FACULTY OF MEDICINE
Jul-Sep 2022
Academics Awards
โครงการ EdPEx200 รนุ่ ท่ี 9
กัญชาเพอ่ื การรักษา ใช้ใหด้ มี ปี ระโยชน์ รางวลั การวจิ ยั แหง่ ชาติ : รางวลั เมธวี จิ ยั อาวโุ ส วช. ประจาำ ปี 2565
กญั ชากบั ภาวะทางจิต การรบั รองคณุ ภาพคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ยร์ ะดบั ชาติ (NECAST)
รางวลั ผลงานวจิ ยั งานประชมุ ใหญป่ ระจาำ ปี 2565 สมาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทย
Activities รางวลั ศษิ ยเ์ กา่ แหง่ ความภาคภมู ใิ จ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
รางวลั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดเี ดน่ ดา้ นความปลอดภยั ทเ่ีกย่ี วขอ้ งกบั สารเคมี (ESPReL)
งานประชมุ วชิ าการ Medicine in the Metaverse Era 2022 รางวลั เยาวชนดเี ดน่ กรงุ เทพมหานคร (ประกายเพชร) ครง้ั ท่ี 17
โครงการจติ อาสาพฒั นาพืน้ ที่ วนั แมแ่ ห่งชาติ (ฺBig Cleaning Day) รางวลั สนบั สนนุ ผลงานทไ่ี ดร้ บั การจดทะเบยี นสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
พธิ ีทาำ บญุ อทุ ศิ ส่วนกุศลแดอ่ าจารย์ใหญ่ (ผอู้ ทุ ศิ รา่ งกายเพอ่ื การศกึ ษา รางวลั วทิ ยานพิ นธด์ เี ดน่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจาำ ปกี ารศกึ ษา 2563
วชิ ามหกายวภิ าคศาสตร)์ ประจาำ ปกี ารศกึ ษา 2565 Research
การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการชว่ ยเหลอื ชีวติ ขนั้ พื้นฐาน
ทนุ วิจัยจากกองทุนสง่ เสริมวิทยาศาสตร์วิจยั และนวัตกรรม
พิธีลงนามบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) เพอ่ื สนบั สนนุ งานมูลฐาน (Fundamental Fund)
ในการพิจารณาจริยธรรมการวจิ ยั ในคน ของมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร ์ประจำาปงี บประมาณ 2566
งานประชมุ Meet the expert in MIS urology TU ครัง้ ที่ 1 Personnel
การศกึ ษาดงู านระบบงานและการบรหิ ารจดั การของคณะกรรมการจรยิ ธรรม
การวจิ ัยในมนุษย์ เครอื โรงพยาบาลพญาไทและโรงพยาบาลเปาโล
วันมหิดล ประจำาปีการศึกษา 2565
Students / Residencies / Fellowships งานปฐมนเิ ทศอาจารยแ์ ละฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารความรดู้ า้ นแพทยศาสตรศกึ ษา
ขั้นพน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา 2565
งานปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาและประชุมผู้ปกครอง ประจำาปีการศกึ ษา 2565 งานเกษียณอายรุ าชการ
งานรับขวัญน้องแพทย์แผนไทยประยุกตร์ นุ่ ท่ี 18 การแตง่ ต้งั ใหด้ าำ รงตาำ แหน่งทางวชิ าการ
แนะนาำ อาจารย์ใหม่
ทนุ การศึกษาสำาหรบั นักศึกษาแพทย์ ประจำาปกี ารศึกษา 2565 อาจารย์กลบั จากลาศกึ ษาตอ่
พธิ ีมอบทนุ การศึกษามลู นธิ ิทุนแพทยเ์ พอ่ื ปวงประชา
กจิ กรรมตอบปัญหาแพทยศาสตร์วิชาการ ครงั้ ท่ี 18
พธิ ีไหว้ครู ประจาำ ปกี ารศึกษา 2565
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ กองบรรณาธิการ
Website: http://www.med.tu.ac.th / https://www.med-thammasat.org ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยส์ ิระ นนั ทพิศาล
Facebook: med.tu / Faculty of Medicine, Thammasat University / พบหมอธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อัสนี ทองอยู่
Youtube: Faculty of Medicine Thammasat University หทัยรัตน์ สาธธุ รรม
ชุตนิ ันท์ กลิน่ จนั ทรห์ อม
จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ ธาตรี ทวแี สง
เพ่ือเผยแพร่ขา่ วสาร เรอื่ งนา่ รู้ และกจิ กรรมต่าง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปณั ฑ์ณัฐ ปานพรม
แก่อาจารย์ บคุ ลากร นักศกึ ษา ศิษยเ์ กา่ และผสู้ นใจทว่ั ไป รัชต์พล ชมบุญ
ที่ปรึกษา เลขานกุ ารบรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ นายแพทยด์ ลิ ก ภิยโยทยั อรพรรณ บญุ เรือง
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อัจฉรา ตง้ั สถาพรพงษ์
ผู้ชว่ ยเลขานุการบรรณาธิการ
บรรณาธิการ อาทิตยา เรอื งรงุ่ ชยั กุล
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงคก์ ร ซ้ายโพธก์ิ ลาง
จัดทาำ โดย: คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
โทรศัพท์: 0-2926-9004 โทรสาร: 0-2516-3771
E-mail: [email protected]
พิมพ์ท:ี่ โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2564-3104-6
รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ส์ มบัตั ิิ มุ่ง่� ทวีีพงษา
ภาควิิชาอายุุรศาสตร์์
คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์
กัญั ชาเพื่่�อการรัักษา ส่่วนอาการแพ้้ “กััญชา” สามารถเจอได้้ทุุกกลุ่่�ม เป็็นเรื่�อง
ของแต่ล่ ะบุคุ คลในการแพ้ย้ าแต่ล่ ะชนิดิ การแพ้ก้ ัญั ชาจะพบได้้ไม่บ่ ่อ่ ย
ปััจจุุบัันมีีการวิิจััย “กััญชา” เกี่�ยวกัับการนำ�ำ มารัักษาโรคใน หรืือพบได้น้ ้้อย เพราะกัญั ชาเป็น็ สารที่อ�่ ยู่่�ในธรรมชาติิอยู่่�แล้ว้ แต่่มักั
การรัักษาแผนปััจจุุบััน ซึ่่�งมีีบางส่่วนที่่�นำำ�มาใช้้รัักษาบางโรค เช่่น เป็็นอาการข้้างเคีียงที่่�ส่่วนใหญ่่พบในกลุ่่�มคนที่่�ใช้้ในการเสพเพื่่�อการ
โรคลมชักั บางชนิดิ ที่ร�่ ักั ษาด้ว้ ยยาแผนปัจั จุบุ ันั และไม่ส่ ามารถควบคุมุ ได้้ สัันทนาการหรืือใช้้ในการสููบ เนื่�่องจากไม่่ได้้มีีการกำำ�หนดปริิมาณ
โดยมีีรายงานว่่าช่่วยควบคุุมการชัักได้้ดีีขึ้้�น รวมทั้้�งการรัักษา ของกัญั ชาหรืือสาร THC ที่�่ได้้รัับเข้า้ ไป และยัังขึ้้น� อยู่่�กัับหลายปััจจััย
อื่น�่ ๆ เช่น่ ใช้ท้ ำ�ำ ให้น้ อนหลับั ง่า่ ยขึ้น้� ในกลุ่่�มผู้้�ป่ว่ ยโรคมะเร็ง็ ระยะสุดุ ท้า้ ย เช่น่ ชนิิดของกััญชาที่่�ใช้ส้ ููบ วิิธีีการ และขั้�นตอนในการใช้้
หรืือโรคเรื้�อรััง และมีีผลกระทบแทรกซ้้อนจากการให้้ยาเคมีีบำ�ำ บััด
โดยจะใช้้กััญชาช่่วยบรรเทาผลแทรกซ้้อน ทำำ�ให้้ผู้้�ป่่วยหลัับสบายขึ้้�น ในกรณีีการใช้้น้ำ��ำ มัันกััญชาหยดใต้้ลิ้�น มีีโอกาสเกิิดผล
แต่่ทั้�งนี้ย� ังั ไม่่มีีการศึึกษาอย่า่ งเป็็นทางการที่เ่� ป็็นมาตรฐาน ซึ่ง่� จะต้อ้ ง ข้้างเคีียงน้อ้ ยกว่่าการสููบ แต่่ปริมิ าณเป็น็ สิ่ง� สำำ�คััญเช่่นกันั เพราะการ
ศึกึ ษาแบบสุ่่�มเพื่อ�่ เปรียี บเทียี บการใช้แ้ ละไม่ใ่ ช้ก้ ัญั ชาในโรคกลุ่่�มเหล่า่ นี้� ดููดซึึมด้ว้ ยการหยดใต้ล้ิ้น� อาจมีคี วามแตกต่า่ งกันั ในแต่ล่ ะราย รวมถึึง
เพื่่�อใช้เ้ ป็น็ มาตรฐานต่่อในอนาคต เทคนิคิ และวิธิ ีกี ารปฏิบิ ัตั ิใิ นการหยดหรือื การแตะใต้ล้ิ้น� รวมทั้้ง� ปริมิ าณ
ของ THC ที่่�อยู่่�ในตััวน้ำ�ำ� มัันที่�่ใช้้ก็็ส่่งผลด้้วยเช่่นเดีียวกััน ฉะนั้�นจึึง
การแพ้ก้ ััญชาและกลุ่่ม� เสี่่�ยง ไม่่แนะนำ�ำ ให้้ใช้้กััญชาในการสัันทนาการ เพราะมีีโอกาสค่่อนข้้างสููง
ที่่�จะเกิดิ ผลแทรกซ้อ้ น
การเมาหรืือแพ้้กััญชา มีีสาเหตุุมาจากสารสำ�ำ คััญในกััญชา
2 ชนิดิ คืือ สาร CBD เป็็นสารที่�่ไม่ม่ ีฤี ทธิ์ต�์ ่อ่ จิติ ประสาท ซึ่ง่� อาจช่่วย
ในการรัักษาหรืือใช้้ในทางการแพทย์์ได้้ และสาร THC เป็็นสารที่�่
ค่่อนข้้างก่่อให้้เกิิดผลกระทบด้้านลบและระบบประสาท ไม่่ว่่าจะเป็็น
เรื่อ� งของการเมาหรือื อาการหลอน ฉะนั้น� การติดิ กัญั ชา การเมา หรือื
อาการหลอน จึึงมาจากสาร THC เป็น็ หลักั ซึ่ง่� กัญั ชาที่ใ่� ช้้ในการบำำ�บัดั
ต่่าง ๆ จะมีีสาร THC ในปริิมาณจำำ�กััด เพื่�่อควบคุุมไม่่ให้้เกิิดผล
แทรกซ้้อน
-1-
อาจารย์์ แพทย์์หญิงิ วีีร์ว์ ะรินิ ทร์์ เจริิญพร
ภาควิชิ าจิติ เวชศาสตร์์
คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
ภาวะกััญชาเป็็นพิษิ - อีีกภาวะหนึ่�่งที่�่พบได้้ในผู้�้ที่�่เสพกััญชาอย่่างต่่อเนื่�่อง
มีชี ื่อ�่ ว่า่ “Amotivational syndrome” คืือภาวะที่ห�่ มดแรงจูงู ใจในการ
การใช้ก้ ัญั ชาในปริมิ าณมาก ทำำ�ให้้เกิิดภาวะกััญชาเป็น็ พิิษได้้ ใช้้ชีีวิิต ผู้้�ป่่วยไม่่คิิดจะทำำ�อะไรเลย อยากอยู่่�เฉย ๆ ไปวััน ๆ ส่่งผล
โดยมีีอาการมึึนเมา เยื่่�อบุุตาแดง ปากแห้้ง หััวใจเต้้นเร็็วและ กระทบต่่อการใช้้ชีีวิติ การเรียี น และการทำำ�งานเป็็นอย่่างมาก
ผิดิ จังั หวะ ความดันั โลหิติ ไม่ค่ งที่�่ การเคลื่อ่� นไหวไม่ป่ ระสาน เดินิ เซ และ
อาจพบอาการทางจิติ บางประการ เช่น่ อารมณ์ค์ รื้น� เครงหรือื ง่ว่ งซึึม ข้้อควรพิจิ ารณาสำำ�หรัับประชาชนก่่อนการใช้้
มากกว่่าปกติิ ความคิิดอ่่านช้้า สููญเสีียการตััดสิินใจที่่�ดีี มีีอาการ กัญั ชาทางการแพทย์์
หููแว่่ว หรือื หวาดระแวง
สารในกััญชามีีการนำ�ำ มาใช้้เสริิมการรัักษาทางการแพทย์์ใน
ภาวะพึ่่ง� พากััญชา หรืือติดิ กััญชา บางกรณีี แต่ค่ วรมีผี ู้เ�้ ชี่�ยวชาญดููแล ว่่าควรใช้้อย่า่ งไร ขนาดเท่า่ ไร มีี
ความจำ�ำ เป็็นทางการแพทย์์ที่�่จะใช้้หรืือไม่่ มีีข้้อห้้ามหรืือข้้อควรระวััง
