ส่อื การเรยี น
การสอน
อิเล็กทรอนิกส์
เกยี่ วกบั บัญชี
เบอ้ื งต้น
หน่วยท่ี 1 ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกบั บัญชเี บื้องตน้
การบญั ชี (Accounting) หมายถงึ ศลิ ปะของการเก็บรวบรวม บันทกึ จาแนก และทา
สรปุ ข้อมูลเกยี่ วกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจทเ่ี ป็นในรปู ของตัวเงนิ ไวใ้ น สมดุ บญั ชอี ย่างสม่าเสมอ
เป็นระเบียบถกู ต้องตามหลักการและผลงานขั้นสุดทา้ ยของการบญั ชี คือ การให้ขอ้ มลู ทางการเงนิ
ซ่งึ เป็น ประโยชนแ์ ก่บคุ คล หลายฝา่ ยและ ผู้ทสี่ นใจในกจิ กรรมของกิจการ
1.การทาบญั ชี (Book Keeping) เป็นหนา้ ทข่ี องผู้ทาบัญชี (Book Keeper) ซึ่งมี
ข้นั ตอนของการปฏบิ ตั ิดงั นี้
1.1 การรวบรวม(Collecting) หมายถึง การรวบรวมขอ้ มลู หรอื รายการค้าที
เกดิ ข้ึนประจาวัน และหลักฐานทเี่ กีย่ วกับการดาเนนิ ธรุ กิจ
1.2 การจดบนั ทึก(Recording) หมายถึง การนารายการคา้ ตา่ งๆ ทเ่ี กิดข้ึนมา
บันทึกลงในสมุดรายวันขน้ั ต้นให้ถกู ตอ้ ง ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองท่ัวไป โดยเรยี ง
รายการตามลาดับกอ่ นหลงั และมเี อกสารประกอบ
1.3 การจาแนก (Classifying) หมายถึง การนารายการค้าท่ีบันทกึ ลงในสมดุ
รายวนั ขนั้ ตน้ มาจาแนกให้เป็นหมวดหม่ขู องประเภท บญั ชตี ่างๆ
1.4 การสรุปผลข้อมลู (Summarizing) หมายถึง การนาประเภทหมวดหมู่
ทางการบัญชที ่เี กิดขน้ึ จากการบันทึกรายการคา้ น้ัน ๆ เพ่ือให้ทราบผล ของการดาเนินงานของ
กิจการ จะสรุปผลออกมาทางรปู แบบงบการเงนิ คือ “งบกาไรขาดทุน” และถา้ ต้องการทราบ ฐานะ
การเงนิ ของกิจการ ก็จะสรปุ ผลออกมา ทางรปู แบบงบการเงินเช่นเดียวกนั คอื “งบดลุ ”
2.การใหข้ อ้ มลู ทางการเงนิ เพ่ือประโยชนแ์ กบ่ ุคคลทเ่ี กีย่ วข้องหลายฝา่ ย เช่น ผู้บริหาร
ผู้ใหก้ ู้ เจ้าหน้ี นักลงทุน เป็นต้
หนว่ ยท่ี 2 หมวดบญั ชี
สนิ ทรพั ย์ (Assets) หมายถงึ สง่ิ ทีม่ ีตัวตน หรือไมม่ ีตวั ตนอันมมี ูลคา่ ซ่งึ บุคคลหรือ
กิจการเป็นเจา้ ของหรอื สามารถถอื เอาประโยชน์ได้จากกรรมสทิ ธใิ์ นอสงั หารมิ ทรพั ย์
สงั หารมิ ทรัพย์ สทิ ธิเรยี กรอ้ งมูลค่าท่ไี ดม้ า รายจา่ ยทเ่ี กิดสทิ ธิ และรายจ่ายของงวดบญั ชถี ดั ไป
สินทรัพยส์ ามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. สินทรพั ย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถงึ สินทรพั ยท์ ่มี ีสภาพคลอ่ ง สามารถจะ
เปล่ียนเป็นเงนิ สด เช่น เงนิ สด เงนิ ฝากธนาคาร เป็นต้น
2. สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวยี น (Non – Current Assets) หมายถงึ สนิ ทรัพยท์ ่ไี มส่ ามารถ
เปลี่ยนเป็นเงนิ สดไดโ้ ดยเรว็ ซงึ่ มรี ะยะเวลามากกวา่ 1 ปี เชน่ เงินลงทนุ ระยะยาว เงินใหก้ ูย้ มื ระยะ
ยาว หรือสนิ ทรพั ยถ์ าวร (Fixed Assets) เป็นสินทรพั ยท์ ่มี ตี วั ตน มลี ักษณะการใช้งานท่ีคงทน
และมีอายุการใชง้ านนานเกินกว่า 1 ปี เช่น ที่ดนิ อาคาร อุปกรณ์ รถยนต์ เป็นต้น
หนส้ี นิ (Liability) หมายถึง ภาระผกู พันในปจั จบุ ันของกิจการทีต่ ้องจ่ายชาระคนื แก่
บคุ คลภายนอกในอนาคต
หน้ีสนิ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. หน้ีสนิ หมุนเวยี น (Current Liabilities) หมายถึง ภาระผกู พันทก่ี ิจการต้องชาระ
คนื ภายในระยะเวลา ไม่เกนิ 1 ปี เช่น เจา้ หน้ีการคา้ เงินเบกิ เกินบญั ชีธนาคาร เป็น
ต้น
