The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชื่อวิจัย ผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อสมาชิกในกลุ่ม
นางสาวชนิตา วงษ์แก้ว
6212404001147
นางสาวพวงเพ็ญ กองเจริญ 6212404001154
นางสาวธนพร ศรีพุฒ
6212404001157
นางสาวเบญญาภา มีเพียร 6212404001165
นางสาวศศิธร สองเมือง 6212404001167
นางสาวสุจิรา เพชรนิล
6212404001172
กลุ่มเรียน 62063.122

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-23 04:24:06

ผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา

ชื่อวิจัย ผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อสมาชิกในกลุ่ม
นางสาวชนิตา วงษ์แก้ว
6212404001147
นางสาวพวงเพ็ญ กองเจริญ 6212404001154
นางสาวธนพร ศรีพุฒ
6212404001157
นางสาวเบญญาภา มีเพียร 6212404001165
นางสาวศศิธร สองเมือง 6212404001167
นางสาวสุจิรา เพชรนิล
6212404001172
กลุ่มเรียน 62063.122

ช่ือเรอื่ งวจิ ยั

ผลกระทบของความมน่ั คงในการทำงานทีม่ ตี อ่ ประสิทธิภาพการทำงานของนัก
บัญชีหน่วยงานราชการในจังหวดั นครราชสมี า
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.ธนายุ ภูว่ ิทยาธร
คณะผูว้ ิจยั

นางสาวชนิตา วงษแ์ กว้ รหสั นักศกึ ษา 6212404001147
นางสาวพวงเพญ็ กองเจรญิ รหัสนักศกึ ษา 6212404001154
นางสาวธนพร ศรีพุฒ รหสั นกั ศึกษา 6212404001157
นางสาวเบญญาภา มเี พียร รหสั นกั ศกึ ษา 6212404001165
นางสาวศศธิ ร สองเมอื ง รหัสนักศึกษา 6212404001167
นางสาวสจุ ริ า เพชรนิล รหสั นกั ศึกษา 6212404001172
หลกั สตู รวทิ ยาการจดั การ สาขาบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ ปกี ารศึกษา 2564



สารบญั
สารบัญตาราง ......................................................................................................................ค
สารบญั ตาราง(ต่อ) ............................................................................................................... ง
บทคัดยอ่ ..............................................................................................................................จ
บทท่ี 1 บทนำ.....................................................................................................................1

ความสำคัญและทมี่ าของปญั หา.....................................................................................1
วัตถุประสงค์การวจิ ัย......................................................................................................1
กรอบแนวคดิ การวิจยั .....................................................................................................1
สมมตุ ิฐานการวจิ ยั ..........................................................................................................2
นยิ ามศัพท์เฉพาะ ...........................................................................................................2
บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม ..........................................................................................4
แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความมน่ั คงในการทำงานท่ีดตี ่อองค์กร ......................4
ความหมายของความมัน่ คงในการทำงานทดี่ ีตอ่ องคก์ ร .................................................4
แนวคดิ ทฤษฎที เ่ี ก่ียวข้องเร่ืองประสทิ ธภิ าพในการทำงาน...........................................11
ความหมายของประสิทธิภาพในการทำงาน .................................................................11
บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ การวจิ ยั ..........................................................................................16
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ..........................................................................................16
เครอื่ งมอื การวจิ ัย .........................................................................................................16
การทดสอบคุณภาพเคร่อื งมือการวิจยั .........................................................................17
วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู .............................................................................................17
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู .......................................................................................................18



สารบัญ(ต่อ)
บทท่ี 4 ผลการวิจัย ............................................................................................................19
บทท่ี 5 สรปุ ผล การอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะการวิจยั ...............................................33

สรปุ ผล..........................................................................................................................33
ขอ้ เสนอแนะการวิจัย....................................................................................................33
คำอภิปราย ...................................................................................................................34
บรรณานุกรม .....................................................................................................................35
ภาคผนวก ..........................................................................................................................36
ภาคผนวก ก เคร่อื งมอื การวิจัย .........................................................................................37
แบบสอบถาม .....................................................................................................................38
แบบสอบถามสำหรับงานวิจัย ............................................................................................39
ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์ความเท่ยี งตรงเชงิ เนื้อหา....................................................46
ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะห์ความเชอื่ มน่ั ตรงเชงิ เน้ือหา ................................................47



สารบัญตาราง

ตารางท2่ี .1สงั เคราะห์องค์ประกอบตัวแปรความมั่นคงในการทำงานทดี่ ตี ่อองค์กร………………… 13
ตารางที่ 2.2 สงั เคราะห์องคป์ ระกอบตัวแปรประสิทธภิ าพในการทำงาน………………………………….18
ตารางที่ 1 จำนวนความถ่ีและคา่ ร้อยละจำแนกตามเพศ……………………………………………………….26
ตารางท่ี 2 จำนวนความถี่และค่าร้อยละจำแนกตามอายุ………………………………………………………..27
ตารางท่ี 3 จำนวนความถ่ีและคา่ รอ้ ยละจำแนกตามสถานภาพ………………………………………………27
ตารางท่ี 4 จำนวนความถี่และคา่ รอ้ ยละจำแนกตามรายได้ต่อเดอื น…………………………………………28
ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลยี่ คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน……………………………………………………………..30
ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลย่ี คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน………………………………………………………………31
ตารางท่ี 7 แสดงคา่ เฉลี่ย ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน……………………………………………………………….32
ตารางท่ี 8 แสดงคา่ เฉลี่ย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน………………………………………………………………..33
ตารางที่ 9 แสดงคา่ เฉลย่ี ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความมัน่ คงในการทำงานท่ีดตี อ่ องค์กร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………34
ตารางที่ 10 แสดงค่าเฉลยี่ ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความม่นั คงในการทำงานทดี่ ตี อ่
องค์กร………………………………………………………………………………………………………………………………..35
ตารางท่ี 11 แสดงคา่ เฉลย่ี ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความมัน่ คงในการทำงานที่ดตี ่อ
องค์กร………………………………………………………………………………………………………………………………..36



สารบัญตาราง(ต่อ)

ตารางที่ 12 แสดงคา่ เฉล่ีย ค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับความมน่ั คงในการทำงานทด่ี ีตอ่
องค์กร………………………………………………………………………………………………………………………….36
ตารางท่ี 13 แสดงคา่ เฉล่ีย คา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความม่ันคงในการทำงานที่ดีตอ่
องค์กร…………………………………………………………………………………………………………………………..37
ตารางที่ 14 แสดงค่าเฉล่ยี ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ความม่นั คงในการทำงานทีด่ ตี ่อ
องค์กร……………………………………………………………………………………………………………………………38
ตารางท่ี 15 แสดงค่าเฉล่ยี ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับความม่นั คงในการทำงานที่ดตี อ่
องค์กร…………………………………………………………………………………………………………………………….39



บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานที่มีต่อ
ประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมาประชากรกลุ่มตัวอย่าง
เปน็ นักบญั ชีหน่วยงานราชการในจงั หวัดนครราชสีมาโดยใช้เครอื่ งมือแบบสอบถามในการเกบ็ รวบรวม
ข้อมูลจากนักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 232 ฉบับสถิติที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณและการวิเคราะห์ความถดถอยเเบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า
ความมั่นคงในการทำงาน และผลกระทบเชิงภาพกับประสิทธิภาพการทำงาน ผลการศึกษาน้ีแสดงให้
เห็นว่า นักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมาท่ีมีความมั่นคงในการทำงานจะมีผลการ
ทำงานที่มตี ่อประสิทธภิ าพการทำงานมากขน้ึ ไปด้วย เม่อื พวกเขาให้ความสำคัญกับความม่ันคงในการ
ทำงานเพม่ิ มากขึ้น

คำสำคญั : ความมน่ั คงในการทำงาน ประสทิ ธภิ าพการทำงานของนักบญั ชีหนว่ ยงานราชการ

1

บทที่ 1
บทนำ

ความสำคัญและที่มาของปัญหา

วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย
1. เพ่ือศึกษาความม่นั คงในการทำงานทมี่ ตี ่อองค์กรของนักบญั ชหี น่วยงานราชการในจังหวดั
นครราชสีมา
2. เพ่ือศกึ ษาประสทิ ธิภาพในการทำงานของนักบัญชหี นว่ ยงานราชการในจงั หวัดราชสมี า
3. เพอ่ื ศึกษาความม่นั คงในการทำงานทีด่ ตี ่อองคก์ รทส่ี ่งผลต่อประสทิ ธิภาพในการทำงานของ
นกั บัญชหี น่วยงานราชการในจังหวัดราชสมี า

กรอบแนวคิดการวจิ ยั ตวั แปรตาม
ตวั แปรอสิ ระ

ความมน่ั คงในการทำงานท่ดี ีต่อองคก์ ร ประสทิ ธิภาพในการทำงาน
ดา้ นเวลา
ดา้ นความรูส้ กึ เชอื่ มั่นจะได้รบั การ
จ้างงานจนเกษยี ณอายุ ด้านคณุ ภาพของงาน
ด้านปริมาณงาน
ดา้ นโอกาสก้าวหน้าในการทำงาน

ดา้ นผลตอบแทนทแี่ น่นอน

ด้านการไดร้ บั การปกครองอย่าง
เป็นธรรม

ด้านความปลอดภัยในการ
ปฏิบตั ิงาน

2

สมมุติฐานการวิจัย
ความมั่นคงในการทำงานที่ดีต่อองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของนักบัญชีหน่วยงาน
ราชการในจังหวัดราชสีมาเชงิ บวก

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
ความมั่นคงในการทำงานที่ดีต่อองค์กร หมายถึง ความมั่นคงด้านงาน มีหลักประกันในการทำงาน
(ณัทชา อมรไชย : 2548), ศิริวรรณ สุจรติ (2551 : 98 - 99),เสนาะ เยาว์ (2546 : 80)

1. ด้านความรู้สึกเชื่อมั่นว่าจะได้รับการจ้างงานจนเกษียณอายุ (Long Life Employment)
หมายถึง สภาพจิตใจและความรู้สึกของนักบัญชีหน่วยงานราชการ ที่เกิดจากการรับรู้หรือประเมิน
ปัจจัยต่างๆ ในองค์กรที่แสดง ถึงการจ้างงานที่แน่นอน การให้ความคุ้มครองป้องกัน การมี
หลักประกันในการทำงานและมีผลตอบแทนจากการ ทำงาน ทั้งในขณะที่บุคคลปฏิบัติงานอยู่ใน
องคก์ ร และหลังจากท่บี คุ คลออกจากองค์กรไปแลว้

2. ด้านโอกาสก้าวหน้าในการทำงาน (Job Advancement) หมายถึง การที่นักบัญชีหน่วยงาน
ราชการมีโอกาสได้เลือ่ นตำแหน่งงานสูงขึ้น การมีโอกาสก้าวหนา้ จากความสามารถในการการทำงาน
โดยองค์กร ใช้ความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ และมีวิธีการที่ยุติธรรมในการเลือกเป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถเหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่ การให้ความเสมอภาคและโอกาสอันทัดเทียมผู้ที่มี
คุณสมบัติ ความรู้ความสามารถในการเล่ือนขั้น เลื่อนตำแหน่ง และการพิจารณาบำเหนจ็ บำนาญโดย
ไม่ต้องเลือกชั้น วรรณะ ศาสนา หรือเพศ นอกจากนี้ยังมี โอกาสในการการพัฒนาตนเองด้วยการ
ฝึกอบรม การศกึ ษาตอ่