สาร THC ในกััญชา ทำำ�ให้้มีีอาการเคลิิบเคลิ้ม� เกิดิ การดื้�อยา ในการใช้้หรืือไม่่ เพราะสารในกััญชามีีโอกาสตีีกัันกัับยาตััวอื่�่นที่่�ใช้้
ถอนยา และอยากยา รวมทั้้ง� ทำ�ำ ให้ผ้ ู้�้ใช้ก้ ััญชาจำ�ำ นวนหนึ่่ง� ไม่่สามารถ อยู่่�ได้้ และสารสกัดั นั้น� ต้อ้ งได้ร้ ับั การควบคุมุ คุณุ ภาพอย่า่ งเหมาะสม
ควบคุมุ การใช้้ได้้ และติดิ กัญั ชาในที่่�สุดุ
ผลของกััญชาต่่อสมองของเด็็กและเยาวชน บุุคคลใดควรหลีีกเลี่่ย� งการใช้ก้ ัญั ชา
เด็็กและเยาวชนที่�่มีีอายุุต่ำำ�� กว่่า 20 ปีี หญิิงตั้�งครรภ์์หรืือให้้
โดยเฉพาะในเด็ก็ และเยาวชนที่อ�่ ายุุต่ำ�ำ�กว่่า 20 ปีี ซึ่�่งเป็น็ วัยั ที่่�
สมองยังั พััฒนาไม่่เต็ม็ ที่่� สาร THC ในกััญชาเข้า้ ไปรบกวนการสร้้าง นมบุุตร เนื่่�องจากกััญชาสามารถผ่่านรกและน้ำำ�� นมเข้้าไปทำ�ำ ลาย
เส้น้ ใยประสาท การสื่�อ่ สารระหว่่างเซลล์ส์ มอง ทำ�ำ ให้ส้ มองทำำ�งานช้้า สมองของเด็ก็ ได้้ ผู้ท�้ ี่ม่� ีปี ระวัตั ิแิ พ้ก้ ัญั ชา กัญั ชงมาก่อ่ น ผู้ท�้ ี่ม�่ ีโี รคหัวั ใจ
พัฒั นาการหยุดุ ชะงักั เด็ก็ จึึงมีสี ติปิ ััญญาลดลงกว่า่ ปกติิ และหลอดเลืือด ผู้�้ ป่่วยโรคจิิตเวช นอกจากนี้� ในผู้�้สู งอายุุ ผู้�้ ป่่วย
โรคตับั -ไต ผู้�้ ป่่วยโรคมะเร็็ง หากต้้องการใช้้ควรปรึึกษาแพทย์์
กััญชาเพิ่่ม� ความเสี่่ย� งในการเกิดิ โรคทางจิติ เวช
คำ�ำ แนะนำำ�การใช้้กััญชา
สาร THC ในกััญชา มีีผลข้้างเคีียงต่่อระบบประสาท ทำำ�ให้้ ผู้�้ ปกครองควรให้้ความรู้้�แก่่เด็็กและเยาวชนในการดููแล
เกิดิ ปััญหาด้า้ นอารมณ์์ พฤติกิ รรม และอาจเพิ่่ม� ความเสี่ย� งการเกิิด
โรคทางจิติ เวชได้้ เช่น่ ของท่่านให้ท้ ราบถึึงอันั ตรายจากการใช้้กััญชา และช่ว่ ยกัันสอดส่่อง
- การกระตุ้�นให้เ้ กิดิ อาการทางจิติ ผู้เ�้ สพกัญั ชาอาจมีอี าการ ดููแลเด็็ก ๆ ให้้ห่่างไกลกััญชา สำำ�หรัับท่่านที่่�ต้้องการใช้้กััญชาเพื่�่อ
หููแว่่ว ระแวง มีีการพููดและพฤติิกรรมที่�่แปลกประหลาดคล้้ายกัับ การรัักษาโรค ควรปรึึกษาแพทย์์ที่�่ผ่่านการอบรมการใช้้สารสกััด
ผู้�้ ป่ว่ ยโรคจิิตเภทได้้ กััญชาก่่อนเสมอ เพื่่อ� ความปลอดภัยั สููงสุดุ เนื่อ�่ งจากการใช้้กัญั ชา
- การเสพกััญชาอาจทำำ�ให้้อาการของโรคทางอารมณ์์ ทางการแพทย์์นั้�นมีคี วามซัับซ้อ้ น
เช่่น โรคซึึมเศร้้า โรคอารมณ์์สองขั้�ว (Bipolar Disorder) มีี
ความรุุนแรงมากขึ้�้น นอกจากนี้�ยัังอาจไปกระตุ้�นอาการวิิตกกัังวล
อาการตื่่น� ตระหนกได้้
-2-
งานประชุุมวิิชาการ Medicine in the Metaverse Era 2022
วัันที่�่ 3-5 สิิงหาคม พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ จััดงานประชุุมวิิชาการคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ประจำำ�ปีี
2565 หัวั ข้อ้ “MEDICINE IN THE METAVERSE ERA” ณ อุุทยานการเรียี นรู้�ป๋๋วย 100 ปีี มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์ร์ ังั สิิต โดยมีี
รองศาสตราจารย์เ์ กศินิ ีี วิฑิ ูรู ชาติิ อธิกิ ารบดีมี หาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ เป็น็ ประธานในพิธิ ีี และมอบโล่เ่ ชิดิ ชููเกียี รติศิ ิษิ ย์เ์ ก่า่ ดีเี ด่น่ แพทย์ธ์ รรมศาสตร์์
โครงการจิิตอาสาพััฒนาพื้้น� ที่่� วัันแม่่แห่่งชาติิ (Big Cleaning Day)
วัันที่�่ 17 สิิงหาคม พ.ศ. 2565 บุุคลากรคณะแพทยศาสตร์์ เข้้าร่่วมโครงการจิิตอาสาพััฒนาพื้้�นที่�่ (ฺฺBig Cleaning Day) เนื่่�องใน
วัันแม่่แห่่งชาติิ และวัันเฉลิิมพระชนมพรรษาสมเด็็จพระนางเจ้้าสิิริิกิิติ์� พระบรมราชิินีีนาถ พระบรมราชชนนีีพัันปีีหลวง วัันที่่� 12 สิิงหาคม
พ.ศ. 2565 สนองตามนโยบายมหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ โดยความร่่วมมืือจากทุุกหน่่วยงานในสังั กัดั คณะแพทยศาสตร์์ ร่ว่ มทำำ�ความสะอาด
พื้้�นที่�โ่ ดยรอบ และบริิเวณลานจอดรถของคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
-3-
พิิธีีทำำ�บุุญอุุทิิศส่่วนกุุศลแด่่อาจารย์์ใหญ่่
(ผู้้�อุุทิศิ ร่างกายเพื่อ�่ การศึึกษาวิิชามหกายวิิภาคศาสตร์์)
ประจำำ�ปีีการศึกึ ษา 2565
วันั ที่่� 23 สิงิ หาคม พ.ศ. 2565 คณาจารย์์ และนักั ศึกึ ษาแพทย์์ การศึกึ ษา ในโอกาสนี้้� รองศาสตราจารย์ศ์ ิริ ิเิ พ็ญ็ ต่อ่ อุดุ ม รองคณบดีี
คณะแพทยศาสตร์์มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ร่ว่ มทำ�ำ บุญุ อุทุ ิศิ ส่ว่ นกุศุ ล ฝ่่ายการนัักศึึกษา ให้้เกีียรติิเป็็นประธานในพิิธีี โดยมีีคณาจารย์์