2. หน้ีสินไมห่ มนุ เวยี น (Non – Current Liabilities) หมายถงึ หน้ีสนิ ซง่ึ
ระยะเวลาการชาระคนื เกนิ กว่า 1 ปี หรอื เกินกว่ารอบระยะเวลาการดาเนนิ งาน
ตามปกติของกิจการ เช่น เงินกรู้ ะยะยาว หุ้นกู้ พันธบัตรเงินกู้ เป็นต้น
สว่ นของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถึง สว่ นไดเ้ สียคงเหลือในสนิ ทรัพยข์ อง
กิจการหลงั จากหักหนีส้ นิ ทงั้ สินออกแลว้ กรรมสิทธทิ์ ่เี จ้าของกิจการมใี นสนิ ทรพั ย์ เรยี กว่า
สินทรัพย์สทุ ธิ (สนิ ทรพั ย์ – หน้สี ิน) สว่ นของเจ้าของกจิ การแบ่งได้ 3 ประเภท
1.กจิ การเจา้ ของคนเดีย
2.ห้างหุ้นส่วน
3.บริษทั จากัด
รายได้ (Incomes) หมายถงึ ผลตอบแทนท่กี จิ การไดร้ บั จากการขายสินค้าหรือบริการ
ตามปกติของกิจการรวมทั้งผลตอบแทนอนื่ ๆ ที่ไมไ่ ด้เกิดจากการดาเนนิ งานตามปกติ
ค่าใช้จ่าย (expenses) หมายถงึ ตน้ ทนุ สว่ นท่ีหกั ออกจากรายไดใ้ นรอบระยะเวลา
ทีด่ าเนนิ การงานหน่ึง คา่ ใชจ้ ่ายสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั น้ี
1. ตน้ ทุนขาย (Cost of sales) หมายถึง ตน้ ทุนของสินคา้ ทข่ี ายหรือบริการทใี่ ห้
กล่าวคือในกจิ การซ้ือเพื่อขาย ต้นทนุ ของสนิ ค้าท่ีขายจะรวมราคาซ้อื และคา่ ใชจ้ ่าย
อนื่ ๆ ที่จาเป็น
2. ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน (Operating expenses) หมายถึง คา่ ใช้จ่ายท่ี
เกิดขนึ้ อนั เองมาจากการขายสินคา้ หรือบรกิ าร
3. คา่ ใช้จ่ายอื่น (Other expenses) หมายถงึ คา่ ใชจ้ ่ายนอกเหนือจากที่จดั เข้าเป็น
ต้นทนุ ขายและค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ งาน เชน่ ดอกเบ้ยี จ่าย ภาษีเงินได้
สมการบญั ชี
สินทรัพย์ = หนส้ี ิน + ทนุ
หน่วยท3ี่ วิเคราะห์รายการค้า
รูปแบบของกจิ การ
รูปแบบของกิจการค้าแต่ละประเภทจะแตกตา่ งกันออกไปตามสภาพการลงทนุ
ในกจิ การลักษณะการจดั ตงั้ การดาเนินงาน และความสาคัญทางเศรษฐกิจ แบง่ ได้ดงั น้ี
1. กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว (Single Proprietorship) ได้แก่ กจิ การขนาดเล็ก
ทม่ี บี ุคคลคนเดยี วเป็นเจ้าของ เชน่ รายค้ายอ่ ย สานักงานผปู้ ระกอบวชิ าชพี
อิสระ การจดั ตัง้ ทาได้ง่าย เจ้าของดาเนินงานเองและรับผิดชอบในหนีส้ นิ ของ
รา้ นโดยไม่จากดั จานวน
2. หา้ งหนุ้ สว่ น (Partnership) คือ กจิ การทม่ี ีบคุ คลตงั้ แต่ 2 คนข้ึนไปร่วมกัน
เป็นเจา้ ของโดยมีสญั ญาตกลงรวมทนุ กนั เป็นหุ้นสว่ นประกอบการค้าเพื่อหวงั กาไร
2.1 หา้ งหุ้นสว่ นสามญั (Ordinary Partnership) คอื ห้างหุน้ สว่ นประเภท
ทผี่ ู้เป็นหนุ้ สว่ นทกุ คนตอ้ งรบั ผดิ ชอบร่วมกนั ในหนส้ี ิน โดยไมจ่ ากัดจานวน ห้าง
หุ้นสว่ นประเภทน้ีจะจดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คลก็ไดห้ รอื ไม่จดทะเบยี นกไ็ ด้
2.2หา้ งหนุ้ ส่วนจากัด (Limited Partnership) คือ หา้ งหุ้นส่วนที่
ประกอบดว้ ยผู้เป็นหนุ้ ส่วน 2 จาพวก คือ จาพวกจากัดความรับผิดชอบ และไม่
จากดั ความรบั ผดิ ชอบ หา้ งห้นุ สว่ นจากดั กฎหมายบงั คับให้จดทะเบียนเป็นนิติ
บุคคล
3. บรษิ ทั จากดั (Company Limited or Corporation) คือ กจิ การท่ีต้งั ขน้ึ
ในรูปของนติ บิ คุ คลดว้ ยการแบ่งทุนเป็นห้นุ มีมูลคา่ เทา่ ๆ กนั ผ้ทู ล่ี งทนุ ซ้ือหุน้ ของ
กจิ การเรยี กว่า “ผู้ถือหุน้ ” บริษัทจากดั แบง่ เป็น 2 ประเภท
3.1 บริษทั เอกชนจากัด (Private Company Limited) มีจานวนผู้ถอื หนุ้