3. ด้านผลตอบแทนที่แน่นอน (Certain Compensation) หมายถึง ผลตอบแทนที่นักบัญชี
หน่วยงาน ราชการได้รับจากองค์กรจากงานที่ทำ โดยทั่วไปมักเป็นรูปของตัวเงิน และผลตอบแทนใน
รูปอื่น เช่น สวัสดิการและ บริการที่องค์กรจัดให้ เป็นที่แน่นอนว่านักบัญชีหน่วยงานราชการทุกคน
ภายในองค์กรต้องการค่าตอบแทนที่เพียงพอ และยุติธรรมสำหรับทุกคนและให้มีคุณค่าเหมาะสมกับ
งานที่ทำให้องคก์ ร

3

4. ด้านการได้รับการปกครองอย่างเป็นธรรม (Governance Justice) หมายถึง การที่นักบัญชี
หนว่ ยงานราชการได้รับการปกครองจากผู้บงั คับบัญชาโดยปราศจากความหวาดระแวงว่างานท่ีตนทํา
อาจไม่ถูกใจ ผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาเอาเรื่องสว่ นตัวหรอื เรื่องทีไ่ ม่เกี่ยวกับหน้าที่การงานเข้ามา
เกี่ยวข้องในการทำงาน หรือระแวงว่าอาจถูกกลั่นแกล้ง ไม่ได้รับความเป็นธรรม จนเกิดความรู้สึกไม่
มน่ั คงในการทำงาน
5. ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (Job Safety) หมายถึง การที่นักบัญชีมีความรู้สึก
ปลอดภัย ว่าจะไม่ถูกออกจากงานตราบเท่าที่ทำงานอยู่ โดยไม่ถูกกลั่นแกล้งให้ออกจากงานโดย
เหตุผลทางการเมืองหรือเหตุผล ส่วนตัว และมีหลักประกันในการทำงานเมื่อเจ็บป่วย หรือเมื่อเกิด
อุบัติเหตุนอกเหนือกฎหมายกำหนดจะได้รับการ คุ้มครองมิให้ออกจากงาน และการมีหลักประกันใน
เรอ่ื งบำเหนจ็ บำนาญเมื่อพน้ จากการทำงานในองค์กรแล้ว

4

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม

แนวคิดและทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้องกับความมน่ั คงในการทำงานทด่ี ีตอ่ องคก์ ร
ความหมายของความม่ันคงในการทำงานทด่ี ตี อ่ องค์กร

มติชน สุดสัปดาห์ (2550) ไดใ้ ห้ความหมายของ ความมั่นคงในการทำงานทด่ี ตี ่อองค์กรหมายถึงการดู
ถูกตัวเองคือการดูองค์กรทเี่ ช่ือมโยงกบั คนจำนวนมากที่ตอ้ งการทำงานในรฐั บาลเพราะรัฐบาลทำให้
นึกถงึ ความมัน่ คงการเข้าส่งู านราชการเทา่ กับฝากชวี ิตเกษียณแล้วมีเงินบำนาญไม่ต้องห่วงความม่ันคง
ในการทำงานเปน็ เรือ่ งที่คนทุกภาคสว่ นในองค์กรแสวงหาเพ่ือความแนน่ อนในชวี ิตการทำงานหาก
บคุ ลากรทำงานโดยปราศจากความกังวลการมองหาความมนั่ คงในชีวิตโดยไร้ทิศทางจะนำมาซงึ่
ผลผลติ มหาศาลและความภักดีท่ีองคก์ รจะได้รบั ดังน้นั ความมน่ั คงในการทำงานจงึ เปรยี บเสมอื นการ
จ้างงานระหว่างองค์กรและพนกั งานหรือข้าราชการระยะยาว (Long Term Contact) ซ่ึงเป็นงานที่
จะออกจากองค์กรหรือเมื่อเกษียณอายุ

สร้อยตระกูล (ทวยนนท์) อาตมานะ (2535) ไดใ้ ห้ความหมายของ ความมนั่ คงในการทำงานที่ดีต่อ
องค์กร หมายถึง ความมัน่ คงของงานจึงเป็นสง่ิ สำคญั อยา่ งยง่ิ ท่ีองค์กรควรตระหนักและให้
ความสำคญั ต่องานความมนั่ คงเป็นแรงจงู ใจในการทำงานทจ่ี ำเปน็ และสำคัญต่อการดำเนนิ การ
ขององคก์ รความมัน่ คงในภาครัฐหมายความวา่ การมหี ลกั ประกนั วา่ ราชการจะได้รบั ความคุ้มครอง
ตามกฎหมายตราบทีข่ ้าราชการสามารถประกอบอาชีพนั้นไดโ้ ดยไมถ่ ูกลงโทษให้ออกจากราชการหรือ
ถูกรังแกด้วยเหตผุ ลทางการเมืองหรือส่วนตวั

ณทั ณิชา อมรไชย (2548) ไดใ้ หค้ วามหมายของความม่ันคงในการทำงานทีด่ ีต่อองคก์ ร
หมายถงึ ความมัน่ คงในชวี ิต กลา่ วคือ บคุ คลมีความรูส้ ึกม่ันใจว่าตนจะถูกจา้ งจน เกษยี ณและมี
โอกาสก้าวหน้าในหนา้ ที่การงานมีรางวัลบางอย่างทไี่ ดร้ บั การธรรมาภบิ าลรวมถึงการไดร้ บั ความ
ปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ านเพื่อใหบ้ คุ ลากรมีขวญั กำลังใจในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อยา่ งเตม็ ท่ี

(วกิ รม อัศวกลุ , 1998) ไดใ้ ห้ความหมายของความมนั่ คงในการทำงานทดี่ ีต่อองค์กร หมายถึงความ
มั่นคงในการทำงานจะกระตุ้นให้พนักงานมคี วามขยนั หมั่นเพยี รในการทำงานตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่
การทำงานนน้ั ทำให้แน่ใจว่าการปฏิบัติหนา้ ท่ีนน้ั ได้รับการปฏบิ ตั ิอย่างเป็นกลางขวัญกำลังใจของ
พนักงาน

5

จากการทบทวนวรรณกรรมผู้วจิ ยั สามารถสรุปความหมายของความม่ันคงในการทำงานท่ีดีตอ่ องค์กร
หมายถึง ความม่นั คงในชวี ติ (มติชน สดุ สัปดาห์ (2550),สร้อยตระกูล (ทวยนนท์) อาตมานะ
(2535),ณัทณิชา อมรไชย (2548), (วิกรม อัศวกลุ , 1998) ซง่ึ การดูองคก์ รทเี่ ชื่อมโยงกับคน
จำนวนมาก(มตชิ น สดุ สปั ดาห์ (2550),สร้อยตระกลู (ทวยนนท)์ อาตมานะ (2535),ณัทณิชา
อมรไชย (2548), (วิกรม อศั วกุล, 1998)ว่าเป็นหน้าท่ีทต่ี ้องปฏิบัตแิ ต่บคุ ลากรทำงานโดย
ปราศจากความกังวล(มตชิ น สุดสปั ดาห์ (2550),สรอ้ ยตระกูล (ทวยนนท)์ อาตมานะ (2535),
(2548),ณทั ณิชา อมรไชย (วกิ รม อศั วกุล, 1998)เพ่ือองคก์ รนำมาซึ่งผลผลิตมหาศาลและความ
ภักดีทอี่ งค์กรชีวติ (มตชิ น สุดสปั ดาห์ (2550),สร้อยตระกลู (ทวยนนท์) อาตมานะ (2535),ณัทณิ
ชา อมรไชย (2548), (วิกรม อศั วกลุ , 1998)รวมถงึ ความภกั ดที ี่องคก์ ร

องค์ประกอบความมั่นคงในการทำงานที่ดตี อ่ องค์กร

จักรพงษ์ กติ ติพงษ์พิทยา (2552) ไดใ้ หอ้ งค์ประกอบของความมั่นคงในการทำงานทด่ี ีตอ่ องค์กร
จำนวน 5 ด้าน โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

1.ความมั่นคงในการทำงานรู้สึกม่ันใจว่าจะมีงานทำไปจนเกษียณ หมายถึงความมั่นคงในการทำงาน
ทำให้นกั บัญชรี ้สู กึ ว่างานทที่ ำทกุ วนั มเี สถียรภาพสามารถเป็นอาชพี ไดต้ ลอดไปจนเกษยี ณอายุ

2.โอกาสกา้ วหน้าในหน้าที่การงาน หมายถงึ ความมัน่ คงของงานทำให้นักบัญชีรู้สกึ ว่ามีโอกาส
ก้าวหน้าในการทำงานไดร้ ับการเลื่อนตำแหนง่ หรือแตง่ ต้ังให้ดำรงตำแหนง่ ทส่ี งู ข้นึ ตามความรู้
ความสามารถในการทำงาน

3.ดา้ นผลตอบแทนท่แี น่นอน หมายถงึ มีความมน่ั คงในการทำงานทำใหน้ กั บญั ชรี ู้สกึ ว่าเงินเดือน
คา่ จา้ งที่ไดร้ บั จากงานปจั จุบันมีหลักประกนั ความมน่ั คงในชีวติ และเพียงพอท่ีจะเลยี้ งดูตนเองและ
ครอบครัวได้อย่างยตุ ิธรรมเมื่อเทยี บกับองคก์ รอ่นื ๆที่มลี ักษณะใกลเ้ คียงกัน

4. ด้านการได้รับการปกครองอยา่ งเปน็ ธรรม หมายถงึ เรือ่ งความปลอดภยั ในการทำงานทำใหน้ ัก
บัญชรี ้สู กึ ไดร้ บั การปกป้องจากผูบ้ ังคบั บญั ชามโี อกาสกำหนดแนวทางการทำงานดว้ ยตนเองและ
สามารถตดั สนิ ใจหรือแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั งานที่รับผดิ ชอบอย่างเต็มท่ี

6

5. ดา้ นความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน หมายถึง เรื่องความปลอดภยั ของงานทำให้นักบัญชรี ูส้ กึ วา่
หน่วยงานจะให้ความคุม้ ครองทางกฎหมายโดยไมม่ ีการลงโทษหรอื เลิกจา้ งจากทางราชการ ดว้ ย
เหตุผลทางการเมืองหรือสว่ นตวั มีความปลอดภัยในการทำงานจากสวสั ดิการต่างๆท่หี น่วยงานจดั ให้

7

ณัทณิชา อมรไชย ( 2548) ได้ใหอ้ งค์ประกอบของความมัน่ คงในการทำงานทีด่ ตี ่อองค์กร
จำนวน 5 ดา้ น โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี

1. ด้านความรู้สึกเชื่อมั่นว่าจะได้รับการจ้างงานจนเกษียณอายุ (Long Life Employment)
หมายถึง สภาพจิตใจและความรู้สึกของนักบัญชีหน่วยงานราชการ ที่เกิดจากการรับรู้หรือประเมิน
ปัจจัยต่างๆ ในองค์กรที่แสดง ถึงการจ้างงานที่แน่นอน การให้ความคุ้มครองป้องกัน การมี
หลกั ประกนั ในการทำงานและมผี ลตอบแทนจากการ ทำงานทงั้ ในขณะท่ีบุคคลปฏิบัติงานอยู่ในองค์กร
และหลงั จากทบ่ี ุคคลออกจากองคก์ รไปแลว้

2. ด้านโอกาสก้าวหน้าในการทำงาน (Job Advancement) หมายถึง การที่นักบัญชีหน่วยงาน
ราชการมีโอกาสได้เลื่อนตำแหน่งงานสูงขึ้น การมีโอกาสก้าวหนา้ จากความสามารถในการการทำงาน
โดยองค์กร ใช้ความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ และมีวิธีการที่ยุติธรรมในการเลือกเป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถเหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่ การให้ความเสมอภาคและโอกาสอันทัดเทียมผู้ที่มี
คุณสมบัติ ความรู้ความสามารถในการเลือ่ นขั้น เลื่อนตำแหน่ง และการพิจารณาบำเหนจ็ บำนาญโดย
ไม่ต้องเลือกชั้น วรรณะ ศาสนา หรือเพศ นอกจากนี้ยังมี โอกาสในการการพัฒนาตนเองด้วยการ
ฝึกอบรม การศกึ ษาตอ่