แด่อ่ าจารย์์ใหญ่่ (ผู้�อุทิศิ ร่า่ งกายเพื่อ� การศึกึ ษาวิชามหกายวิภาคศาสตร์)์ นักั ศึกึ ษาแพทย์์ และบุคุ ลากรสายสนับั สนุนุ เข้า้ ร่ว่ มพิธิ ีี ณ ห้อ้ ง 2014
ประจำ�ำ ปีีการศึึกษา 2565 เพื่�่อแสดงความเคารพและสำำ�นึึก ชั้�น 2 อาคารเรีียนและปฏิิบััติิการรวม (ปิิยชาติิ 2) มหาวิิทยาลััย
ในพระคุุณของอาจารย์์ใหญ่่ผู้้�เสีียสละร่่างกายให้้เป็็นประโยชน์์ต่่อ ธรรมศาสตร์์ ศููนย์ร์ ัังสิติ
การอบรมเชิิงปฏิิบััติกิ ารการช่่วยเหลืือชีีวิติ ขั้�นพื้้�นฐาน
วัันที่�่ 2 กัันยายน พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ จััดอบรม บุุคลากรให้้มีีความรู้้�และทัักษะในการปฏิิบััติิการช่่วยเหลืือผู้้�ป่่วย
เชิงิ ปฏิบิ ัตั ิกิ ารการช่ว่ ยเหลืือชีวี ิติ ขั้้น� พื้้น� ฐานโดยมีีผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ในกรณีีฉุุกเฉิิน และเพื่่�อให้้สามารถช่่วยเหลืือกู้้�ชีีพเบื้�องต้้น
นายแพทย์อ์ ิินทนนท์์ อิ่�มสุุวรรณ อาจารย์ป์ ระจำำ�ภาควิิชาเวชศาสตร์์ ได้้อย่า่ งถููกต้อ้ ง ณ ห้้องฝึกึ ทัักษะและหััตถการทางคลิินิิก (skill lab)
ฉุุกเฉิิน เป็็นวิิทยากรในการให้้ความรู้้�พื้�นฐานเกี่�ยวกัับปฏิิบััติิการ ชั้�น 6 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์
กู้้�ชีีพขั้้�นพื้้�นฐานและสำ�ำ ลัักสิ่�งแปลกปลอมติิดหลอดลม เพื่่�อพััฒนา ศููนย์์รัังสิติ
-4-
พิธิ ีีลงนามบันั ทึึกข้้อตกลง การศึกึ ษาดููงานระบบงาน
ความร่่วมมือื (MOU) และการบริิหารจัดั การ
ในการพิจิ ารณาจริยิ ธรรมการวิจิ ัยั ในคน
ของคณะกรรมการจริิยธรรม
วัันที่�่ 7 กัันยายน พ.ศ. 2565 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ การวิจิ ััยในมนุุษย์์
ไวพจน์์จันั ทร์ว์ ิเิ มลืืองประธานคณะกรรมการจริยิ ธรรมการวิจิ ัยั ในคน
มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ สาขาแพทยศาสตร์์ เข้้าร่่วมลงนาม เครือื โรงพยาบาลพญาไท
บัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ (MOU) ในการพิิจารณาจริิยธรรม และโรงพยาบาลเปาโล
การวิิจััยในคนแบบสหสถาบััน ระหว่่างสถาบัันภาคีีและสำำ�นัักงาน
คณะกรรมการการวิิจัยั แห่ง่ ชาติิ (วช.) วันั ที่�่20กันั ยายนพ.ศ.2565รองศาสตราจารย์์นายแพทย์ธ์ นา
ขอเจริิญพร ผู้้�ช่่วยรองคณบดีีฝ่่ายบริิการสุุขภาพและวิิชาการ
งานประชุุม Meet the expert in และรองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ไวพจน์์ จัันทร์์วิิเมลืือง ประธาน
MIS urology TU ครั้ง� ที่�่ 1 คณะกรรมการจริยิ ธรรมการวิิจััยในคน มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
สาขาแพทยศาสตร์์ ให้ก้ ารต้อ้ นรับั คณะกรรมการจริยิ ธรรมการวิจิ ัยั
ในมนุษุ ย์์ เครือื โรงพยาบาลพญาไทและโรงพยาบาลเปาโล เข้า้ ศึกึ ษา
ดููระบบงาน และการบริิหารจััดการ ของคณะกรรมการจริิยธรรม
การวิิจััยในคน มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ สาขาแพทยศาสตร์์
ณ สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการจริยิ ธรรมการวิจิ ัยั ในคน มหาวิทิ ยาลัยั
ธรรมศาสตร์์ สาขาแพทยศาสตร์์ อาคารราชสุดุ า ชั้น� 4
วัันที่่� 16 กัันยายน พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ โดย
ภาควิชิ าศัลั ยศาสตร์์ จัดั ประชุมุ Meet the expert in MIS urology
TU ครั้�งที่�่ 1 เพื่�่อให้้ความรู้้�ด้้านการดููแลรัักษาและการผ่่าตััด
มะเร็็งเนื้ �อไตและมะเร็็งต่่อมลููกหมากด้้วยการส่่องกล้้องหน้้าท้้อง
แก่่ศััลยแพทย์์และแพทย์์ประจำำ�บ้้านศััลยศาสตร์์ยููโรวิิทยา โดยมีี
รองศาสตราจารย์์นายแพทย์ด์ ิลิ กภิยิ โยทัยั คณบดีคี ณะแพทยศาสตร์์
เป็็นประธานกล่่าวเปิิดงาน และให้้การต้้อนรัับผู้�้เชี่�ยวชาญจาก
Kameda Medical Center ประเทศญี่่ป�ุ่�น โรงพยาบาลรามาธิิบดีี
โรงพยาบาลพระมงกุฎุ เกล้้า และโรงพยาบาลราชวิิถีี
-5-
วัันมหิดิ ล
ประจำ�ำ ปีีการศึกึ ษา 2565
วันั ที่�่23 กันั ยายน พ.ศ.2565รองศาสตราจารย์์นายแพทย์ด์ ิลิ ก
ภิิยโยทััย คณบดีี พร้้อมด้้วยคณะผู้้�บริิหาร บุุคลากร และนัักศึึกษา
คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ร่ว่ มพิธิ ีวี างพานพุ่�่ มถวาย
สักั การะ พระบรมรููปสมเด็จ็ พระมหิติ ลาธิเิ บศร อดุลุ ยเดชวิกิ รม พระบรม-
ราชชนก เนื่่�องใน “วัันมหิิดล” เพื่�่อเทิิดพระเกีียรติิในฐานะทรงเป็็น