ตั้งแต่ 7 คนขึน้ ไป (ป.พ.พ. มาตรา 1097)
3.2 บริษัทมหาชนจากดั (Public Company Limited) มีจานวนผถู้ อื หุ้น
ตัง้ แต่ 15 คนข้นึ ไป (พ.ร.บ. บริษัทมหาชน จากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 16) และ
ต้องจองหุ้นรวมกันอยา่ งนอ้ ย 5 % ของทุนจดทะเบยี น แตล่ ะคนถอื หนุ้ ไม่เกนิ 10
% ของทนุ จดทะเบียน และตัง้ ขนึ้ มาโดย มีวตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเสนอขายหนุ้ ตอ่
ประชาชนทั่วไป ต้องมีคานาหน้าชือ่ วา่ “บรษิ ทั ” และคาลงทา้ ยวา่ “จากดั (มหาชน)”
ตารางวเิ คราะห์รายการคา้
สนิ ทรัพย์ เพิ่ม เดบติ สินทรัพย์ ลด เครดติ
หนส้ี นิ ลด เดบติ
หนีส้ นิ เพิ่ม เครดิต
สว่ นของเจ้าของ(ทนุ ) ลด เดบิต
ส่วนของเจา้ ของ(ทนุ ) เพ่ิม เครดิต รายได้ ลด เดบิต
ค่าใช้จ่าย ลด เครดิต
รายได้ เพ่ิม เครดติ
ค่าใชจ้ ่าย เพิ่ม เดบติ
หน่วยที่ 4 เร่ือง สมุดรายวนั ท่วั ไป
สมุดรายวนั ขนั้ ต้น (Book of Original Entry) หรอื สมุดรายวัน (Journal) หมายถงึ
สมุดบญั ชที ีจ่ ะใช้จดบันทึกรายการคา้ ตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ข้นึ เป็นขัน้ แรก โดยการจดบันทกึ รายการคา้ ที่
เกดิ ขน้ึ นัน้ จะจดบันทึกโดยเรยี งตามลาดบั กอ่ นหลังของการเกดิ รายการคา้
ประเภทของสมดุ บญั ชขี น้ั ตน้ (Types of Books of Original Entry) แบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท
1. สมดุ รายวนั เฉพาะ (Special Journal) คือ สมดุ รายวนั หรอื สมดุ บัญชีข้ันตน้ ทใ่ี ช้
บันทึกรายการค้าท่เี กิดขน้ึ เร่ืองใดเรอื่ งหนึง่ โดยเฉพาะ
1.1 สมุดรายวันรับเงิน (Cash Received Journal) เป็นสมุดรายวนั ที่ใช้
บนั ทึกรายการค้าทเี่ กย่ี วกับการรบั เงินเทา่ นนั้ เชน่ การรับรายได้ การรับชาระหน้ี เป็นตน้
1.2 สมดุ รายวันจา่ ยเงนิ (Cash Payment Journal) เป็นสมดุ รายวนั ทีใ่ ช้
บันทึกรายการค้าทเ่ี กีย่ วกบั การจ่ายเงินเท่านน้ั เชน่ จา่ ยค่าใชจ้ า่ ย ซื้อสนิ ทรพั ย์ จ่ายเงินชาระหนี้
เป็นต้น
1.3 สมุดรายวนั ซ้ือ ( Purchases Journal ) เป็นสมดุ รายวันที่ใชบ้ นั ทกึ
รายการคา้ ทเี่ กี่ยวกบั การซือ้ สนิ ค้าเป็น เงนิ เช่อื เทา่ นน้ั
1.4 สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมดุ รายวันทใี่ ชบ้ ันทึกรายการค้าท่ี
เกีย่ วกับการขายสนิ คา้ เป็นเงินเชื่อเท่าน้นั
1.5 สมุดรายวันสง่ คืนสินค้า (Purchases Returns and Allowance
Journal) เป็นสมดุ รายวนั ทใ่ี ชบ้ นั ทึกรายการค้าที่เก่ียวกบั การส่งคนื สนิ คา้ ทซ่ี ือ้ มาเป็นเงินเช่ือ
เท่านนั้
1.6 สมดุ รายวันรบั คืนสินคา้ (Sales Returns and Allowance Journal)
เป็นสมดุ รายวันท่ใี ชบ้ ันทกึ รายการคา้ ท่เี กี่ยวกับการรบั คนื สนิ คา้ ทขี่ ายเป็นเงนิ เช่อื เท่านั้น
2. สมดุ รายวนั ทวั่ ไป (General Journal) คือ สมดุ บัญชีขน้ั ตน้ หรอื สมดุ รายวนั ทใ่ี ช้
จดบนั ทกึ รายการค้าทเ่ี กดิ ขนึ้ ทกุ รายการ ถา้ กิจการน้นั ไมม่ สี มดุ รายวันเฉพาะ แต่ถ้ากจิ การนั้นมี
การใชส้ มุดรายวนั เฉพาะ สมุดรายวันท่ัวไปก็จะมไี วเ้ พ่ือบันทึกรายการค้าอื่น ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ และไมส่ า
มานาไปบนั ทกึ ในสมุดรายวนั เฉพาะเลม่ ใดเลม่ หนงึ่ ได้
ตวั อยา่ ง
ตอ่ ไปน้ีเป็นรายการคา้ ของร้านนครชัยการชา่ ง ระหวา่ งเดอื นมกราคม 2560
ม.ค.