3. ด้านผลตอบแทนที่แน่นอน (Certain Compensation) หมายถึง ผลตอบแทนที่นักบัญชี
หน่วยงาน ราชการได้รับจากองค์กรจากงานที่ทำ โดยทั่วไปมักเป็นรูปของตัวเงิน และผลตอบแทนใน
รูปอื่น เช่น สวัสดิการและ บริการที่องค์กรจัดให้ เป็นที่แน่นอนว่านักบัญชีหน่วยงานราชการทุกคน
ภายในองค์กรต้องการค่าตอบแทนที่เพียงพอ และยุติธรรมสำหรับทุกคนและให้มีคุณค่าเหมาะสมกบั
งานทที่ ำใหอ้ งคก์ ร

4. ด้านการได้รับการปกครองอย่างเป็นธรรม (Governance Justice) หมายถึง การที่นักบัญชี
หน่วยงานราชการได้รับการปกครองจากผู้บังคับบัญชาโดยปราศจากความหวาดระแวงว่างานท่ีตนทำ
อาจไม่ถูกใจ ผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาเอาเรือ่ งส่วนตัวหรือเรื่องที่ไม่เกี่ยวกบั หน้าที่การงานเข้ามา
เกี่ยวข้องในการทำงาน หรือระแวงว่าอาจถูกกลั่นแกล้ง ไม่ได้รับความเป็นธรรม จนเกิดความรู้สึกไม่
มน่ั คงในการทำงาน

5. ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (Job Safety) หมายถึง การที่นักบัญชีมีความรู้สึก
ปลอดภัย ว่าจะไม่ถูกออกจากงานตราบเท่าที่ทำงานอยู่ โดยไม่ถูกกลั่นแกล้งให้ออกจากงานโดย
เหตุผลทางการเมอื งหรือเหตุผล ส่วนตัว และมหี ลกั ประกนั ในการทำงานเมือ่ เจ็บป่วย

8

ตารางที่2.1สังเคราะหอ์ งค์ประกอบตัวแปรความมนั่ คงในการทำงานท่ดี ีต่อองคก์ ร

ดา้ น จักรพงษ์ ณทั ณชิ า สรอ้ ยตระกูล (ตวิ มตชิ น สุด วกิ รม อัสวกลุ ผวู้ จิ ัย

กิตติพงษ์ อมรไชย ยานนท์)อรรถมานะ สปั ดาห์ (2541) ✓

พิทยา (2548) (2535) (2550) ✓

(2552)

1. ความรูส้ ึกเช่ือมั่นว่าจะ

ไดร้ ับการจ้างงานจน ✓✓ ✓✓ ✓

เกษยี ณอายุ

2. โอกาสกา้ วหน้าในการ ✓ ✓
ทำงาน

3. ผลตอบแทนที่แน่นอน ✓ ✓ ✓✓

4. การได้รับการปกครอง ✓ ✓
อยา่ งเป็นธรรม

5. ดา้ นความปลอดภยั ใน ✓✓
การปฏิบัตงิ าน

6. ความจงรักภกั ดีต่อ ✓
องค์กร ✓

7. การปฏิบตั ติ าม
กฎระเบยี บขององค์กร

8. ความสำนึกในหนา้ ท่ี

9. ความคิดสรา้ งสรรค์ ✓ ✓
10. การพัฒนาตนเอง

11. ความอ่อนน้อมถ่อมตน ✓ ✓

ผวู้ จิ ัยสามารถสรปุ ผลองคป์ ระกอบด้วยตวั แปรความมน่ั คงในการทำงานทดี่ ีต่อองคก์ รได้ทั้งหมด 5
ด้าน โดยใชเ้ กณฑ์ที่ซ้ำกนั ร้อยละ 40 ขน้ึ ไป ประกอบดว้ ย ความรู้สกึ เชอื่ ม่ันวา่ จะได้รับการจ้างงานจน
เกษยี ณอายุ โอกาสกา้ วหน้าในการทำงาน ผลตอบแทนที่แน่นอน การได้รบั การปกครองอย่างเป็น
ธรรม ดา้ นความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน

9

ดา้ นที่ 1. ความรสู้ กึ เช่ือมน่ั ว่าจะได้รับการจ้างงานจนเกษียณอายุ

ณทั ณิชา อมรไชย (2548) ได้ให้ความหมายของความมั่นคงในการทำงานทด่ี ตี ่อองคก์ ร
หมายถึง ความมัน่ คงในชีวิต กลา่ วคือ บคุ คลมีความรู้สึกมั่นใจวา่ ตนจะถูกจา้ งจน เกษยี ณและมี
โอกาสกา้ วหนา้ ในหน้าท่ีการงานมีรางวลั บางอยา่ งทไี่ ดร้ บั การธรรมาภิบาลรวมถึงการได้รับความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติงานเพื่อให้บุคลากรมีขวญั กำลงั ใจในการปฏิบัติหนา้ ท่ีอย่างเต็มท่ี

มตชิ น สุดสัปดาห์ (2550) ได้ให้ความหมายของ ความมั่นคงในการทำงานที่ดตี ่อองค์กรหมายถึงการดู
ถกู ตัวเองคอื การดูองค์กรท่เี ช่ือมโยงกับคนจำนวนมากท่ีตอ้ งการทำงานในรัฐบาลเพราะรัฐบาลทำให้
นกึ ถงึ ความมน่ั คงการเขา้ สงู่ านราชการเทา่ กบั ฝากชีวิตเกษียณแลว้ มีเงินบำนาญไม่ต้องห่วงความมน่ั คง
ในการทำงานเปน็ เรอ่ื งท่คี นทุกภาคสว่ นในองคก์ รแสวงหาเพื่อความแนน่ อนในชีวิตการทำงานหาก
บคุ ลากรทำงานโดยปราศจากความกังวลการมองหาความมัน่ คงในชีวิตโดยไร้ทศิ ทางจะนำมาซ่งึ
ผลผลิตมหาศาลและความภักดีทอี่ งคก์ รจะได้รบั ดังนั้นความม่ันคงในการทำงานจึงเปรยี บเสมือนการ
จา้ งงานระหวา่ งองค์กรและพนกั งานหรือขา้ ราชการระยะยาว (Long Term Contact) ซ่ึงเป็นงานที่
จะออกจากองคก์ รหรือเม่ือเกษียณอายุ

สร้อยตระกลู (ทวยนนท)์ อาตมานะ (2535) ได้ให้ความหมายของ ความมนั่ คงในการทำงานที่ดีตอ่
องค์กร หมายถึง ความม่นั คงของงานจงึ เป็นสิง่ สำคัญอย่างย่ิงทอ่ี งคก์ รควรตระหนกั และให้
ความสำคญั ต่องานความม่ันคงเปน็ แรงจูงใจในการทำงานท่จี ำเปน็ และสำคญั ต่อการดำเนนิ การ
ขององค์กรความมัน่ คงในภาครัฐหมายความวา่ การมีหลักประกันวา่ ราชการจะไดร้ บั ความคุ้มครอง
ตามกฎหมายตราบท่ขี ้าราชการสามารถประกอบอาชีพนั้นได้โดยไม่ถูกลงโทษให้ออกจากราชการหรอื
ถูกรังแกดว้ ยเหตุผลทางการเมืองหรือส่วนตวั

(วกิ รม อัศวกลุ , 1998) ไดใ้ หค้ วามหมายของความมั่นคงในการทำงานท่ีดตี ่อองค์กร หมายถงึ ความ
มนั่ คงในการทำงานจะกระตุ้นให้พนกั งานมคี วามขยนั หม่ันเพยี รในการทำงานตรวจสอบให้แน่ใจว่า
การทำงานน้นั ทำให้แน่ใจว่าการปฏบิ ัติหนา้ ทน่ี ั้นไดร้ ับการปฏบิ ัตอิ ยา่ งเป็นกลางขวัญกำลังใจของ
พนกั งาน

10

จากการทบทวนวรรณกรรมผู้วจิ ยั สามารถสรุปความหมายของการความมนั่ คงในการทำงานท่ีดีต่อ
องค์กรหมายถึง ความมน่ั คงในชีวิต ณทั ณชิ า อมรไชย (2548),มตชิ น สุดสัปดาห์ (2550),สรอ้ ย
ตระกูล (ทวยนนท์) อาตมานะ (2535), (วกิ รม อัศวกลุ , 1998)และมโี อกาสกา้ วหน้า(ณทั ณิชา
อมรไชย (2548),มตชิ น สุดสปั ดาห์ (2550),สร้อยตระกูล (ทวยนนท์) อาตมานะ (2535)รวมทั้ง
การไดร้ ับความปลอดภัย(วิกรม อัศวกุล, 1998)และมีขวัญกำลงั ใจ(ณัทณิชา อมรไชย (2548)กบั
บุคลากรและองคก์ รเมอื่ ความมน่ั คงในชวี ิตหรือบุคคลมีความร้สู กึ มัน่ ใจ

ตารางที่2.1.1 นิยามตัวแปรความม่นั คงในการทำงานทด่ี ีต่อองค์กร

นิยาม ขอ้ คำถาม

ความมัน่ คงความม่ันคงในชีวิตและมโี อกาส ทา่ นใหค้ วามมัน่ คงในชีวิตบุคลากรและองคก์ รเม่ือ
กา้ วหนา้ รวมทั้งการไดร้ ับความปลอดภัยและมี ความมนั่ คงในชีวติ หรือบุคคลมคี วามรู้สึกมั่นใจ
ขวัญกำลังใจกบั บุคลากรและองค์กรเมื่อความ
มน่ั คงในชีวติ หรือบุคคลมีความร้สู กึ ม่ันใจ ทา่ นมีโอกาสก้าวหนา้ บคุ ลากรและองค์กรเม่ือ
ความมน่ั คงในชีวิตหรอื บุคคลมคี วามรู้สึกมน่ั ใจ

ทา่ นมคี วามปลอดภยั บคุ ลากรและองคก์ รเม่ือ
ความมน่ั คงในชีวติ หรือบุคคลมคี วามรู้สึกมัน่ ใจ

11

แนวคิดทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้องเรอื่ งประสิทธิภาพในการทำงาน
ความหมายของประสทิ ธิภาพในการทำงาน
สมพงษ์ เกษมสิน (2549)ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพการทำงาน (Work Efficiency)หมายถึง
ถือเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาองค์กรให้เจริญก้าวหน้าทุกหน่วยงานต้องพยายามดำเนินการให้
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรการเพิ่มประสิทธิภาพงานประกอบด้วยงานต้องมีความน่าเชื่อถือได้
งานสำเร็จทันเวลาและผลลพั ธ์ไดม้ าตรฐาน