“พระบิิดาแห่่งการแพทย์์แผนปััจจุุบััน” และน้้อมรำ�ำ ลึึกในพระ
มหากรุุณาธิิคุุณอัันหาที่่�สุดุ มิไิ ด้้ ณ ลานหน้า้ พระราชบิิดา ชั้�น 2 อาคาร
คุุณากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์
งานปฐมนิเิ ทศนัักศึึกษาและประชุุมผู้้�ปกครอง
ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2565
วัันที่�่ 2 สิิงหาคม พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ จััดงานปฐมนิิเทศนัักศึึกษาชั้�นปีีที่่� 1 และประชุุมผู้้�ปกครอง
ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2565 โดยในงานดังั กล่า่ วจะมีอี าจารย์ท์ ี่ป�่ รึึกษาให้ค้ ำ�ำ ปรึึกษาและตอบคำ�ำ ถามจากนักั ศึกึ ษาและผู้้�ปกครอง
เพื่�่อให้้นัักศึึกษามีีความพร้้อมสำ�ำ หรัับการศึึกษาในคณะแพทยศาสตร์์จนกระทั่�งจบการศึึกษา ณ อาคารศููนย์์ประชุุม
มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รังั สิติ
-6-
งานรับั ขวัญั น้้อง
แพทย์แ์ ผนไทยประยุุกต์ร์ุ่น� ที่�่ 18
วันั ที่่� 20 สิงิ หาคม พ.ศ. 2565 นักั ศึกึ ษาหลักั สููตรแพทย์แ์ ผนไทยประยุกุ ต์์ จัดั งานรับั ขวัญั น้อ้ งแพทย์แ์ ผนไทยประยุกุ ต์ร์ุ่�นที่่� 18
ประจำ�ำ ปีีการศึึกษา 2565 (รัับน้้อง ATTM’65) ณ ห้้องประชุุมแพทย์์โดม 2 ชั้�น 2 อาคารคุุณากร คณะแพทยศาสตร์์
มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์ร์ ังั สิติ
ทุุนการศึึกษาสำำ�หรัับนักั ศึึกษาแพทย์์
ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2565
วันั ที่�่ 3 สิงิ หาคม พ.ศ. 2565 คุณุ นลินิ ีี งามเศรษฐมาศ มอบเงินิ ทุนุ การศึกึ ษาสำ�ำ หรับั นักั ศึกึ ษาแพทย์์ ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2565
จำำ�นวน 5 ทุุน ทุนุ ละ 80,000 บาท รวมเป็น็ เงิินจำ�ำ นวน 400,000 บาท ณ ห้อ้ งแพทย์์โดม 3 อาคารคุณุ ากร คณะแพทยศาสตร์์
มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์
-7-
พิิธีีมอบทุุนการศึึกษา
มููลนิิธิิทุุนแพทย์เ์ พื่่อ� ปวงประชา
วัันที่่� 22 กัันยายน พ.ศ. 2565 ประธานมููลนิิธิิทุุนแพทย์์เพื่่�อปวงประชา โดย ดร.สุุรชััย สุุทธิิวรชััย และกรรมการมููลนิิธิิแพทย์์
เพื่อ่� ปวงประชา มอบทุนุ การศึกึ ษามููลนิธิ ิทิ ุนุ แพทย์เ์ พื่อ�่ ปวงประชา ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา2565ให้แ้ ก่น่ ักั ศึกึ ษาแพทย์์มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ที่เ่� รียี นดีี
แต่ข่ าดแคลนทุนุ ทรัพั ย์์ประเภททุนุ ต่อ่ เนื่อ�่ งจำ�ำ นวน14ทุนุ ทุนุ ละ60,000บาท(หกหมื่น�่ บาทถ้ว้ น)รวมทั้้ง� สิ้น� 840,000บาท(แปดแสนสี่ห� มื่น�่ บาทถ้ว้ น)
โดยมีีพิิธีีมอบทุุนการศึึกษา ณ ห้้องประชุุมแพทย์์โดม 3 คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต ซึ่่�งมีีผู้้�มอบทุุนการศึึกษา
ดัังรายนามต่่อไปนี้้�
คุุณวิิฑูรู ย์์ สิมิ ะโชคดีี คุณุ อมรจิติ ต์์ เอี่ย� ววิบิ ููลย์ว์ ิทิ ย์์ และคุณุ กณภัทั ร เอี่ย� ววิบิ ููลย์ว์ ิทิ ย์์
คุณุ ปิติ ิิ ตััณฑเกษม บริษิ ััท มายด์์เอจ อินิ โนเวชั่่�น จำ�ำ กััด
คุณุ ศิริ ิิกุุล ธนสารศิิลป์์ พลอากาศเอกมนััส รููปขจร
คุุณพิเิ ชฐ ลิิขิิตขจร บริษิ ัทั อััครบ้้านและที่�่ดิิน จำ�ำ กััด
คุุณสุุกัญั ญา วนิิชจัักร์ว์ งศ์์ และ MR.Chen Zhongping บริิษัทั มิลิ ลิิเมด จำำ�กัดั
คุุณธาราวดีี มนััสชิินอภิิสิิทธิ์�์ คุุณอนุุวัตั ิริ ์์ เหลืืองทวีกี ุุล
กิจิ กรรมตอบปัญั หาแพทยศาสตร์์วิิชาการ ครั้ง� ที่่� 18
วันั ที่�่ 10 กันั ยายน พ.ศ. 2565 คณะกรรมการนักั ศึกึ ษา คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ จัดั กิจิ กรรมตอบปัญั หาแพทยศาสตร์์
วิชิ าการ ครั้ง� ที่�่ 18 เพื่อ่� ให้น้ ักั เรียี นระดับั ชั้้น� มัธั ยมศึกึ ษาตอนปลายจากโรงเรียี นทั่ว� ประเทศมีโี อกาสแสดงศักั ยภาพทางวิชิ าการ ตลอดจนเปิดิ โอกาส
ให้้นักั เรียี นที่่�สนใจวิิชาชีีพแพทย์์ได้้ทราบถึึงเนื้�อหาวิชิ าและกระบวนการเรียี นการสอนของคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ เพื่�่อเป็น็
ประโยชน์ต์ ่อ่ การตััดสินิ ใจในการเลืือกศึกึ ษาต่อ่ ในอนาคต ซึ่�ง่ มีีนัักเรียี นเข้า้ ร่ว่ มกิจิ กรรมจำำ�นวน 190 ทีีม ทีมี ที่�่ได้้รัับรางวััล ได้แ้ ก่่
รางวััลชนะเลิิศ - โรงเรีียนสวนกุหุ ลาบวิทิ ยาลััย
123
รางวัลั รองชนะเลิิศอันั ดัับที่�่ 1 - โรงเรีียนกรุุงเทพคริสิ เตีียนวิิทยาลััย
123