1. นายนครเปิดรา้ นบรกิ ารซ่อมวทิ ยุ โทรทศั น์ และอุปกรณไ์ ฟฟา้ อ่ืน ๆ โดยนาเงนิ สด 40,000
บาท เงนิ ฝากธนาคาร 60,000 บาท อาคาร 400,000 บาท อปุ กรณ์การซอ่ ม
50,000 บาทและ เจา้ หน้ี 60,000 บาท มาลงทุน
5. รับเงินค่าซ่อมโทรทศั น์ 3,000 บาท
8. ซ้อื อปุ กรณใ์ นการซอ่ มเป็นเงินเชอ่ื จากร้านโกมล 12,000 บาท
11. จา่ ยคา่ เชา่ อาคารเพิ่มเติมเน่อื งจากพ้ืนทคี่ บั แคบ 12,000 บาท
15. ซอ่ มพัดลมให้โรงเรยี นเกง่ วิทยา 35,000 บาท ยงั ไมไ่ ด้รับเงิน
20. รบั ชาระหน้จี ากโรงเรียนเกง่ วิทยาตามรายการวันท่ี 15 ม.ค.
25. จ่ายชาระหนใี้ ห้ร้านโกมล 12,000 บาท
31. จ่ายเงินเดอื นใหค้ นงาน 28,000 บาท
สมุดรายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1
เครดติ
พ.ศ.2560 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต.
101 40,000 60,000
มค. 1 เงินสด 102 60,000 490,000
103 400,000
เงินฝากธนาคาร 104 50,000
201
อาคาร 301
อปุ กรณ์การซ่อม 101
401
เจา้ หน้ี
501
ทนุ -นายนคร 202
นายนครนาสินทรพั ยแ์ ละหน้ีสินมาลงทนุ 502
101
5 เงินสด 3,000
105 3,000
รายไดค้ า่ บริการ 402
รบั รายไดค้ า่ ซ่อมโทรทศั น์ 101
105
8 ซ้ืออปุ กรณ์ 12,000
202 12,000
เจา้ หน้ี-ร้านโกมล 101
ซ้ืออปุ กรณ์เป็นเงินเชือ่ 502
101
11 คา่ เช่าอาคาร 12,000
12,000
เงินสด
จ่ายคา่ เชา่ อาคาร
15 ลกู หน้ี-โรงเรียนเกง่ วทิ ยา 35,000
35,000
รายไดค้ า่ บริการ
ให้บริการซ่อมพดั ลมเป็นเงินเชื่อ
20 เงินสด 35,000
35,000
ลกู หน้ี-โรงเรียนเกง่ วทิ ยา
รับชาระหน้ีจากโรงเรียนเกง่ วทิ ยา
25 เจา้ หน้ี-ร้านโกมล 12,000
12,000
เงินสด
จ่ายชาระหน้ีรา้ นโกมล
30 เงินเดอื น 28,000
28,000
เงินสด
จ่ายเงินเดอื นใหพ้ นกั งาน
หนว่ ยที่ 5 เร่อื ง สมุดบัญชแี ยกประเภท
บัญชีแยกประเภท หมายถงึ บญั ชีที่รวบรวมการบนั ทึกรายการคา้ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไวเ้ ป็นหมวดหมู่
หลงั จากการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวนั ทว่ั ไป เรียบร้อยแล้ว จัดเรยี งลาดับผังบัญชีของ
กิจการ เชน่ บญั ชเี งนิ สด เป็นบัญชที ีร่ วบรวมรายการคา้ ที่เกย่ี วกบั เงนิ สด บัญชลี ูกหนี้ เป็น
บัญชีท่ีรวบรวม รายการค้าท่เี กี่ยวกบั ลกู หน้ี การบันทึกรายการในแตล่ ะบัญชี จะบันทึกไม่ปะปน
กันเพื่อใหต้ รงตามขอ้ เทจ็ จรงิ เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย และสะดวก ในการคา้ หาหรือแก้ไข
ข้อผิดพลาด
สมุดบญั ชแี ยกประเภท (Ledger) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื
1. สมดุ บัญชีแยกประเภทท่ัวไป (General Ledger) เป็นสมุดท่ีรวบรวมหรือคมุ
ยอดของบญั ชแี ยกประเภททุกบญั ชี ซ่งึ ใชบ้ นั ทึก การเปล่ียนแปลงสนิ ทรัพย์ หนีส้ ินและสว่ นของ
เจา้ ของ (ทนุ ) ตอ่ จากการบนั ทกึ ลงในสมุดรายวันท่ัวไป ไดแ้ ก่ บัญชีแยกประเภท สนิ ทรพั ย์ เช่น
บัญชเี งนิ สด บญั ชีเงนิ ฝากธนาคาร บัญชีลกู หนี้ บญั ชสี ินค้า บญั ชีวัสดสุ านกั งาน บญั ชีอาคาร
เป็นตน้ บญั ชแี ยก ประเภทหน้สี นิ เช่น บญั ชเี จ้าหนกี้ ารค้า บญั ชเี งนิ กู้ บัญชีเจา้ หน้ีอืน่ ๆ เป็น
ตน้ บัญชีแยกประเภทสว่ นของเจ้าของ เช่น บัญชที นุ บญั ชีรายได้ (Income) บญั ชี
