติ
ดนตรีช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม ซึ่งเป็นพ้ืนฐานในการ
ดารงชีวิตในสงั คม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดให้นักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรียนวิชาดนตรี เป็นวิชาพื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยมีสาระสาคัญให้นักเรียน
แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และ
สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้
การเรียนการสอนดนตรีของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย ในปัจจุบัน
เน่ืองจากสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด19 ทางโรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ ซ่ึงเป็น
ปัญหาในการสอนรายวิชาดนตรีซง่ึ เป็นวิชาปฏิบัติ ผู้สอนจงึ ได้ประยุกต์ใช้หลกั การสอนดนตรีแบบโคดาย (The
Kodaly Method) ซ่ึงเป็นวิธีการสอนดนตรีท่ีได้รับการยอมรับในระดับสากล นามาใช้ในการพัฒนาทักษะ
ดนตรีด้านจังหวะ เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะและเจตคติที่ดีในการเรียนวิชาดนตรี และสามารถปฏิบัติ ถ่ายทอด
และสร้างสรรค์ ดนตรใี นรูปแบบอ่ืนได้ตอ่ ไป
2. วิธกี ารดาเนินการใหบ้ รรลุผล
1. ผู้สอนศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คู่มือ
แบบเรียนและขอบขา่ ย โครงสรา้ ง เนอ้ื หา ตัวช้ีวดั การวดั ผลและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพ่อื กาหนดขอบเขตเนื้อหาบทเรียน
2. ผู้สอนศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับหลักการสอนดนตรีแบบโคดาย เพื่อนามมา
ประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียนการสอนในรายวิชา
3. ผู้สอนจัดทาแผนการเรียนรู้และกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ
เน้ือหามาตรฐานและตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน
4. ผูส้ อนจัดทาสอื่ ประกอบการเรยี นการสอน
5. ผู้สอนดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนในรูปแบบท่วี างไว้
6. ผู้สอนให้คาปรกึ ษา แนะนา ตดิ ตามความกา้ วหนา้
7. ผู้สอนวัดประเมินผลผูเ้ รียน
3. ผลลพั ธ์การพฒั นาทค่ี าดหวงั
3.1 เชิงปรมิ าณ
นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นไตรมิตรวิทยาลัย จานวน 184 คน ไดร้ บั การ
พัฒนาทักษะดนตรีด้านจงั หวะ
3.2 เชงิ คุณภาพ
นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นไตรมิตรวิทยาลยั ร้อยละ 70 มีทักษะดนตรี
ด้านจงั หวะดีข้นึ
ควิ อาร์โคด้ รายงานวิจยั ในช้ันเรยี น
องคป์ ระกอบที่ 2 การประเมินการมสี ่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา
ระดับความสาเรจ็ การมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาการศึกษา
ประชุมกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
พิธีแสดงความยนิ ดี และต้อนรับผ.อ.ธรี ะยุทธ ศรีปยิ ะรตั นกุล
ประชุมขบั เคลือ่ นว.PA วันท่ี 28 มกราคม 2565
ประชมุ คดั กรองว.PA คร้ังท1ี่ วันท่ี 18 มนี าคม 2565
องคป์ ระกอบที่ 3 การประเมนิ การปฏิบตั ติ นในการรักษาวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชพี
1. ยดึ ม่ันในสถาบนั หลกั ของประเทศ อนั ได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
2. มีความซ่อื สตั ย์ สุจริต มจี ิตสานกึ ทีด่ ี มีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทแ่ี ละต่อผู้เกยี่ วข้อง ในฐานะ
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
3. มีความกล้าคิด กลา้ ตัดสินใจ กลา้ แสดงออก และกระทาในส่งิ ที่ถกู ต้อง ชอบธรรม
4. มจี ิตอาสา จติ สาธารณะ มุ่งประโยชน์ส่วนรวม โดยไม่คานงึ ถึงประโยชน์สว่ นตน หรือพวกพ้อง
5. มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน มุ่งม่ันในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเต็มกาลังความสามารถ โดยคานึงถงึ คุณภาพ
การศึกษาเปน็ สาคัญ
6. ปฏบิ ตั หิ น้าทอี่ ยา่ งเป็นธรรมและไม่เลอื กปฏบิ ัติ
7. ดารงตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดแี ละรกั ษาภาพลักษณ์ของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
8. เคารพศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนุษย์ คานงึ ถงึ สทิ ธิเดก็ และยอมรับความแตกต่างของบคุ คล
9. ยึดถอื และปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ
10. มีวนิ ัยและการรกั ษาวินัย
ทาความสะอาดห้องเรียนเพือ่ เตรียมความพรอ้ มสาหรับการเปดิ เรียนออนไซต์
กิจกรรม 5 ส. ทาความสะอาดและจัดระเบยี บห้องดนตรี
การปฏิบตั หิ น้าท่เี วรประตูโรงเรียน และเวรอาคารเรยี น
ดารงตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดีและรักษาภาพลักษณ์ของขา้ ราชการครู
นิเทศการสอนครูในกลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ
สรปุ ผลการปฏิบัติหน้าที่
จากการปฏิบัติหน้าท่ี สรุปไดว้ ่าการจัดการเรียนการสอนในปีการศกึ ษา 2564 เป็นไปตามเป้าหมายที่
กาหนดไวใ้ นระดบั ดี รวมทงั้ งานครูท่ปี รึกษาและงานอื่นที่ได้รับมอบหมายได้ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ปญั หาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงงาน
………………………………………………………………………………………………….…..............................................
............................................................................................................................. ..............................................…
…………………………………………………………………………………………………………................................................…….
ลงช่อื .................................................ผู้รายงาน
( นายปฐั วรี ์ วงศพ์ ัฒนกูล )
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระฯ
……………………………………………………………………………………………….....................................................
............................................................................................................................. ........................................………
……………………………………………………………………………………………………..............................................……………
ลงช่อื ..........................................................
หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ
(นายปัฐวรี ์ วงศ์พัฒนกูล)
ความคดิ เห็นของรองผอู้ านวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ
จุดเดน่
........................................................................................................................... ..................................................
.................................................................................. ............................................................................................
....................................................................................................................... .......................................................
.
สิ่งทคี่ วรพัฒนา
............................................................................................................................. .................................................
..................................................... ............................................................................................ .............................
............................................................................................................................. .................................................
.
ลงช่อื ................................................................
รองผู้อานวยการกลุม่ บริหารวิชาการ
(นายพุฒิพงค์ ปรีเปรม)
ความเห็นของผู้อานวยการสถานศกึ ษา
จุดเดน่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สง่ิ ท่คี วรพัฒนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
(ลงชอื่ )................................................................
(นายธีระยทุ ธ ศรปี ิยะรัตนกลุ )
ตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา
วันท่ี......... เดือน......................... พ.ศ. 2565