ยรรยง ธรรมธัชอารีย์ ( 2548) ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพการทำงาน หมายถึง งานเป็น
กิจกรรมหลักที่ทุกคนต้องปฏิบัติเพื่อช่วยให้ตนดำรงชีวติ อยู่รอดในสังคมดังนัน้ การดำรงชวี ติ ในแต่ละ
วันส่วนใหญ่ถูกใช้ไปกับการทำงานและความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคคลจะมีผลต่อ
ประสิทธิภาพในการทำงานหากยงั ไม่สามารถปรับตวั เพื่อแกไ้ ขปัญหาได้บุคคลน้ันกต็ อ้ งออกจากงานใน
ทส่ี ดุ แตล่ ะองค์กรก็ไม่อยากให้เกิดสภาพเช่นนัน้ ขน้ึ เพราะต้องใช้ระยะเวลานานกว่าบุคลากรในองค์กร
จะมีความรู้ความชำนาญในการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักบัญชีเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ
เนื่องจากรายงานทางการเงินเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานของนักบัญชีและส่วนสำคัญของการ
ตัดสินใจในการจัดการขององค์กรให้มีมีความเจริญก้าวหน้านักบัญชีเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งที่มี
ความสำคญั ตอ่ การพัฒนาองค์กรโดยเฉพาะนักบัญชที ีม่ ีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่เป็นที่
ต้องการขององค์กรซึ่งนักบัญชีมีหน้าที่จัดทำบัญชีสรุปรวมข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนตามที่ผู้บริหาร
ต้องการอกี ทัง้ นักบัญชีทำหน้าทใี่ นการจดั ทำงบการเงนิ เพราะงบการเงนิ ถือเป็นเคร่ืองมือสำคัญท่ีใช้ใน
การตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ ารทั้งในการวางแผนบรหิ ารงานทวั่ ไปรวมไปถงึ การบริหารงานดา้ นงบประมาณ

ประชุม รอดประเสริฐ(2545) ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพการทำงาน หมายถึงการที่นักบัญชี
หน่วยงานราชการได้ปฏิบัติงานอย่างราบรื่นครบถ้วนประหยัดเวลาใช้กำลังและทรัพยากรอย่าง
ค้มุ คา่ เกิดความสูญเปล่าน้อยทส่ี ดุ และใชค้ วามรู้ความสามารถในการทำงาน

12

จากการทบทวนวรรณกรรมผู้วจิ ัยสามารถสรุปความหมายของหมายถงึ ประสิทธภิ าพในการทำงาน
การพัฒนาองคก์ ร(สมพงษ์ เกษมสนิ (2549), (ยรรยง ธรรมธชั อารีย์) ( 2548) ,ประชมุ รอด
ประเสริฐ(2545) ซง่ึ การเพ่ิมประสิทธิภาพงาน(สมพงษ์ เกษมสนิ (2549), (ยรรยง ธรรมธัชอารยี ์)
( 2548) ,ประชุม รอดประเสริฐ(2545) ว่าเป็นถือเปน็ หวั ใจสำคัญที่ต้องปฏบิ ตั ิแต่งานสำเร็จทันเวลา
(สมพงษ์ เกษมสนิ (2549), (ยรรยง ธรรมธชั อารีย์) ( 2548) ,ประชมุ รอดประเสริฐ(2545)เพ่ือ
ดำเนนิ การให้เกิดประโยชนส์ งู สุดต่อองคก์ รองค์กร (สมพงษ์ เกษมสนิ (2549), (ยรรยง ธรรมธชั
อารยี ์) ( 2548) ,ประชุม รอดประเสรฐิ (2545) รวมถงึ ผลลัพธ์ได้มาตรฐาน

องคป์ ระกอบประสิทธิภาพในการทำงาน

ประชุม รอดประเสริฐ, (2545) ได้ให้องค์ประกอบของประสิทธภิ าพการทำงาน จำนวน 3 ด้าน โดยมี
รายละเอียด ดังน้ี

1) ด้านเวลา (Time) โดยครอบคลมุ เกย่ี วกับความสามารถในการจดั ทำเอกสารที่เก่ยี วเก่ยี วกบั งบ
การเงินและนำเสนอขอ้ มูลรายงานทางการเงินเสนอต่อผู้บริหารได้เร็วกวา่ เวลาท่กี ำหนด

2) ดา้ นคณุ ภาพของงาน (Quality of Work) โดยครอบคลุมเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ านงานบญั ชีเปน็ ไป
ตามมาตรฐานการบัญชงี บการเงินมคี วามถูกต้องเชอ่ื ถอื ไดผ้ ู้บริหารสามารถนำไปใช้ในการตดั สินใจ ได้
และมกี ารใช้ทรพั ยากรและต้นทนุ ต่ำกว่าเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้

3) ด้านปรมิ าณงาน (Quantity of Work) โดยครอบคลุมเกี่ยวกบั การจดั ทำงบการเงนิ และการ
นำเสนองบการเงนิ ได้ปริมาณมากกวา่ เดิมในเวลาที่ใช้เท่าเดิมและสามารถจัดทำงบการเงินไดเ้ ท่าเดิม
ถึงแมจ้ ำนวนของคณะผ้จู ัดทำในคณะทำงานน้อยลงมีการบริหารเวลาเพอ่ื ให้งบการเงินให้แล้วเสร็จ
ก่อนเวลาและทันต่อเหตุการณ์

13

องค์ประกอบประสทิ ธภิ าพในการทำงาน

สมพงษ์ เกษมสิน (2549)ได้ใหอ้ งคป์ ระกอบของประสิทธภิ าพการทำงาน จำนวน 3 ดา้ น โดยมี
รายละเอียด ดังน้ี

1. ดา้ นเวลา (Time) หมายถึง นกั บัญชีหนว่ ยงานราชการสามารถทำงานไดเ้ สรจ็ กอ่ นภายใน
ระยะเวลาที่กำหนดไว้

2. ดา้ นคุณภาพของงาน (Quality of Work) หมายถงึ นกั บญั ชีหนว่ ยงานราชการสามารถทำงาน ท่ี
ไดร้ ับมอบหมายโดยงานทีไ่ ด้มีความถูกต้อง ครบถว้ น ไม่มีความผดิ พลาดเกิดขนึ้

3. ด้านปรมิ าณงาน (Quantity of Work)

หมายถงึ นักบัญชหี น่วยงานราชการไดท้ ำงานแล้วเสรจ็ โดยปริมาณทแ่ี ลว้ เสร็จมีจำนวนมากกวา่
จำนวนงานและเวลาการทำงานปกติ

ตารางท่ี 2.2 สังเคราะหอ์ งคป์ ระกอบตัวแปรประสทิ ธภิ าพในการทำงาน ผ้วู จิ ัย

ดา้ น ประชุม รอดประเสรฐิ สมพงษ์ เกษมสนิ ยรรยง ธรรมธชั ✓
(2545) (2549) อารยี ์(2548) ✓

1. ด้านเวลา ✓ ✓ ✓
✓ ✓ ✓
2. ด้านคุณภาพ
ของงาน ✓ ✓ ✓

3. ด้านปรมิ าณ
งาน

ผู้วจิ ยั สามารถสรุปผลองคป์ ระกอบดว้ ยตัวแปรประสทิ ธิภาพการทำงานได้ทั้งหมด 3 ดา้ น โดยใช้
เกณฑ์ทซี่ ้ำกนั ร้อยละ 40 ขึ้นไปประกอบด้วย ดา้ นเวลา ดา้ นคณุ ภาพของงาน ดา้ นปริมาณงาน

14

ดา้ นที่ 1. ดา้ นเวลา

ประชุม รอดประเสริฐ(2545) ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพการทำงาน หมายถึงการที่นักบัญชี
หน่วยงานราชการได้ปฏิบัติงานอย่างราบรื่นครบถ้วนประหยัดเวลาใช้กำลังและทรัพยากรอย่าง
คมุ้ ค่าเกดิ ความสญู เปลา่ น้อยทสี่ ดุ และใช้ความรู้ความสามารถในการทำงาน

สมพงษ์ เกษมสิน (2549)ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพการทำงาน (Work Efficiency)หมายถึง
ถือเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาองค์กรให้เจริญก้าวหน้าทุกหน่วยงานต้องพยายามดำเนินการให้
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรการเพิ่มประสิทธิภาพงานประกอบด้วยงานต้องมีความน่าเชื่อถือได้
งานสำเร็จทนั เวลาและผลลัพธ์ไดม้ าตรฐาน

ยรรยง ธรรมธัชอารีย์ ( 2548) ได้ให้ความหมายของประสิทธิภาพการทำงาน หมายถึง งานเป็น
กิจกรรมหลักที่ทุกคนต้องปฏิบัติเพื่อช่วยให้ตนดำรงชีวติ อยู่รอดในสังคมดังนัน้ การดำรงชวี ิตในแต่ละ
วันส่วนใหญ่ถูกใช้ไปกับการทำงานและความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคคลจะมีผลต่อ
ประสิทธภิ าพในการทำงานหากยงั ไมส่ ามารถปรับตวั เพ่ือแก้ไขปัญหาได้บุคคลน้ันก็ต้องออกจากงานใน
ทสี่ ดุ แต่ละองค์กรก็ไม่อยากให้เกิดสภาพเชน่ นัน้ ขนึ้ เพราะต้องใช้ระยะเวลานานกว่าบุคลากรในองค์กร
จะมีความรู้ความชำนาญในการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักบัญชีเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ
เนื่องจากรายงานทางการเงินเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานของนักบัญชีและส่วนสำคัญของการ
ตัดสินใจในการจัดการขององค์กรให้มีมีความเจริญก้าวหน้านักบัญชีเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งที่มี
ความสำคญั ตอ่ การพัฒนาองคก์ รโดยเฉพาะนักบัญชที มี่ ีความร้คู วามสามารถและประสบการณ์ท่ีเป็นท่ี
ต้องการขององค์กรซึ่งนักบัญชีมีหน้าที่จัดทำบัญชีสรุปรวมข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนตามที่ผู้บริหาร
ตอ้ งการอกี ท้ังนักบัญชีทำหนา้ ทใ่ี นการจดั ทำงบการเงินเพราะงบการเงินถือเป็นเครื่องมือสำคัญท่ีใช้ใน
การตัดสินใจของผู้บริหารท้งั ในการวางแผนบรหิ ารงานทวั่ ไปรวมไปถงึ การบรหิ ารงานดา้ นงบประมาณ

15

จากการทบทวนวรรณกรรมผู้วจิ ยั สามารถสรุปความหมายของประสิทธภิ าพในการทำงาน หมายถึง
ปฏบิ ัติงานอย่างราบร่นื (ประชุม รอดประเสริฐ(2545) (สมพงษ์ เกษมสิน (2549), (ยรรยง ธรรม
ธชั อารยี )์ ( 2548) , และทรัพยากรอย่างคมุ้ ค่า(ประชุม รอดประเสริฐ(2545) (สมพงษ์ เกษมสนิ
(2549), (ยรรยง ธรรมธัชอารยี )์ ( 2548) รวมทั้งใชค้ วามรู้(สมพงษ์ เกษมสนิ (2549)และมี
ความสามารถในการทำงาน(ยรรยง ธรรมธัชอารีย์( 2548) กับบุคลากรและองค์กรเม่อื มีความ
เจรญิ กา้ วหน้านักบญั ชี

ตารางที่ 2.2.1นิยามประสทิ ธภิ าพในการทำงาน

นยิ าม ขอ้ คำถาม

ประสทิ ธิภาพการทำงานปฏิบัติงานอยา่ งราบรนื่ ท่านมกี ารปฏิบตั ิงานอย่างราบรืน่ บคุ ลากรและ
และใช้ทรัพยากรอยา่ งคุ้มค่ารวมท้ังใชค้ วามรู้ องคก์ รเม่ือมคี วามเจริญกา้ วหน้านกั บญั ชี
และมคี วามสามารถในการทำงานกบั บุคลากร
และองคก์ รเมอื่ มคี วามเจรญิ ก้าวหน้านักบัญชี ทา่ นมีใช้ทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ ค่าบุคลากรและองคก์ ร
เม่ือมีความเจรญิ ก้าวหนา้ นักบัญชี

ท่านมคี วามสามารถในการทำงานบุคลากรและ
องคก์ รเมื่อมคี วามเจริญกา้ วหนา้ นกั บัญชี