ค่าใชจ้ ่าย (expense) และบัญชถี อนใช้ส่วนตวั
2. สมดุ บัญชีแยกประเภทยอ่ ย (Subsidiary Ledger) เป็นทร่ี วบรวมของบญั ชีแยก
ประเภทย่อยของบัญชีคุมยอด (Controlling Accounts) ในสมดุ แยกประเภททว่ั ไป เชน่ สมดุ
บญั ชีแยกประเภทลูกหน้ีรายตวั บัญชเี จา้ หนี้รายตวั ซ่ึงยอดรวมของบัญชีแยกประเภงท รายตัว
ทั้งหมดจะเทา่ กบั ยอดรวมในสมุดบญั ชีแยกประเภททวั่ ไป
หนว่ ยที่ 6 เรื่อง งบทดลอง
งบทดลอง (Trial Balance) คือ งบท่ีทาข้นึ เพ่ือพิสจู นค์ วามถูกต้องของการบันทึก
บัญชี แตก่ ารบนั ทกึ รายการค้าในสมดุ รายวัน ทัว่ ไป การผา่ นรายการ จากสมดุ รายวันทวั่ ไป ไป
บัญชีแยกประเภท และการหายอดคงเหลือด้วยดนิ สอ จากรายการค้าทุกรายการ ผลรวมด้าน
เดบติ ของทุกบญั ชี ควรจะต้องเทา่ กับผลรวมดา้ นเครดิตของทุกๆบัญชี หลังจากจากผา่ น
รายการจากสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบัญชแี ยกประเภทแลว้ ขนั้ ต่อไปคือการหายอดคงเหลือของ
บัญชแี ยกประเภทโดยทว่ั ไปนิยม หาด้วยดินสอ (Pencil Footing) เพ่ือปอ้ งกนั การผิดพลาด
และหากต้องการแกไ้ ขก็จะทาไดโ้ ดยสะดวก
การหายอดคงเหลอื
1. หายอดรวมทางด้านเดบิตและเครดติ ของบญั ชที กุ บัญชีในแยกประเภท
2. นายอดรวมทง้ั สองดา้ นมาลบเพื่อหายอดคงเหลือ
3. นาผลลพั ธท์ ไี่ ดไ้ ปเขยี นไวท้ างดา้ นที่เหลืออยคู่ อื ด้านทม่ี ากกวา่
การทางบทดลอง มขี ้นั ตอนดังนี้
1. เขยี นหวั งบทดลอง
2. บรรทดั ที่ 1 ชอื่ กิจการ บรรทัดที่ 2 คาว่า งบทดลอง บรรทดั ที่ 3 วนั ที่
3. ลอกชอ่ื บัญชแี ละเลขทบ่ี ัญชลี งในช่องช่ือบญั ชีและเลขที่บัญชตี ามลาดับ นยิ ม
เรียงลาดับโดยเรียงจากบญั ชีหมวดสนิ ทรัพย์ หนส้ี ิน ทนุ รายได้ และค่าใช้จ่ายนายอดคงเหลอื
จากบัญชีแยกประเภท ไปใส่ในช่องเดบติ และเครดติ
- ถา้ ยอดคงเหลอื ในบัญชแี ยกประเภทเหลืออยูท่ างดา้ นเดบติ ใหน้ าไปใสช่ อ่ งเดบิต
- ถา้ ยอดคงเหลอื ในบัญชแี ยกประเภทเหลอื อยทู่ างดา้ นเครดติ ใหน้ าไปใส่ช่องเครดิต
- รวมยอด ยอดรวมท้งั สองด้านทงั้ ด้านเดบติ ต้องเท่ากับดา้ นเครดิต
หนว่ ยที่ 7 กระดาษทาการ
กระดาษทาการ
กระดาษทาการ (working paper or work sheet) หมายถึง กระดาษร่างที่นามาใช้
ในการจาแนกตัวเลขจานวนเงินของบัญชีต่าง ๆ ในงบทอลอง เพื่อจัดว่าตัวเลขใดจะนาไปใช้ใน
การจดั ทางบกาไรขาดทุน เพื่อคานวณหาผลกาไรขาดทุนของกจิ การ และตวั เลขใดที่จะนาไปแสดง
ในงบดุลเพ่ือให้เห็นฐานะการเงินของกิจการกระดาษทาการไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
จัดทาบัญชี แต่เป็นเพียงเคร่ืองมือที่ช่วยให้การจัดทางบการเงินถูกต้องและรวดเร็วขึ้นเท่านั้น
ดงั น้นั ผูจ้ ัดทาบญั ชีอาจจะจัดทากระดาษทาการหรือไม่กไ็ ด้
รูปแบบของกรดาษทาการ
กระดาษทาการมหี ลายชนิด เช่น กระดาษทาการ 6 ช่อง กระดาษทาการ 8 ชอ่ ง กระดาษ
ทาการ10 ช่อง และกระดาษทาการ 12 ช่อง จะเลือกใช้แบบใดข้ึนอยู่กับความต้องการและความ
จาเป็นท่ีต้องใช้ ตามจานวนและลักษณะความยุ่งยากของรายการบัญชีท่ีเกิดขึ้นในแต่ละกิจการ
สาหรับรูปแบบท่ีนิยมใช้กัน ได้แก่ กระดาษคาตอบ 8 ช่อง และกระดาษคาตอบ แบบ 10 ช่อง
เน่ืองจากสามารถช่วยการจัดทางบการเงินกรณีทีก่ ิจการมรี ายการปรบั ปรุงบัญชี ณ วันสิ้นงวด
ดว้ ย