1 12 23 รางวัลั รองชนะเลิิศอันั ดับั ที่�่ 2 - โรงเรียี นสวนกุุหลาบวิิทยาลััย รัังสิิต
3
1 2 3รางวััลชมเชย (ลำำ�ดับั ที่่� 4) - โรงเรีียนอััสสัมั ชัญั
รางวััลชมเชย (ลำ�ำ ดับั ที่�่ 5) - โรงเรียี นพิิบููลวิทิ ยาลัยั
โดยได้้รัับเกียี รติจิ าก รองศาสตราจารย์์ศิริ ิเิ พ็ญ็ ต่อ่ อุุดม รองคณบดีฝี ่า่ ยการนักั ศึึกษา คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
เป็็นผู้้�มอบรางวัลั ณ ห้อ้ ง 2014 ชั้น� 2 อาคารเรียี นและปฏิบิ ััติกิ ารรวม คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ ศููนย์์รัังสิิต
-8-
พิิธีีไหว้ค้ รู ประจำำ�ปีีการศึกึ ษา 2565
วัันที่�่ 29 กัันยายน พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ จััดพิิธีีไหว้้ครู ประจำำ�ปีีการศึึกษา 2565 ณ ห้้องเรีียน 500 ที่�่นั่�ง อาคารเรีียนและปฏิิบััติิการรวม
มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ศููนย์ร์ ัังสิติ และมอบโล่ป่ ระกาศเกียี รติิคุุณ ใบประกาศนีียบัตั ร เกีียรติิบัตั ร รางวัลั และทุนุ การศึึกษาให้้กับั อาจารย์แ์ ละนักั ศึกึ ษา ดัังนี้�
รางวัลั โล่่ประกาศเกียี รติคิ ุณุ ผู้ป้� ระพฤติิตนดีีเด่น่ ในเชิงิ คุณุ ธรรม จริิยธรรม ประจำำ�ปีกี ารศึกึ ษา 2564 จากแพทยสภา
- รางวัลั สำำ�หรัับอาจารย์ ์ ได้แ้ ก่่ รองศาสตราจารย์์ แพทย์ห์ ญิิงศุุกระวรรณ อินิ ทรขาว ภาควิิชากุุมารเวชศาสตร์์
- รางวััลสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา ได้แ้ ก่่ นางสาวไอศวรรย์์ สินิ ธุุรงค์์ นัักศึึกษาชั้น� ปีที ี่่� 6
รางวััลโล่เ่ ชิดิ ชููเกียี รติิ ครููดีีเด่่น ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2565 ได้้แก่่ รองศาสตราจารย์์ ดร.ศรีเี มืือง พลังั ฤทธิ์�์
- ครููสถานเวชศาสตร์์ชุมุ ชนและเวชศาสตร์ค์ รอบครััวดีีเด่่น ได้แ้ ก่ ่ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. นายสัตั วแพทย์ป์ ธานิิน จัันทร์์ตรีี
- ครููพรีคี ลินิ ิิกดีีเด่น่ ได้้แก่่ ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ นายแพทย์์บันั ดาล ซื่�่อตรง
- ครูคลินิ ิกิ ดีีเด่่น ได้้แก่่ ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร. เภสัชั กรอินิ ทััช ศักั ดิ์ภ� ักั ดีเี จริญิ
- ครูแพทย์แ์ ผนไทยประยุุกต์ด์ ีเี ด่น่
รางวััลนัักศึึกษาแพทย์ผ์ ู้้�อุุทิิศตนในการทำ�ำ คุุณประโยชน์เ์ พื่่อ� ส่ว่ นรวม ประจำำ�ปีีการศึกึ ษา 2564
- นายณัฐั ดำำ�รงสุทุ รชัยั นัักศึกึ ษาชั้น� ปีที ี่่� 6
รางวัลั โล่เ่ ชิดิ ชููเกีียรติิ นักั ศึกึ ษาผู้ม้� ีคี ุุณธรรม จริยิ ธรรมและความประพฤติิดีีเด่่น ประจำ�ำ ปีกี ารศึกึ ษา 2564
หลัักสููตรแพทยศาสตรบัณั ฑิติ และหลัักสููตรแพทยศาสตรบััณฑิิต (หลักั สููตรภาคภาษาอัังกฤษ)
- นายกฤติิน ตั้ง� จิติ รธรรม นักั ศึึกษาชั้น� ปีีที่่� 2
- นายเจตนิิพัทั ธ์์ ปััญญา นัักศึึกษาชั้น� ปีีที่่� 3
- นางสาวพราวพิชิ ชา เกิิดดอนแฝก นักั ศึกึ ษาชั้น� ปีีที่่� 4
- นายณพ คงทน นัักศึึกษาชั้น� ปีที ี่�่ 5
หลัักสููตรการแพทย์์แผนไทยประยุกุ ต์บ์ ัณั ฑิิต
- นางสาวหทัยั ชนก ชููเดช นัักศึึกษาชั้�นปีที ี่�่ 2
- นางสาวภููนภา ดีีสุดุ จิติ นักั ศึึกษาชั้น� ปีีที่่� 3
- นายสหภููมิิ คููประชามิิตร นักั ศึึกษาชั้น� ปีที ี่่� 4
รางวัลั เกีียรติิบัตั รพร้้อมทุุนการศึึกษาให้้กับั นักั ศึกึ ษาที่�มีีผลการเรียี นสููงสุดุ ระดัับชั้้น� ปีี ประจำำ�ปีกี ารศึึกษา 2564
นักั ศึกึ ษาชั้น� ปีีที่�่ 1 หลัักสููตรแพทยศาสตรบััณฑิิตและ หลัักสููตรการแพทย์แ์ ผนไทยประยุกุ ต์บ์ ัณั ฑิิต
หลักั สููตรแพทยศาสตรบััณฑิิต (ภาคภาษาอังั กฤษ) นางสาวหทััยชนก ชููเดช
นักั ศึกึ ษาชั้น� ปีีที่่� 2 นางสาวมณีพี ลอย จันั ดอนไผ่่
นักั ศึึกษาชั้�นปีที ี่่� 3 นางสาวแพรพร หมายเจริิญศรีี นางสาวภููษรีี เต็็มบุุญเกียี รติิ
นักั ศึึกษาชั้น� ปีที ี่�่ 4 นางสาวญานิิกา พูลู สวัสั ดิ์์� นายวงศธร พรมมีี
นักั ศึึกษาชั้�นปีีที่่� 5 นายบดินิ ทร์์ ด่า่ นตระกููล นายพลสรรค์์ พงษ์ส์ มบููรณ์์
นัักศึึกษาชั้น� ปีีที่�่ 6 นางสาวพุุทธรัักษา ปฏิยิ ัตั ต์์โยธิิน
นางสาวสุุพิชิ ชา บัญั ญััติิเลิศิ ถาวร
นางสาวปิิยเรศ มหััทธนารักั ษ์์
นางสาวศนิปิ พร เดชา
นายฐณพัฒั น์์ วงษ์์ทรัพั ย์์ทวีี
นางสาวฟ้้าใส โรจนภาพงศ์์
-9-
โครงการ EdPEx200 รุ่น� ที่�่ 9 รางวััลการวิิจััยแห่่งชาติิ :
รางวััลเมธีีวิิจััยอาวุุโส วช.