16

บทที่ 3 วธิ ีการดำเนินการวจิ ัย

การวิจยั ครง้ั นี้เปน็ การสมาชิกที่ดตี ่อองค์กรส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานนกั บญั ชีใน
หนว่ ยงานราชการจังหวัดนครราชสีมา ซง่ึ รายละเอยี ดวธิ ีการดำเนนิ การวจิ ยั มดี ังน้ี
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.เครอ่ื งมือการวิจัย
3.การทดสอบคณุ ภาพเครื่องมอื การวจิ ัย
4.วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
5.การวเิ คราะห์ข้อมลู
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.ประชากรกลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัยคร้งั นี้ เปน็ ของพนักงานนกั บญั ชใี นหนว่ ยงานราชการจงั หวัด
นครราชสีมา แห่งหนึ่ง จำนวน 68 คน
2.กล่มุ ตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ คือ พนักงานของพนักงานนักบัญชีในหน่วยงานราชการจงั หวดั
นครราชสมี า จำนวน 68 คน
2.1 เลือกลุ่มกลุ่มตัวอยา่ งจากทผี่ วู้ ิจยั ส่งแบบสอบถามไปยังประชากรกลมุ่ ตัวอย่าง 68 คน ปรากฏว่า
เมือ่ ครบกำหนด มผี ตู้ อบกลับแบบสอบถาม จำนวน 68 คน ซึง่ มอี ตั ราผลตอบกลับคดิ เป็นรอ้ ยละ 91
เม่ือเทียบกบั ประชากรทั้งหมด สอดคล้องกับ Aaker และคณะ (2001) ไดน้ ำเสนอว่า การสง่
แบบสอบถาม ต้องมีอัตราตอบ กลับอย่างน้อยรอ้ ยละ 20 จงึ จะถือว่ายอมรบั ได้
3.เลือกกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าเปน็ จำนวน 68 คน ด้วยวธิ กี ารสุ่มอย่างง่าย
(Simplerandom samplind) โดยการจบั สลาก (Lottenry Method)
เครอ่ื งมือการวจิ ยั
เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวิจัยครงั้ นี้เปน็ แบบสอบถามทผี่ ู้วจิ ยั สรา้ งขึ้นจากการศึกษาเอกสารที่เก่ยี วข้องแบง่
ออกเปน็ ดังนี้

17

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (check-list) สำหรบั ปจั จยั สว่ นบุคคล ด้านเพศ ด้าน
อายุ สถานภาพ และรายได้ต่อเดือน
ตอนที่ 2 เปน็ แบบสอบถามใหเ้ ลือกตอบข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกบั พฤตกิ รรมการเป็นสมาชิกท่ดี ตี ่อ
องค์กรของพนักงานบริษทั แห่งหน่ึง จำนวน 5 ด้าน ประกอบด้วย ดา้ นการใหค้ วามช่วยเหลอื ดา้ นการ
คำนงึ ถงึ ผู้อ่นื ดา้ นการให้ความรว่ มมอื ด้านความสำนกึ ในหน้าท่ี และด้านการมนี ้ำใจเปน็ นักกฬี า
จำนวน 20 ข้อ
ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามใหเ้ ลอื กตอบข้อมลู ความคดิ เห็นเกี่ยวกับประสิทธภิ าพการทำงานของ
พนักงานบริษัทแห่งหนงึ่ จำนวน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านคุณภาพการทำงาน ดา้ นตน้ ทุนงาน ด้าน
เวลาจำนวน 12 ข้อ
ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) เปน็ การวดั ความคิดเห็น 5 ตวั เลือก ตามวิธี
ของลเิ คริ ์ท (Likert) ดังน้ี
ระดบั คะแนน 5 หมายถงึ มากท่สี ุด
ระดบั คะแนน 4 หมายถึง มาก
ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ น้อย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง นอ้ ยทส่ี ดุ
การทดสอบคุณภาพเคร่อื งมือการวจิ ัย
1.ให้ผูเ้ ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น หาค่า joc ได้คา่ 0.67-1.00 ซ่งึ มีค่ามากกว่า 0.5
2.ทดลองใช้ ทดลองนำแบบสอบถามเกบ็ จำนวน 30 ชุด เพ่ือหาค่าสมั ประสทิ ธิ์แอลฟา (Alpha -
Coefficient) ตามวธิ ีของครอนบาค (Cronbach) ได้คา่ 0.962 ซงึ่ มีค่ามากกวา่ 0.7
วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วจิ ัยไดส้ ง่ แบบสอบถามทีท่ ำขนึ้ ในโปรแกรม Google from ให้กับกลมุ่
ตัวอยา่ ง

18

การวิเคราะห์ขอ้ มลู
ในการวิเคราะหข์ ้อมลู ผู้วิจยั นำข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถามวเิ คราะห์ด้วยคอมพิวเตอรโ์ ดยใช้
โปรแกรม สาํ เร็จรปู ทางสถิติ (SPSS for Windows) โดยสถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี
1. วเิ คราะหป์ ัจจยั ส่วนบคุ คล โดยการแจกแจงความถ่ี (Frequency) และคา่ ร้อยละ (Percentage)
แบบสอบถามสว่ นน้เี ปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check list)
2.วเิ คราะหข์ ้อมูลการเป็นสมาชกิ ที่ดตี อ่ องค์กรส่งผลตอ่ ประสทิ ธิภาพการทำงานของพนักงานบรษิ ทั
แห่ง หนึง่ โดยใช้คา่ เฉลย่ี (Mean) และ ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3.วเิ คราะห์พฤติกรรมการเป็นสมาชกิ ที่ดตี ่อองคก์ รสง่ ผลต่อประสิทธภิ าพการทำงานของพนกั งาน
บริษัท แห่งหนึง่ โดยใชว้ ิธกี ารวเิ คราะหก์ ารถดถอยเชงิ พหุคูณ (Multiple Linear Regression
Analysis) ซึง่ เขียนสมการได้ดังนี้

สมการ Work Efficiency = + 1 + 2 + 3 + 4 +
5 +

19

บทที่ 4 ผลการวจิ ยั

ผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานที่มตี ่อประสิทธภิ าพการทำงานของนักบัญชหี นว่ ยงานราชการ
ในจงั หวัดนครราชสีมาในครง้ั นใี้ ช้โปรแกรมสำเรจ็ ทางสถติ ิ (SPSS for Windows) ในการประมวลผล
แบบสอบถามกลมุ่ ตวั อย่างจำนวน63 ชดุ ซ่ึงเปน็ กลุ่มตัวอย่างท่ีกำหนดไว้ จากจำนวนประชากร
ทง้ั หมด 71 คน ของหนว่ ยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ตอน

ตอนที่ 1 ข้อมูลเก่ียวกบั ปจั จัยบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกย่ี วกับความม่ันคงในการทำงานที่ดตี ่อองค์กรของนกั บญั ชหี นว่ ยงานราชการใน
จังหวัดนครราชสมี า

ตอนที่ 3 ข้อมลู เกี่ยวกับประสิทธภิ าพการทำงานของนกั บัญชหี นว่ ยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา

ตอนท่ี 4 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ

ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ตารางที่ 1 จำนวนความถ่ีและคา่ ร้อยละเก่ียวกบั ข้อมลู ส่วนบุคคลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ

1. ชาย 12 19.1
2. หญิง 51 80.9
63 100
รวม

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผลการศกึ ษาขอ้ มูลท่ัวไปเกี่ยวกับผูต้ อบแบบสอบถาม พบวา่ สว่ นใหญ่มีเพศ
หญิงจำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 80.9

20

ตารางท่ี 2 จำนวนความถี่และค่าร้อยละเกย่ี วกบั ข้อมลู สว่ นบุคคลทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
จำแนกตามอายุ

อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ
1. ตำ่ กวา่ 20 - -
2. 20 – 30 63 100
3. 31 – 40 - -
4. มากกวา่ 41 - -
63 100
รวม

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุ 20 – 30 จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ100%

ตารางที่ 3 จำนวนความถี่และค่าร้อยละเกยี่ วกับข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามสถานภาพ

สถานภาพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ

๑. โสด 63 100

๒. สมรส --

๓. หยา่ รา้ ง/แยกกันอยู่ --

รวม 63 100

ตารางท่ี 3 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานะโสด จำนวน 63 คน คิดเปน็ ร้อยละ100%

21

ตารางท่ี 4 จำนวนความถ่ีและค่าร้อยละเกย่ี วกับข้อมลู ส่วนบุคคลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามรายได้ต่อเดือน

รายได้ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
1. ต่ำกวา่ 100,000 บาท 43 68.2
2. 100,001–200,000 บาท 20 31.8
3.200,001–300,000 บาท -
4.300,001 ขึ้นไป บาท - -
63 -
รวม 100

ตารางที่ 4 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่มรี ายได้อยู่ท่ีตำ่ กว่า 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ

68.2

แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) เปน็ การวัดความคดิ เหน็ 5 ตัวเลือก ตามวธิ ขี องลิ
เคริ ท์ (Likert) ดังนี้

5 หมายถึง เปน็ ระดบั ความคิดเห็นความมั่นคงในการทำงานท่ดี ี
ต่อองคก์ รของนักบัญชหี น่วยงานราชการในจังหวดั
นครราชสมี า ในระดับมากทสี่ ุด

4 หมายถงึ เปน็ ระดบั ความคดิ เหน็ ความมั่นคงในการทำงานที่ดี
ต่อองค์กรของนักบัญชหี น่วยงานราชการในจังหวดั
นครราชสมี า ในระดบั มาก

22

3 หมายถึง เปน็ ระดับความคิดเห็นความมั่นคงในการทำงานท่ีดี
2 หมายถงึ ต่อองคก์ รของนักบัญชีหน่วยงานราชการในจังหวดั
1 หมายถงึ นครราชสมี า ในระดบั ปานกลาง

เป็นระดบั ความคดิ เหน็ ความมั่นคงในการทำงานท่ีดี
ตอ่ องคก์ รของนกั บัญชีหนว่ ยงานราชการในจังหวดั
นครราชสีมา ในระดบั น้อย

เปน็ ระดบั ความคิดเห็นความมั่นคงในการทำงานท่ีดี
ตอ่ องค์กรของนกั บัญชีหนว่ ยงานราชการในจังหวัด
นครราชสมี า ในระดบั น้อยทส่ี ุด

นำคะแนนที่ได้มาหาค่าเฉลยี่ ค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานและแปลผลโดยใช้เกณฑ์ระดบั ค่าคะแนน
เฉลยี่ ดังน้ี

4.51 – 5.0 มากทส่ี ุด
3.51 – 4.50 มาก
2.51 – 3.50 ปานกลาง
1.51 – 2.50 นอ้ ย
1.00 – 1.50 น้อยทส่ี ุด

23

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความมั่นคงในการทำงานที่ดตี ่อองค์กรของนกั บญั ชีหนว่ ยงานราชการใน
จงั หวดั นครราชสีมา

ตารางท่ี 5 แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความม่ันคงในการทำงานทีด่ ีตอ่

องค์กร

ความม่นั คงในการทำงานที่ดีต่อองคก์ ร ̅ S.D. ระดบั ความคิดเหน็

ด้านความรู้สกึ เช่อื ม่นั ว่าจะได้รับการจ้าง 4.16 0.60 มาก
งานจนเกษียณอายุ

ด้านโอกาสกา้ วหนา้ ในการทำงาน 4.07 0.65 มาก

ด้านผลตอบแทนทแ่ี น่นอน 3.98 0.75 มาก

ด้านการไดร้ บั การปกครองอย่างเป็นธรรม 4.08 0.65 มาก

ด้านความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน 3.98 0.75 มาก

เฉล่ยี รวม 4.05 0.68 -

จากตางรางที่ 5 พบวา่ ความม่นั คงในการทำงานท่ีดีตอ่ องค์กรของผูต้ อบแบบสอบถามโดย
ภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายดา้ นอย่ใู นระดับมากทุกด้านโดยเรยี งลำดบั ตามค่าเฉลี่ย
พบว่า ด้านความรูส้ ึกเช่ือมัน่ วา่ จะไดร้ บั การจ้างงานจนเกษียณอายุ