หลักในการจัดทากระดาษทาการ
1. จดั เตรยี มแบบฟอร์มของการะดาษทาการ โดยเลือกรูปแบบท่เี หมาะสมกบั การจดั ทา
บญั ชีของกิจการ
2. เขยี นสว่ นหวั ของกระดาษทาการ ไดแ้ ก่ ชอื่ กจิ การ กระดาทาการและรอบระยะเวลา
บญั ชีที่จัดทา
วา่ กระดาษทาการน้นั เป็นการจัดทาขึ้นเพื่อชว่ ยในการจัดทางบการเงนิ สาหรบั ระยะเวลาบญั ชีใด
ส้ินสดุ วันทเี่ ทา่ ใด เชน่
บริษทั ทรัพย์ไพศาล จากดั
กระดาษทาการ
สาหรับรอบระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2551
3. นายอดคงเหลือของบญั ชีต่าง ๆจากงบทดลอง ทไี ด้จดั ทาเรยี บร้อยแล้วมาใส่ในชอ่ ง
“งบทดลอง” ของกระดาษทาการ เมอื่ ทดลองลงตวั กจ็ ัดทารายการอื่น ๆในกระดาทาการต่อไป
4. ปรับปรุงรายการ (ถ้าม)ี ในช่องรายการปรบั ปรุงและจัดทา งบทอลองหลังการ
ปรบั ปรงุ
5. จาแนกตัวเลขจานวนเงินในชอ่ ง ”งบทดลองหลงั การปรบั ปรงุ ” ไปใสใ่ นชอ่ ง
งบกาไรขาดทุน และงบดลุ
*ยกเว้น บญั ชปี รบั มูลคา่ สินทรัพย์ เช่น คา่ เผือ่ หน้สี งสัยจะสญู คา่ เสื่อมราคาสะสมจะใสช่ ่องงบ
ดุลดา้ นเครดิต
6.รวมยอดจานวนเงินในช่อง “งบกาไรขาดทนุ ” ดา้ นเดบิตและเครดติ และชอ่ ง “งบดลุ ”
ท้งั ดา้ นเดบติ และเครดติ
7.หาผลตา่ งระหวา่ งดา้ นเดบติ และเครดิตในช่อง “งบกาไรขาดทนุ ”
7.1ถ้ายอดรวมดา้ นเครดติ >ด้านเดบติ หมายถงึ การมรี ายไดม้ ากกวา่ คา่ ใช้จา่ ย
ผลตา่ งคอื กาไรสทุ ธิ (Net Profit) ให้เขียนผลตา่ งนีใ้ นห้อง “งบกาไรขาดทนุ ” ด้านเด
บิต และชอ่ ง “งบดุล” ดา้ นเครดิต
7.2ถ้ายอดรวมด้านเดบิต>ด้านเครดติ หมายถงึ การมีคา่ ใช้จ่ายมากกวา่ รายได้
ผลต่าง คอื ขาดทนุ สิทธิ (Net loss) ใหเ้ ขยี นจานวนผลต่างน้ีในชอ่ ง “งบกาไรขาดทนุ ”
ดา้ นเครดติ และช่อง”งบดลุ ” ด้านเดบติ
8.รวมยอดจานวนเงินทง้ั ทางดา้ นเดบติ และเครดิตในชอ่ ง “งบกาไรขาดทุน” และช่อง
“งบดลุ ”ซ่งึ ทงั้ 2 ขา้ งต้องเทา่ กัน
ตวั อย่างกระดาษทาการ 6 ชอ่ ง
ร้านมณจี ันทร์ซาลอน
กระดาษทาการ
สาหรับรอบระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2553
ชื่อบญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทุน งบดุล
เงินสด บญั ชี เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
101 75,000 75,000
เงินฝากธนาคาร 102 25,000 25,000
ลูกหน้ี
อาคาร 103 15,000 15,000
เจา้ หน้ี
เงินกู้ 104 250,000 250,000
ทุน
ถอนใชส้ ่วนตวั 201 6,400 6,400
รายไดค้ ่าบริการ
รายไดค้ า่ เช่า 202 25,000 25,000
คา่ สาธารณูปโภค
เงินเดือน 301 197,100 197,100
คา่ ใชจ้ ่ายเบด็ เตลด็
302 2,000 2,000
กาไรสุทธิ
401 160,000 160,000
402 5,000 500
501 2,500 2,500
502 17,500 17,500
503 6,500 6,500
393,500 393,500 26,500 160,500 367,000 228,500
138,500 138,500
165,000 165,000 367,000 367,000
หนว่ ยที่ 8 งบการเงิน
งบการเงิน
งบการเงิน เป็นรายงานทางการเงินท่ีนาเสนอข้อมูลเพื่อแสดงฐานะทางการเงินผล
การดาเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการโดยถูกต้องตามท่ีควรในแต่ละงวดบัญชีใดบัญชี
หนึ่งหรือระหว่างงวดบัญชีก็ได้ งบการเงินจะแสดงข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควรก็ต่อเม่ือกิจการ