วัันที่�่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ ได้้ผ่า่ น
การประเมินิ ระดับั 200 คะแนน ให้เ้ ข้า้ ร่ว่ มโครงการ EdPEx200 รุ่�นที่�่ 9 ประจำำ�ปีี 2565
จากสำำ�นัักงานปลััดกระทรวงการอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์
วิิจัยั และนวััตกรรม (สป.อว.) วัันที่่� 1 สิงิ หาคม พ.ศ. 2565 ศาสตราจารย์์ นายแพทย์อ์ นุุชา
อภิสิ ารธนรักั ษ์์ อาจารย์ป์ ระจำำ�ภาควิชิ าอายุรุ ศาสตร์์ ได้ร้ ับั รางวัลั การ
วิจิ ัยั แห่ง่ ชาติิ : รางวัลั เมธีวี ิิจัยั อาวุุโส วช. ประจำำ�ปีี 2565 จากสมเด็จ็ -
พระกนิิษฐาธิิราชเจ้้า กรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ สยาม-
บรมราชกุุมารีี ในงานมหกรรมงานวิิจััยแห่่งชาติิ 2565 (Thailand
Research 2022) ณ โรงแรมเซ็น็ ทาราแกรนด์์ และบางกอกคอนเวนชันั
เซ็็นเตอร์์ เซ็็นทรััลเวิิลด์์ กรุุงเทพฯ จากโครงการวิิจััย เรื่�อง กลุ่่�ม
วิิจััยด้้านระบาดวิิทยาโรคติิดเชื้ �อการรัักษาและการป้้องกัันเกี่ �ยวกัับ
โรค COVID-19 และโรคติดิ ต่อ่ อื่่�น ๆ
การรับั รองคุุณภาพคณะกรรมการ
จริยิ ธรรมการวิิจัยั ในมนุุษย์์
ระดัับชาติิ (NECAST)
สำำ�นัั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จ ริิ ย ธ ร ร ม ก า ร วิิ จัั ย ใ น ค น
มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ สาขาแพทยศาสตร์์ (Human Research
Ethics Committee of Thammasat University (Medicine)
(HREC-TUMED)) ได้้รัับโล่่และประกาศนีียบััตรรัับรองคุุณภาพ
คณะกรรมการจริิยธรรมการวิิจััยในมนุุษย์์ระดัับชาติิ (NECAST)
จาก ศาสตราจารย์์พิเิ ศษ ดร.เอนก เหล่่าธรรมทัศั น์์ รััฐมนตรีีว่่าการ
กระทรวงการอุดุ มศึกึ ษา วิทิ ยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม ในมหกรรม
งานวิิจััยแห่่งชาติิ 2565 หรืือ Thailand Research Expo 2022
จากสำำ�นัักงานการวิิจััยแห่่งชาติิ (วช.) กระทรวงการอุุดมศึึกษา
วิิทยาศาสตร์์ วิจิ ัยั และนวัตั กรรม
- 10 -
รางวัลั ผลงานวิจิ ััย รางวัลั ห้้องปฏิิบัตั ิกิ ารดีีเด่่น
งานประชุุมใหญ่่ประจำำ�ปีี 2565 ด้า้ นความปลอดภัยั ที่�่เกี่่ย� วข้้อง
สมาคมโรคไตแห่่งประเทศไทย
กับั สารเคมีี (ESPReL)
วัันที่�่ 6 สิิงหาคม พ.ศ. 2565 ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์
ดร. นายแพทย์์พิิชญ ตัันติิยวรวงค์์ อาจารย์์ประจำ�ำ ภาควิิชา วัันที่่� 25 สิิงหาคม พ.ศ. 2565 สถานวิทิ ยาศาสตร์์พรีีคลินิ ิกิ
ระบาดวิทิ ยาคลินิ ิกิ ได้ร้ ับั รางวัลั ชนะเลิศิ การประกวดผลงานวิจิ ัยั Best คณะแพทยศาสตร์์ ได้้รัับโล่่รางวััลห้้องปฏิิบััติิการดีีเด่่นด้้านความ
Institutional Research Award ในงานประชุมุ ใหญ่ป่ ระจำ�ำ ปีี 2565 ปลอดภััยที่�่เกี่�ยวข้้องกัับสารเคมีี (ESPReL) และทุุนสนัับสนุุนการ
สมาคมโรคไตแห่่งประเทศไทย ณ ศููนย์์ประชุุมนานาชาติิพีีช พััทยา ยกระดัับความปลอดภััยห้้องปฏิิบััติิการ จากสำ�ำ นัักงานการวิิจััย
(PEACH) Royal Cliff Hotel พััทยา จ.ชลบุุรีี แห่่งชาติิ (วช.) ภายใต้้โครงการมหาวิิทยาลััยแม่่ข่่ายด้้านมาตรฐาน
ความปลอดภััยห้้องปฏิิบััติกิ าร ปีี 2564: มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์
รางวัลั ศิิษย์์เก่่าแห่่งความภาคภููมิิใจ รางวัลั เยาวชนดีีเด่่นกรุุงเทพมหานคร
มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น (ประกายเพชร) ครั้ง� ที่่� 17
วันั ที่�่ 23 สิงิ หาคม พ.ศ. 2565 รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ กลุ่่�ม Lessplastic.TU นำ�ำ โดย นายศิิรชััช หาญวิิวััฒนกููล
พฤหััส ต่่ออุุดม อาจารย์ป์ ระจำำ�ภาควิิชาสููติศิ าสตร์์-นรีเี วชวิิทยา ได้้ (หััวหน้้าโครงการ) นางสาวศิิรดา พงษ์์เภตรา นางสาวศรุุตยา
รับั รางวัลั ศิษิ ย์เ์ ก่า่ แห่ง่ ความภาคภููมิใิ จ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่ ประจำำ�ปีี สุุขประกอบ นางสาวริินรดีี ลีีนะวััต และนางสาวพรฑิิตา แซ่่หลี่่�
พ.ศ. 2563-2564 จากรองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ชาญชััย นักั ศึกึ ษาชั้น� ปีที ี่�่ 4 หลักั สููตรแพทยศาสตรบัณั ฑิติ (ภาคภาษาอังั กฤษ)
พานทองวิิริิยะกุุล อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยขอนแก่่น ณ เข้า้ รับั รางวัลั เยาวชนดีเี ด่น่ กรุงุ เทพมหานคร (ประกายเพชร) ครั้ง� ที่�่ 17
ห้อ้ งประชุุมสายสุุรีี จุุติิกุลุ คณะศึกึ ษาศาสตร์์ และศาลาพระราชทาน ด้้านทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่�งแวดล้้อม ประเภทกลุ่่�มเยาวชน
ปริิญญาบััตร (เดิิม) มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่่น ประกายเพชรจากนายชัชั ชาติิสิทิ ธิพิ ันั ธุ์�ผู้้�ว่า่ ราชการกรุงุ เทพมหานคร
เป็็นประธานในพิิธีี “เชิิดชููเกีียรติิเยาวชนดีีเด่่นกรุุงเทพมหานคร