24

ตารางท่ี 6 แสดงค่าเฉล่ยี คา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดบั ความมั่นคงในการทำงานที่ดีต่อองค์กร
ดา้ นความรูส้ กึ เชื่อม่นั วา่ จะได้รับการจ้างงานจนเกษียณอายุ

รายการประเมิน ̅ S.D. ระดบั ความคิดเห็น
ท่านมีความมุ่งมน่ั ท่จี ะปฏิบัติหนา้ ที่ตลอดจน 4.24 0.53 มาก
เกษยี ณอายุ
4.14 0.69 มาก
ท่านมีความคดิ ที่จะปรับปรุงรูปแบบงานให้มี
ประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขึน้ 4.16 0.55 มาก

ทา่ นมกี ารติดตามผลงานทท่ี ำอย่สู มำ่ เสมอ

ทา่ นมีความกระตือรือรน้ ในการปฏบิ ัติงาน 4.10 0.63 มาก

เฉลยี่ รวม 4.16 0.60 -

จากตางรางที่ 6 พบว่าความมั่นคงในการทำงานท่ีดีต่อองคก์ รของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยภาพรวมอยู่
ในระดบั มาก เม่ือพิจารณารายด้านอยใู่ นระดบั มากทุกดา้ นโดยเรยี งลำดับตามค่าเฉลย่ี พบว่า 5 ดา้ น
ความร้สู กึ เชือ่ ม่นั วา่ จะไดร้ บั การจ้างงานจนเกษียณอายุ

25

ตารางท่ี 7 แสดงค่าเฉลี่ย คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดบั ความมั่นคงในการทำงานที่ดีต่อองค์กร
ดา้ นโอกาสก้าวหนา้ ในการทำงาน

รายการประเมนิ ̅ S.D. ระดับความคดิ เหน็
4.06 0.82 มาก
ทา่ นมีความก้าวหนา้ ในงาน เพ่อื ให้งาน
ออกมาอย่างสำเรจ็ และเปน็ ไปตามเปา้ หมาย

ท่านมีความรู้ความสามารถในการเลื่อนข้นั 3.97 0.63 มาก

เลื่อนตำแหนง่ มากน้อยเพยี งใด

ทา่ นมคี วามรู้ความสามารถในงานมากพอใน 4.22 0.59 มาก

ระดบั หน่ึง

ทา่ นมีการแก้ไขปญั หาตอ่ การทำงานผดิ พลาด 4.06 0.57 มาก

ไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด

เฉลี่ยรวม 4.07 0.65 -

จากตางรางท่ี 7 พบว่าความมั่นคงในการทำงานท่ดี ีต่อองค์กรของผู้ตอบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยู่
ในระดบั มากเม่ือพจิ ารณารายดา้ นอย่ใู นระดับมากทุกด้านโดยเรยี งลำดบั ตามค่าเฉล่ีย พบว่า 5 ดา้ น
โอกาสกา้ วหนา้ ในการทำงาน

26

ตารางท่ี 8 แสดงค่าเฉลีย่ ค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ความมนั่ คงในการทำงานทีด่ ตี ่อ
องค์กร ด้านผลตอบแทนที่แน่นอน

รายการประเมิน ̅ S.D. ระดบั ความคดิ เหน็
ท่านลงทนุ ตอบแทนทแ่ี นน่ อนสว่ นหนง่ึ และ 3.98 0.59 มาก
สว่ นหนึ่งลงทนุ เพอ่ื หวงั ผลกำไร
3.78 1.28 มาก
ทา่ นชอบลงทนุ ในการลงทุนท่ีให้ผลตอบแทน
สงู แม้จะมีความเสีย่ งสูง 4.16 0.51 มาก
4.03 0.63 มาก
ทา่ นชอบความท้าทา้ ยกล้าได้กล้าเสยี 3.98 0.75 -

ท่านเป็นคนเชอื่ ม่นั เฉพาะความคิดของตน

เฉลยี่ รวม

จากตางรางที่ 8 พบวา่ ความมั่นคงในการทำงานท่ดี ีต่อองค์กรของผู้ตอบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยู่
ในระดบั มากเมื่อพจิ ารณารายดา้ นอยใู่ นระดับมากทุกดา้ นโดยเรยี งลำดับตามคา่ เฉลี่ย พบวา่ 5 ดา้ น
ผลตอบแทนท่ีแนน่ อน

27

ตารางที่ 9 แสดงค่าเฉลย่ี ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดับความมน่ั คงในการทำงานทดี่ ตี ่อ
องค์กร ด้านการปกครองอยา่ งเปน็ ธรรม

รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับความคดิ เห็น
ท่านมีการดำรงตนและการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ 4.03 0.79 มาก
ตนในการทำงานอย่างซื่อสัตย์ 3.98 0.81 มาก

ทา่ นมคี วามสามารถในการปฏิบัติงานท่คี ู่ควร 4.25 0.35 มาก
4.08 0.65
ท่านมีความเหมาะสมและถูกต้องทง้ั ในกรอบ
ของคณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณแหง่
วชิ าชพี

เฉล่ยี รวม

จากตางรางท่ี 9 พบว่าความม่ันคงในการทำงานที่ดตี อ่ องค์กรของผ้ตู อบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยู่
ในระดับมากเมื่อพจิ ารณารายดา้ นอยู่ในระดบั มากทุกดา้ นโดยเรยี งลำดับตามค่าเฉลย่ี พบวา่ 5 ดา้ น
การปกครองอยา่ งเปน็ ธรรม

28

ตารางท่ี 10 แสดงคา่ เฉลี่ย ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และความมน่ั คงในการทำงานท่ีดตี ่อองค์กร
ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน

รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับความคิดเหน็
ท่านพักผอ่ นเพียงพอก่อนการเขา้ ปฏบิ ตั งิ าน 4.11 0.77 มาก
ในแต่ละวนั
3.89 1.15 มาก
ทา่ นด่มื สรุ า หรือเคร่อื งดื่มท่มี ีแอลกอฮอล์ 4.08 0.61 มาก

ทา่ นมักลองผิดลองถกู ด้วยตนเองเมื่อไมเ่ ขา้ ใจ 4.02 0.84
วธิ ีการปฏบิ ตั งิ าน

เฉล่ียรวม

จากตางรางท่ี 10 พบว่าความม่นั คงในการทำงานท่ดี ตี ่อองค์กรของผตู้ อบแบบสอบถามโดยภาพ
รวมอยู่ในระดับมากเม่ือพจิ ารณารายดา้ นอยู่ในระดับมากทุกดา้ นโดยเรยี งลำดบั ตามคา่ เฉล่ีย พบวา่ 5
ดา้ นความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ าน

ตอนท่ี 3 ขอ้ มลู เกย่ี วกับประสิทธิภาพการทำงานของนกั บัญชหี น่วยงานราชการในจงั หวดั
ตารางที่ 11 แสดงคา่ เฉล่ยี ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ประสทิ ธิภาพการทำงานของนัก
บัญชหี น่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสีมา

ความมนั่ คงในการทำงานทีด่ ีตอ่ องค์กร ̅ S.D. ระดบั ความคดิ เหน็

ดา้ นเวลา 3.84 1.07 มาก

ดา้ นคุณภาพงาน 4.12 0.60 มาก

ดา้ นปรมิ าณงาน 3.85 0.42 มาก

เฉล่ยี รวม 3.93 0.69 -

29

จากตางรางท่ี 11 พบว่าประสิทธภิ าพการทำงานของนกั บญั ชีหน่วยงานราชการในจังหวัดนครราชสมี า
ของผตู้ อบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากเมอ่ื พิจารณารายด้านอยใู่ นระดับมากทุกด้านโดย
เรียงลำดบั ตามค่าเฉลีย่ พบว่า ดา้ นเวลา

ตารางท่ี 12 แสดงค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั ประสิทธิภาพในการทำงานด้านเวลา

รายการประเมิน ̅ S.D. ระดับความคิดเห็น
3.95 0.97 มาก
ท่านสามารถจัดทำและสง่ งบการเงินได้ทนั 4.13 0.68 มาก
ตามกำหนดเวลาท่ีกฏหมายกำหนด
3.46 1.58 มาก
ท่านสามารถจดั ทำและนำเสนองบการเงินได้ 3.84 1.07 -
ทนั เวลา เพ่ือให้ผู้ใชง้ บการเงินสามารถ
นำไปใชใ้ นการตัดสินใจได้

ทา่ นสามารถจดั ทำรายงานเอกสารทางภาษี
ได้ทันตามกำหนดเวลา

เฉล่ียรวม

จากตางรางท่ี 12 พบว่าประสิทธภิ าพในการทำงานของผ้ตู อบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยู่ในระดับ
มากเม่ือพิจารณารายดา้ นอย่ใู นระดับมากทุกด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลยี่ พบว่า 5 ดา้ นเวลา

30

ตารางท่ี 13 แสดงคา่ เฉล่ยี ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั ประสิทธิภาพการทำงานดา้ น
คุณภาพของงาน

รายการประเมนิ ̅ S.D. ระดับความคดิ เหน็

ท่านมีการปฏบิ ัติงานดว้ ยความร้ทู ี่ท่านมีและความ 4.02 0.81 มาก
เขา้ ใจของท่านเพียงใด

ท่านมผี ลงานทีม่ ีคุณภาพก่อให้เกิดประโยชนต์ อ่ องค์กร 4.27 0.51 มาก
และสร้างความประทับใจให้ลูกค้าหรอื ผู้มารับบริการ

ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาของท่านมีการวางแผนในการ 4.14 0.69 มาก
ปฏิบัตงิ านไวล้ ว่ งหน้าและมีการตรวจสอบคณุ ภาพงาน
ก่อนส่งมอบอยา่ งสม่ำเสมอ

ผูใ้ ต้บังคบั บัญชาของทา่ นมีการศกึ ษาที่ค้นคว้าและหา 3.98 0.62 มาก
ขอ้ มลู ในการปฏิบตั งิ านเพ่ิมเติมอย่สู ม่ำเสมอเพอื่ นำ
ความรู้ใหมท่ ี่ได้มาประยุกตใ์ นการปฏิบตั งิ านให้มี 4.29 0.39 มาก
คุณภาพมากขน้ึ 4.05 0.59 มาก
4.12 0.60 -
ทา่ นมีความพงึ พอใจ ผลการทำงานมี คุณภาพสูงมี
ความถกู ตอ้ งได้มาตรฐาน ครบถ้วนน่าเชอ่ื ถือและ
เปน็ ไปตามมาตรฐาน

ผลงานของผู้ใตบ้ ังคับบัญชาของท่านไดป้ ฏิบัตมิ ีความ
ถกู ต้องครบถว้ นและเชื่อถือได้

เฉล่ียรวม

31

จากตางรางท่ี 13 พบว่าประสิทธิภาพในการทำงานของผูต้ อบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยู่ในระดับ
มากเมื่อพจิ ารณารายด้านอยูใ่ นระดับมากทกุ ด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลย่ี พบวา่ 5 ดา้ นคุณภาพ
ของงาน

ตารางที่ 14 แสดงค่าเฉล่ีย ค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดบั ประสิทธิภาพในการทำงาน ดา้ น
ปรมิ าณงาน

รายการประเมิน ̅ S.D. ระดบั ความคิดเหน็
4.32 0.76 มาก
ทา่ นมีการปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความรูท้ ่ีทา่ นมีและ 4.14 0.44 มาก
ความเข้าใจของท่านเพยี งใด
3.11 0.08 มาก
ท่านมผี ลงานทม่ี ีคุณภาพก่อให้เกิดประโยชน์
ตอ่ องคก์ รและสร้างความประทบั ใจให้ลูกค้า 3.85 0.42 -
หรอื ผมู้ ารับบรกิ าร

ทา่ นมคี วามพึงพอใจผลการทำงานมี
คณุ ภาพสูงมีความถกู ต้องได้มาตรฐาน
ครบถ้วนน่าเชือ่ ถือและเป็นไปตามมาตรฐาน

เฉล่ียรวม

จากตางรางที่ 14 พบว่าประสิทธภิ าพในการทำงานของผตู้ อบแบบสอบถามโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั
มากเม่ือพจิ ารณารายดา้ นอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยเรยี งลำดบั ตามคา่ เฉลยี่ พบวา่ 5 ด้านปริมาณ
งาน

32

ตอนท่ี 4 การวเิ คราะหก์ ารถดถอยเชิงพหคุ ูณ (Multiple Linear Regression Analysis)

ตารางท่ี 15 วิเคราะห์ความมั่นคงในการทำงานที่ดีตอ่ องค์กรตอ่ ประสทิ ธภิ าพการทำงานของนักบญั ชี
หนว่ ยงานราชการในจังหวัดนครราชสมี า โดยใชว้ ธิ กี ารวิเคราะหก์ ารถดถอยเชิงพหุคณู (Multiple
Linear Regression Analysis)

Model Unstandardized Standardized t Sig.
Coefficients
Coefficients 1.90
Beta 0.26
B Std.