ไดป้ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานการ บัญชีอย่างเหมาะสม รวมท้งั การเปิดเผยขอ้ มูลเพิ่มเตมิ เมอื่ จาเป็น งบ
การเงินดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ และสามารถ
แสดง ถึงผลการบรหิ ารงานของฝา่ ยบรหิ าร ซึ่งได้รบั ความไวว้ างใจให้ดูแลทรัพยากรของกิจการ
งบการเงินต้องจัดทาอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง และต้องนาเสนอข้อมูลดังต่อไป น้ีคือ สินทรัพย์
หน้ีสิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย และกระแสเงินสด ส่วนประกอบของงบการเงินท่ี
สมบูรณ์ ควรประกอบดว้ ย
1. งบดุล [ Balance Sheet ] เป็นรายงานที่จดั ทาข้นึ เพื่อแสดงฐานะทางการเงินของ
กจิ การ ณ วันใดวนั หนึ่ง
2. งบกาไรขาดทนุ [ Income Statement ] เป็นรายงานท่จี ัดทาขน้ึ เพ่ือแสดงผลการ
ดาเนินงานของกจิ การในระหว่างงวดบญั ชี หรือส้ินงวดบัญชีใดบญั ชี
3. งบแสดงการเปลยี่ นในส่วนของเจา้ ของ [ Statement of Changes in owner
Equity ] หมายถงึ รายงานทจ่ี ดั ทาขน้ึ เพื่อแสดงการเปลย่ี นแปลงใน ส่วนของเจ้าของ
4. งบกระแสเงนิ สด [ Cash flow Statement ] เป็นรายงานท่ีแสดงถึงการไดม้ าและ
ใช้ไปของเงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสด
5. หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ [ Note to financial Statement ] ประกอบด้วย
คาอธบิ าย และการวิเคราะห์รายละเอยี ดของจานวนเงินท่แี สดงในงบดุล งบกาไรขาดทนุ งบ
กระแสเงนิ สด และงบการเปล่ยี นแปลงในสว่ นของเจ้าของ โดยแสดงในรปู ของงบยอ่ ย หรอื งบ
ประกอบตา่ ง ๆ รวมทั้งขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ขอ้ มูลทมี่ าตรฐาน การบัญชีกาหนดใหเ้ ปิดเผย และการ
เปิดเผยข้อมลู อ่นื ทจี่ ะทาใหง้ บการเงนิ แสดงโดยถกู ต้องตามทค่ี วร ซงึ่ จะเป็นประโยชนต์ อ่ ผูใ้ ชง้ บ
การเงนิ ในการตดั สนิ ใจไดถ้ กู ต้อง โครงสร้างหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน ดังนี้
5.1 หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ของกิจการ ต้อง - แสดงข้อมลู เกยี่ วกับเกณฑ์
การจดั ทางบการเงนิ และนโยบายการบญั ชที ี่เลอื กใชก้ ับรายการและเหตุการณท์ างบญั ชีทีส่ าคญั
- เปิดเผยขอ้ มลู ตามทม่ี าตรฐานการบัญชีกาหนด - ใหข้ อ้ มูลเพ่ิมเตมิ ทไ่ี มไ่ ด้แสดงอยใู่ นงบ
การเงินแตเ่ ป็นขอ้ มลู ทจ่ี าเป็น เพื่อให้งบการเงนิ น้นั แสดงโดยถกู ต้องตามทค่ี วร
5.2 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ต้องแสดงอยา่ งเป็นระบบ รายการแตล่ ะรายการ
ในงบดลุ งบกาไรขาดทนุ และงบกระแสเงินสดต้องอ้างอิงขอ้ มูล ท่ีเก่ียวข้องในหมายเหตุ
ประกอบงบการเงนิ ได้ การนาเสนองบการเงนิ มี 2 ประเภท
5.2.1 งบการเงินประจาปี เป็นงบการเงนิ ที่จดั ทาข้ึน ณ วนั สิน้ งวดบัญชี
เพ่ือแสดงฐานะการเงิน ผลการดาเนนิ งาน และกระแสเงินสดในรอบปีบัญชีนั้น ๆ ของกิจการ
5.2.2 งบการเงินระหว่างกาล เป็นงบการเงนิ ทจ่ี ัดทาขึน้ ระหว่างงวดบญั ชี
เพื่อแสดงฐานะทางเงนิ ผลการดาเนินงาน และกระแสเงนิ สด ซ่งึ เป็นประโยชนต์ ่อผู้บริหาร และ
ผู้ใชง้ บการเงินได้ทราบขอ้ มลู ทางการเงินกอ่ นสน้ิ งวดบัญชี เช่น งบการเงินรายเดอื น รายไตร
มาส รายครึ่งปี เป็นตน้ การจัดทางบการเงนิ เม่อื กจิ การไดม้ ีการปรบั ปรุงและแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด
ทางบญั ชีตา่ งๆ เป็นท่เี รียบร้อยแล้วรูปแบบของงบการเงนิ มี 2 แบบคอื แบบบัญชีและแบบ
รายงานซ่งึ ถือวา่ แบบรายงานเป็นทน่ี ิยมใชใ้ นเชงิ ปฏบิ ัตมิ ากท่ีสดุ ในปจั จบุ นั
หน่วยที่ 9 การปิดบัญชี
การปิดบญั ชี
การปิดบัญชี (Closing Entries) หมายถึง การโอนบญั ชที ่เี กี่ยวขอ้ งกับบัญชที ุน
ซง่ึ เป็นบัญชีช่ัวคราว ไดแ้ ก่บัญชถี อนใชส้ ่วนตวั บญั ชรี ายได้ และบัญชีคา่ ใช้จา่ ย ไปยงั บัญชที นุ
เพ่ือหายอดคงเหลอื ของบญั ชีทุนที่ถูกตอ้ ง ณ วนั ส้ินงวดบญั ชี รวมทง้ั การหายอด คงเหลอื
ของบัญชีสินทรพั ย์ และหนส้ี ิน ซง่ึ หลงั จากทาการปิดบัญชีแลว้ บัญชที ี่เหลอื อยู่ ไดแ้ ก่ บัญชี
สนิ ทรัพย์ บญั ชหี นส้ี ิน และบัญชีทุน เพ่ือยกไปยังงวดบัญชถี ัดไป
ขนั้ ตอนในการปิดบัญชี
การปิดบัญชจี ะบันทกึ ตามหลักการบัญชปี กติ คือ จะทาการบันทึกในสมดุ รายวนั
ทัว่ ไปแล้วผา่ นไปยงั บัญชแี ยกประเภทดังน้ี
1. บันทึกรายการปิดบญั ชีประเภทรายไดแ้ ละประเภทคา่ ใช้จ่ายในสมดุ
รายวันท่ัวไป
2. ผา่ นรายการปิดบัญชีในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป ไปยังบญั ชแี ยกประเภทท่ี
เกี่ยวขอ้ ง การปิดบญั ชีมีขน้ั ตอนดงั น้ี
ขน้ั ตอนท่ี 1 บนั ทกึ รายการปิดบญั ชใี นสมดุ รายวนั ทวั่ ไป
1.1 บันทึกรายการปิดบัญชีในหมวดรายได้เขา้ บัญชีกาไรขาดทนุ
1.2 บันทกึ รายการปิดบัญชีในหมวดคา่ ใช้จา่ ยเขา้ บัญชีกาไรขาดทนุ
1.3 บันทึกรายการปิดบัญชีกาไรขาดทนุ เขา้ บัญชีส่วนของเจา้ ของ(ทุน)
1.4 บนั ทึกรายการปิดบัญชีถอนใช้สว่ นตัวหรอื เงินถอนเขา้ บัญชีทุน
ขน้ั ตอนท่ี 2 ผา่ นรายการปิดบญั ชี จากสมดุ รายวันทว่ั ไปไปยงั สมดุ แยกประเภท
ทัว่ ไป
ขน้ั ตอนท่ี 3 การปิดบัญชีทรพั ยส์ นิ หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ ในสมุดบัญชี
แยกประเภทท่วั ไป
ขน้ั ตอนที่ 4 การจดั ทางบทดลองหลงั การปิดบัญชี
การบนั ทกึ รายการปิดบญั ชีในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป
1. บนั ทึกรายการปิดบญั ชใี นหมวดรายไดเ้ ข้าบัญชกี าไรขาดทนุ
เดบติ รายได้ (ระบชุ ่อื ) xx
เครดิต กาไรขาดทุน xx
2. บนั ทึกรายการปิดบัญชใี นหมวดค่าใชจ้ ่ายเข้าบัญชกี าไรขาดทนุ
เดบิต กาไรขาดทนุ xx
เครดติ ค่าใช้จ่าย (ระบุชือ่ ) xx
3. บันทึกรายการปิดบญั ชีกาไรขาดทุนเข้าบญั ชีส่วนของเจ้าของ(ทุน)
* ถา้ รายได้มากกว่าคา่ ใช้จ่าย จะมีผลกาไรสทุ ธิ ซ่ึงทาให้บญั ชีส่วนของเจา้ ของ(บัญชที นุ )
เพ่ิมขึน้ จะบันทกึ ดังนี้
เดบติ กาไรขาดทุน xx
เครดติ ทนุ ................... xx
* ถา้ รายไดน้ ้อยกว่าค่าใชจ้ ่าย จะมีผลขาดทนุ สทุ ธิ ซ่งึ ทาใหบ้ ญั ชีสว่ นของเจ้าของ (บัญชที นุ )
ลดลงจะบันทึก ดังนี้
เดบติ ทุน................... xx
เครดติ กาไรขาดทุน xx
4. บนั ทึกรายการปิดบัญชถี อนใช้ส่วนตวั หรอื เงินถอนเข้าบญั ชีทนุ
เดบติ ทนุ ................... xx
เครดติ ถอนใชส้ ่วนตวั /เงินถอน xx
ตวั อยา่ ง การบนั ทกึ รายการปิดบญั ชใี นสมดุ รายวนั ทว่ั ไป
ตวั อยา่ งการปิดบญั ชี สนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ และทนุ ในบญั ชีแยกประเภททว่ั ไป
สรปุ วงจรบญั ชี