Error

1 (Constant) 191 174 10.987
245 2.245
ด้านความรสู้ กึ เชือ่ ม่นั 111 049

ว่าจะได้รับการจา้ ง

งานจนเกษยี ณอายุ

ด้านโอกาสกา้ วหนา้ 279 055 510 5.104 000*
ในการทำงาน 0.19 050 375 0.375 708
ด้านผลตอบแทนท่ี -031 057 -536 -0.536 592
แน่นอน
ด้านการได้รบั การ 108 0.61 772 1.772 078
ปกครองอย่างเป็น 0.44 054 367 1.617 759
ธรรม
ด้านความปลอดภยั
ในการปฏิบตั ิงาน

ดา้ นเวลา

ด้านคณุ ภาพของงาน 0.54 0.41 419 1.987 573

ดา้ นปรมิ าณงาน 0.57 0.42 587 1.757 587

33

บทท่ี 5 สรุปผล การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะการวจิ ยั

สรปุ ผล
ความมั่นคงในการทำงานส่งผลต่อการปฏิบัติงานของนักบัญชีในหน่วยงานราชการในจังหวัด
นครราชสีมา ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กรได้
ประสิทธิภาพในการทำงานเป็นข้อมูลเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงทักษะและการทำงานของบุคลากร
และสามารถใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของนักบัญชีได้ และ
เพอื่ เป็นแนวทาง เพ่ือนำไปปรับปรงุ และแก้ไขปัญหาให้หน่วยงานบรรลุเปา้ หมาย

การอภปิ รายผล

ความม่นั คงในการทำงาน รู้สึกมัน่ ใจวา่ จะมีงานทำไปจนเกษยี ณและมีโอกาสก้าวหนา้ ในหน้าที่การงาน
มีความสัมพันธ์เชิงบวกและผลกระทบต่อผลงานโดยรวม เพราะนักบัญชีต้องการความมั่นคงและ
ความก้าวหน้าในหน้าที่การงานต้องการผลตอบแทนจากการทำงานมากขึ้น และต้องการประสบ
ความสำเร็จในชีวิตการทำงานที่ได้รับมอบหมายงานที่สำคัญหรือมีโครงสร้าง หรือ แผนพัฒนา
บุคลากรขององค์กรได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนเพื่อให้นักบัญชีทราบถึงเส้นทางแห่งความมั่นคงและ
ความก้าวหน้า ในอาชีพการงานเพื่อพัฒนาตนเองใหม้ ีความรู้และทักษะในการทำงาน ให้ชำนาญ ใน
ตำแหน่งงานและมีโอกาสเข้าสู่กระบวนการสรรหา คัดเลือกและเลื่อนขั้นตามความเหมาะสมกับ
ตำแหน่งทำให้รู้สึกว่าเป็นส่วนสำคัญขององค์กรอันเป็นเหตุให้ ความตั้งใจในการทำงาน มีการฝึกฝน
พัฒนาความรู้ความสามารถ Self ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานให้กับองค์กรที่สอดคล้องกับ
การวจิ ัยของจกั รพงษ์กิตติพงษ์พิทยา (2552) พบว่าความร้สู กึ มนั่ คงในการทำงานส่งผลต่อการอุทิศตน
ให้กับองค์กร เพราะเมื่อพนักงานตระหนักถึงความปลอดภัย ในงานที่องค์กรจัดให้มีการค้ำประกัน
งาน จะสร้างความพึงพอใจให้กับพนักงานที่พร้อมใช้ความรู้ ความสามารถในตนเอง ทุ่มเทในการ
ทำงานอย่างเต็มที่ตามการวิจัยของ ศิริวรรณ สุจริต (2551) : 98-99 พบว่า พนักงานให้ความสำคัญ
กับการจ้างงานจนเกษียณ เมื่อความรู้สึกมั่นคงในการทำงานส่งผลต่อการอุทิศตนในการทำงาน ทั้งน้ี
เพราะความมัน่ คงในงานเป็นส่ิงที่พนกั งานทกุ คนต้องการอย่างมากในสถานการณ์

ข้อเสนอแนะการวจิ ัย
1.ควรทำการศึกษาผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานกับกลุ่ม
ตัวอย่าง อื่นๆ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบว่ามีความแตกต่างหรือไม่อย่างไร ซึ่งอาจจะทำให้งานวิจัยมี

34

ประสทิ ธผิ ล และสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้ตรงตามเป้าหมายย่ิงขึ้นควรศึกษาวิจัยกับกลุ่มตัวอย่าง
อื่นที่ไม่ใช่นักบัญชีหน่วยงานราชการ เช่น นักบัญชีที่ สังกัดภาคเอกชน นักบัญชีของบริษัทในตลาด
หลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย เป็นต้น

2. ควรทำการศึกษาให้ครอบคลุมในทุกมิติท่ีเกีย่ วกับความมนั่ คงในการทำงานนอกเหนือจาก ด้านการ
ได้รับความเชื่อมั่นว่าจะได้รับการจ้างงานจนเกษียณอายุด้าน โอกาสก้าวหน้าในการทำงาน ด้าน
ผลตอบแทนที่แน่นอน ด้านการได้รับการปกครองอย่างเป็นธรรม และด้านความ ปลอดภัยในการ
ปฏบิ ัตงิ าน

3. ควรศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคของการขาดความมั่นคงในการทำงาน เพื่อให้องค์กรนำ ปัญหา
และอุปสรรคไปปรับปรุงแก้ไขได้ตรงประเด็นรวมทั้งควรศึกษาถึงแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพ
การปฏบิ ตั ิงาน ของบคุ ลากรให้เปน็ มืออาชพี เพือ่ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใชบ้ ริการ

คำอภปิ ราย
พนักงานทุกคนจึงต้องรักษาความมนั่ คงในการทำงาน ให้สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ สะโน ยาว (2003
: 80) พบว่า การทำให้คนใช้บุคคลและเลี้ยงดูบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอและเหมาะสม เช่น
กิจกรรมการสรรหา กิจกรรมคัดเลอื ก การฝึกอบรม การประเมินผลการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทน และ
การสง่ เสรมิ การบริหารงานบคุ คลจึงต้องให้บุคคลสามารถพัฒนาตนเองเพ่ืออทุ ิศความรู้ความสามารถ
ให้กับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิผล โดยถือว่าคนเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดของ
องค์กร สอดคล้องกับงานวิจัยของ มนูทัย ลับเฉลิมพงษ์ (2548 : บทคัดย่อ) พบว่า ความก้าวหน้าใน
การปฏิบัติงานเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ท่ีสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานโดยให้พนักงาน
ทำงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและสำเร็จลลุ ่วง และตามแนวคดิ ของพรรณี ชูชัย เจนจติ ร์ (1995:461)
กล่าวว่า ผู้ที่ใช้ความรู้ความสามารถของตนเองให้เกิดประโยชน์และได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ทั้งนี้เพราะ
แรงจงู ใจคอื ชักจูงหรอื ระดม คนท่ีม่งุ ทำงานซึ่งจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขน้ึ การกำหนด
งานที่สำคัญและเหมาะสมทำให้พนักงานรู้สึกถึงความไว้วางใจขององค์กรแสดงให้เห็นถึงโอกาส
ความก้าวหน้าที่องค์กรเสนอให้ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้บุคคลมีความพึงพอใจในการทำงานสูงขึ้น ทำงาน
ดว้ ยคุณภาพและประสทิ ธิภาพและให้ผลลัพธ์มากมาย

35

บรรณานกุ รม

จกั รพงษ์ กติ ติพงศ์พิทยา. (2551). ความสมั พันธ์ระหวา่ งการรับรูค้ วามมัน่ คงในการทำงานกับผลการ
ปฏบิ ตั งิ านและควาทุ่มเทในการทำงานของพนักงาน, วิทยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนอื
ณทั ณิชา อมรไชย. (2548), ความมัน่ คงในการทำงานของลูกจ้างหนงั สอื พมิ พ์รายวันแนวธรุ กิจ,
วทิ ยานพิ นธ์ สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประชมุ รอดประเสริฐ
(2545). นโยบายและการวางแผน : หลักการและทฤษฎี ภาควิชาการบรหิ ารการศึกษาคณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร
พรรณี ชูชัย เจนจติ . (2538), จติ วทิ ยาการเรียนการสอน, กรงุ เทพฯ : ต้นอ้อแกรมม่ี
มติชนสดุ สปั ดาห.์ (2550). แนวโนม้ การจา้ งงานตลอดชวี ติ สง่ เสริมให้พนักงานมีความสามารถ ค้นเมื่อ
18 DAAN 2551, an http://www.ocsc.go.th
ยรรยง ธรรมธัชอารี. (2548). บรหิ ารธุรกิจดว้ ยแนวคิดการบญั ชี, กรงุ เทพฯ : ซเี อด็ ยเู คช่ัน
วิกรม อศั วิกุล. (2541). ปจั จยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ ความรสู้ กึ มน่ั คงในการทำงานและผลของความร้สู ึกมั่นคง
ในการทำงานทมี่ ีต่อความทมุ่ เทใหก้ ับงานและความต้งั ใจท่จี ะลาออกของพนักงานบรษิ ัทเงินทุน
หลกั ทรัพยว์ ิทยานิพนธศ์ ิลปศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศิริวรรณ สุจริต. (2551). ความสัมพนั ธ์ระหว่างความมัน่ คงในการทำงาน และการรบั รู้ความสามารถ
ของตนเอง กับพฤตกิ รรมการทำงานของพนกั งานธนาคารพาณชิ ยแ์ ห่งหนงึ่ วทิ ยานิพนธ์ วทิ ยาศาสตร
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมพงษ์ เกษมสิน (2549). การบรหิ าร, พิมพ์คร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : คณะรฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบัน
บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์
สร้อยตระกูล (ทวิ ยานนท)์ อรรถมานะ (2535), สาธารณบริหารศาสตร์, พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2.
กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เสนาะ ตเิ ยาว.์ (2546). การบรหิ ารงานบุคคล, กรงุ เทพมหานคร : บญุ ศริ ิการพิมพ์
Aaker, D.A., Kumar, V.& Day, G.S. (2001). Marketing research. New York: John Wiley &
Sons. Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making (4 hed).
New York:John Wiley & Sons.Nunnally, J, C. (1978). Psychometric theory. New York
McGraw-Hill

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เครื่องมอื การวจิ ยั

แบบสอบถาม

เร่อื ง ผลกระทบของความมั่นคงในการทำงานทม่ี ตี ่อประสิทธิภาพการทำงานของนกั บัญชีหน่วยงาน
ราชการในจังหวัดนครราชสีมา

คำชีแ้ จง

1. แบบสอบถามน้ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษาหลักสตู รบริหารธรุ กจิ มหาบัณฑิต สาขา
บรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี มวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาผลกระทบของความ
มนั่ คงในการทำงานท่มี ีต่อประสิทธิภาพการทำงานนักบัญชีหน่วยงานราชการในจงั หวดั
นครราชสีมา

2. แบบสอบถามน้ีประกอบด้วยคำถาม 4 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 ข้อมลู เกย่ี วกบั ปัจจัยสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกี่ยวกบั ความมัน่ คงในการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการในจงั หวดั
นครราชสมี า
ตอนท่ี 3 ข้อมูลเกย่ี วกับประสิทธภิ าพการทำงานของนกั บญั ชหี นว่ ยงานราชการในจงั หวดั
นครราชสีมา

ตอนท่ี 4 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ
3. ผวู้ ิจัยใครข่ อความรว่ มมือในการตอบแบบสอบถามให้ครบทุกข้อตามความเปน็ จรงิ
เพือ่ ทีจ่ ะนำผลที่ไดไ้ ปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาต่อไป ซึ่งข้อมลู จากการตอบแบบสอบถาม
นน้ั ผู้วิจัยจะทำการเก็บไว้เป็นความลบั และจะนำเสนอวจิ ัยนี้ในภาพรวมเทา่ น้นั

ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ที่ทา่ นได้กรุณาสละเวลาอันมีคา่ เพือ่ ตอบแบบสอบถาม

แบบสอบถามสำหรับงานวิจยั

ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกย่ี วกบั ปจั จัยสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่อื งหมาย / ลงใน • ที่ตรงหน้าขอ้ ความทต่ี รงกับข้อมลู ของทา่ นมากท่ีสดุ

1.เพศ

• 1) ชาย • 2) หญิง

2.อายุ

• 1) ตำ่ กวา่ 20 ปี • 2) 20 – 30 ปี

• 3) 31 - 40ปี • 4) มากกว่า41ข้นึ ไป

3.สถานภาพ

• 1) โสด • 2) สมรส

• 3) หยา่ รา้ ง/แยกกนั อยู่

4.รายได้

• 1) ต่ำกวา่ 10,000 บาท • 2) 10,001-20,000 บาท

• 3) 20,001-30,000 บาท • 4) 30,001 บาทข้ึนไป

ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกยี่ วกบั ความมน่ั คงในการทำงานที่ดตี ่อองค์กรของนักบัญชีหนว่ ยงานราชการใน
จังหวดั นครราชสีมา

คำชแ้ี จง: โปรดทำเครอื่ งหมาย / ลงใน ท่ีกำหนดใหเ้ พยี งคำตอบเตียว โดยมีเกณฑ์ 5 ระดบั ดังนี้
5 หมายถงึ เปน็ ระดบั ความคิดเหน็ ความม่ันคงในการทำงานของนักบญั ชหี นว่ ยงานราชการ
ในจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านใี นระดับมากท่ีสดุ

4 หมายถึง เปน็ ระดับความคิดเหน็ ความมน่ั คงในการทำงานของนักบัญชหี น่วยงานราชการ
ในจังหวดั สุราษฎรธ์ านใี นระดับมาก
3 หมายถงึ เป็นระดับความคิดเหน็ ความม่ันคงในการทำงานของนักบัญชีหนว่ ยงานราชการ
ในจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านีระดับป่านกลาง
2 หมายถงึ เปนื ระดบั ความคิดเห็นความมั่นคงในการทำงานของนักบญั ชีหน่วยงานราชการ
ในจังหวดั สุราษฎร์ธานรี ะดบั น้อย

1 หมายถงึ เปน็ ระดับความคดิ เหน็ ความมน่ั คงในการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการใน
จงั หวดั สุราษฎร์ธานรี ะดับนอ้ ยทส่ี ุด
กรุณาตอบคำถามให้ครบทุกข้อ โดยเลอื กระดบั ความคดิ เห็นทีต่ รงกับความคดิ เห็นของท่าน
มากทสี่ ุด หลงั จากท่ที ่านอ่านข้อคำถามแตล่ ะข้อแล้ว โดยในแต่ละข้อให้เลือกเพียงคำตอบ
เดยี ว

ขอ้ ความมัน่ คงในการทำงานท่ีดีต่อองคก์ ร ระดบั ความคิดเหน็
54
มากทสี่ ุด มาก 32 1
ปานกลาง น้อย
น้อย
ที่สดุ

ดา้ นความรสู้ ึกเชื่อมนั่ วา่ จะได้รับการจา้ งงานจนเกษียณอายุ

1. ท่านมีความม่งุ ม่นั ท่จี ะปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีตลอดจน
เกษียณอายุ

2. ท่านมีความคิดท่จี ะปรับปรุงรูปแบบงานใหม้ ี
ประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น

3. ทา่ นมกี ารตดิ ตามผลงานทีท่ ำอยูส่ ม่ำเสมอ

4. ท่านมคี วามกระตอื รือร้นในการปฏิบัติงาน
อยูเ่ สมอ

ดา้ นโอกาสกา้ วหน้าในการทำงาน

1. ท่านมคี วามก้าวหนา้ ในงานเพือ่ ให้งาน
ออกมาอย่างสำเรจ็ และเป็นไปตามเป้าหมาย

2. ท่านมคี วามรคู้ วามสามารถในการเลือ่ นข้ัน
เลือนตำแหน่งมากน้อยเพียงใด

3. ทา่ นมคี วามรู้ความสามารถในงานมากพอใน
ระดบั หนึง่

4. ทา่ นมีการแก้ปญั หาต่อการทำงานผดิ พลาด
ได้มากน้อยเพียงใด

ด้านผลตอบแทนท่แี นน่ อน

1. ทา่ นลงทนุ ตอบแทนทแ่ี นน่ อนสว่ น หนึง่ และ
ส่วนหน่ึงลงทุนเพือ่ หวังผลกำไร

ข้อ ระดบั 3 21
ความ ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสดุ
2. ทา่ นชอบความทา้ ทายกล้าไดก้ ลา้ เสยี คิดเหน็

3. ท่านเปน็ คนเชื่อม่นั เฉพาะความคดิ ของตน 54
ด้านการได้รบั การปกครองอย่างเป็นธรรม
1. ท่านมกี ารดำรงตนและการประพฤติปฏิบัติ มากทีส่ ุด มาก

ตนในการทำงานอย่างซ่ือสัตย์
2. ทา่ นมคี วามสามารถในการปฏบิ ตั ิงานที่

คคู่ วรแก่การยอมรบั
3. ทา่ นมคี วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านที่

คคู่ วรแก่การยอมรบั
4. ท่านมีความเหมาะสมและถูกตอ้ งท้ังในกรอบ

ของคณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ
แหง่ วชิ าชีพ
ด้านความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน
1. ทา่ นพกั ผอ่ นเพยี งพอกอ่ นการเข้าปฏิบตั ิงาน
ในแต่ละวัน
2. ทา่ นปฏิบัติงานดว้ ยความระมดั ระวัง
3. ท่านดื่มสรุ า หรือเครอ่ื งด่มื ที่มแี อลกอฮอร
4. ก่อนการปฏิบัตงิ าน หรอื ชว่ งพกั
5. ท่านมกั ลองผดิ ลองถกู ด้วยตนเองเมือ่ ไม่
เข้าใจวธิ กี ารปฏิบัติงาน

ตอนที่ 3 ขอ้ มลู เกี่ยวกับประสิทธภิ าพการทำงานของนักบัญชหี น่วยงานราชการในจงั หวัด
นครราชสีมา

คำชแ้ี จง: โปรดทำเครื่องหมาย / ลงใน ท่กี ำหนดใหเ้ พยี งคำตอบเตยี ว โดยมีเกณฑ์ 5 ระดับ ดังน้ี

5 หมายถงึ เปน็ ระดับความคิดเหน็ ประสทิ ธภิ าพการทำงานของนักบญั ชหี นว่ ยงานราชการใน
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

4 หมายถึง เป็นระดบั ความคิดเห็นประสทิ ธภิ าพการทำงานของนักบัญชหี นว่ ยงานราชการใน
จงั หวัดสุราษฎรธ์ านใี นระดบั มาก

3 หมายถงึ เป็นระดับความคิดเหน็ ประสทิ ธิภาพการทำงานของนักบัญชีหน่วยงานราชการใน
จงั หวัดสุราษฎรธ์ านรี ะดบั ป่านกลาง

2 หมายถงึ เปนื ระดับความคิดเหน็ ประสิทธภิ าพการทำงานของนักบญั ชีหนว่ ยงานราชการใน
จังหวดั สรุ าษฎร์ธานรี ะดับน้อย

1 หมายถงึ เปน็ ระดับความคิดเห็นประสิทธภิ าพการทำงานของนักบัญชหี น่วยงานราชการใน
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานรี ะดบั นอ้ ยท่สี ุด

กรุณาตอบคำถามให้ครบทุกข้อ โดยเลือกระดับความคิดเห็นที่ตรงกับความคดิ เหน็ ของท่าน
มากที่สดุ หลังจากทที่ ่านอา่ นข้อคำถามแต่ละขอ้ แลว้ โดยในแต่ละข้อให้เลือกเพยี งคำตอบ
เดยี ว

ข้อ ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน ระดบั ความคิดเหน็

54 3 2 1
ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ุด
มากท่สี ุด มาก

ด้านคณุ ภาพของงาน

1. ท่านมกี ารปฏบิ ัตงิ านด้วยความร้ทู ีท่ ่านมีและ
ความเข้าใจของทา่ นเพยี งใด

2. ท่านมีผลงานที่มีคณุ ภาพกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์
ตอ่ องค์กรและสร้างความประทับใจให้ลูกคา้
หรือผู้มารับบริการ

3. ผ้ใู ตบ้ ังคบั บัญชาของท่านมีการศกึ ษา คน้ คว้า
เเละหาขอ้ มลู ในการปฏิบตั ิงานเพิม่ เติมอยู่
สมำ่ เสมอ เพอื่ นำความรู้ใหม่ท่ไี ด้มาประยุกต์
ในการปฏิบัติงานใหม้ คี ุณภาพมากข้ึน

4. ท่านมีความพึงพอใจ ผลการทำงานมี
คุณภาพสูงมคี วามถูกต้องได้มาตรฐาน
ครบถ้วนน่าเช่อื ถอื และเปน็ ไปตามมาตรฐาน

5. ผูใ้ ต้บังคบั บัญชาของทา่ นมกี ารวางเเผนในกา
กรปฏิบตั งิ านไวล้ ่วงหนา้ เเละมกี ารตรวจสอบ
คุณภาพงานกอ่ นส่งมอบอยา่ งสมำ่ เสมอ

6. ผลงานของผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชาของทา่ นไดป้ ฏบิ ตั ิ
มีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น เเละเชอ่ื ถือได้

ด้านปรมิ าณงาน

1. ท่านมีการปฏิบัตงิ านดว้ ยความรู้ทีท่ า่ นมีและ
ความเขา้ ใจของท่านเพยี งใด


Click to View FlipBook Version