(ประกายเพชร)” ครั้ง� ที่�่ 16 ประจำ�ำ ปีี 2564 และครั้ง� ที่่� 17 ประจำ�ำ ปีี 2565
ในวัันที่�่ 3 กัันยายน พ.ศ. 2565 ณ ศููนย์์เยาวชนกรุุงเทพมหานคร
(ไทย-ญี่่ป�ุ่�น) สำำ�นัักวััฒนธรรม กีฬี า และการท่่องเที่่�ยว
- 11 -
รางวัลั สนัับสนุุนผลงาน รางวััลวิิทยานิพิ นธ์ด์ ีีเด่่น
ที่่�ได้ร้ ัับการจดทะเบีียนสิิทธิิ มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์
ในทรัพั ย์ส์ ิินทางปััญญา ประจำำ�ปีกี ารศึึกษา 2563
รองศาสตราจารย์์ ดร.สุุมาลีี คอนโด อาจารย์ป์ ระจำ�ำ สาขา วิิทยานิิพนธ์์นักั ศึึกษาระดับั บัณั ฑิิตศึึกษา คณะแพทยศาสตร์์
อณููพัันธุุศาสตร์์-อณููชีีววิิทยาการแพทย์์ สถานวิิทยาศาสตร์์ ได้้รัับรางวััลวิิทยานิิพนธ์์ดีีเด่่น มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ ประจำำ�ปีี
พรีคี ลินิ ิกิ ได้ร้ ับั รางวัลั สนับั สนุนุ ผลงานที่่�ได้ร้ ับั การจดทะเบียี นสิทิ ธิใิ น การศึึกษา 2563 สาขาวิิทยาศาสตร์ส์ ุขุ ภาพ จำำ�นวน 2 รางวััล ดัังนี้�
ทรัพั ย์ส์ ินิ ทางปัญั ญา ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2565 ครั้ง� ที่�่ 3 ประเภทที่่� 1
ผลงานที่่�ได้้รัับการจดสิิทธิิบััตรการประดิิษฐ์์ (สิิทธิิบััตรในประเทศ) 1. วิทิ ยานิพิ นธ์ร์ ะดับั ปริญิ ญาเอก ของนายวรวัฒั น์์ สุรุ าฤทธิ์�์
จากมหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ เป็็นเงิิน 40,000 บาท จากผลงาน หลัักสููตรปรััชญาดุุษฎีีบััณฑิิต สาขาวิิชาชีีวเคมีีและชีีววิิทยาโมเลกุุล
ชื่่�อ เจลล้้างมืือที่่�มีีส่่วนผสมของสารสกััดจากฝาง ซึ่่�งได้้รัับการ เรื่�อง “MOLECULAR STUDIES OF Dioscorea birmanica
จดสิิทธิิบัตั ร วันั ที่่� 9 มีนี าคม พ.ศ. 2565 (เลขที่ส�่ ิิทธิบิ ััตร 86910) Prain & Burkill EXTRACT AND ITS SUBFRACTIONS ON
PROTECTIVE EFFECTS AGAINST OXIDATIVE STRESS
AND INFLAMMATION IN CELLULAR MODELS” โดยมีี ผู้�้ ช่่วย
ศาสตราจารย์์ ดร.พินิ ทุุสร หาญสกุุล เป็น็ อาจารย์ท์ ี่่�ปรึึกษา
2. วิิทยานิิพนธ์์ระดัับปริิญญาโท ของนางสาวมิินตรา
แก้้วกิิตติิคุุณ หลัักสููตรวิิทยาศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาเซลล์์
ต้น้ กำำ�เนิดิ และอณููชีวี วิทิ ยา(หลักั สููตรนานาชาติ)ิ เรื่อ� ง“EFFECTSAND
MECHANISMS OF ANDROGRAPHOLIDE ON ADIPOGENIC
DIFFERENTIATION OF HUMAN MESENCHYMAL STEM
CELLS” โดยมีี ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.ดวงรััตน์์ ตัันติิกััลยาภรณ์์
ศาสตราจารย์์ ดร.ศิริ ิกิ ุลุ มะโนจันั ทร์์ และศาสตราจารย์์ ดร. นายแพทย์์
ภาคภููมิิ เขียี วละม้า้ ย เป็็นอาจารย์์ที่ป่� รึึกษา
- 12 -
ทุุนวิิจััยจากกองทุุนส่่งเสริิมวิทิ ยาศาสตร์์
วิจิ ััยและนวััตกรรมเพื่อ่� สนับั สนุุนงานมููลฐาน (Fundamental Fund)
ของมหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ ประจำำ�ปีงี บประมาณ 2566
คณาจารย์์คณะแพทยศาสตร์์ ได้้รัับจััดสรรเงิินอุุดหนุุนจากกองทุุนส่่งเสริิมวิิทยาศาสตร์์วิิจััยและนวััตกรรมเพื่่�อสนัับสนุุนงานมููลฐาน
(Fundamental Fund) ของมหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2566 ดังั นี้�
รองศาสตราจารย์์ ดร.พรพรหม ย่อ่ ยสูงู เนินิ และ คณะฯ ผู้้�ช่วยศาสตราจารย์์ ดร.ดวงรััตน์์ ตัันติกิ ัลั ยาภรณ์์ และ คณะฯ
โครงการวิิจััย เรื่�อง “ผลของเคอร์์คููมิินและเตทตราไฮโดรเคอร์์คููมิินต่่อการ โครงการวิิจััย เรื่�อง “การศึึกษาผลของสารแอนโดรกราโฟไลด์์ต่่อการเพิ่่�ม
สร้า้ งเซลล์์ไขมันั ในเซลล์ต์ั้ง� ต้น้ ไขมันั ชนิดิ 3T3-L1 และการสร้า้ งหลอดเลืือดใหม่่ ปริิมาณและการคงคุุณสมบััติิของเซลล์์ต้้นกำำ�เนิิดเม็็ดเลืือดในกระบวนการ
ในเนื้อ� เยื่่�อไขมัันในหนููที่�่ถููกเหนี่่ย� วนำ�ำ ให้เ้ กิดิ ภาวะอ้้วนด้้วยอาหารที่่ม� ีีไขมันั สููง” เพาะเลี้ �ยงภายนอกร่่างกาย”
งบประมาณ 500,000 บาท งบประมาณ 500,000 บาท
ศาสตราจารย์์ ดร. นายแพทย์์ภาคภูมู ิิ เขียี วละม้า้ ย รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ณ์ รงค์์กร ซ้า้ ยโพธิ์�กลาง และ คณะฯ
โครงการวิจิ ัยั เรื่อ� ง “ผลของไซโตไคม์ท์ ี่ห่� ลั่่ง� ออกมาจากเซลล์ต์ ้น้ กำ�ำ เนิดิ มีเี ซ็น็ ไคม์์ โครงการวิจิ ัยั เรื่อ� ง “การค้น้ หาโรคปอดอุดุ กั้น� เรื้อ� รัังและโรคหืืดในชุมุ ชนจัังหวัดั
มนุุษย์์ต่่อคุุณสมบััติิทางชีีววิิทยาของเซลล์์มะเร็็งสมองชนิิด Glioblastoma ปทุมุ ธานีี ประเทศไทย”
multiforme” งบประมาณ 425,200 บาท
งบประมาณ 500,000 บาท รองศาสตราจารย์์ ดร.อรุณุ พร อิิฐรัตั น์์ และ คณะฯ
รองศาสตราจารย์์ ดร.ชัยั รัตั น์์ ตััณทราวััฒน์์พัันธ์์ และ คณะฯ โครงการวิิจััย เรื่�อง “การวิิจััยและนวััตกรรมเพื่�่อยกระดัับยาจากสมุุนไพรและ
โครงการวิิจััย เรื่�อง “พัันธุุศาสตร์์ประชากรของพยาธิิใบไม้้ที่่�มีีความสำ�ำ คััญ ยาไทยในการรัักษาโรคเรื้�อรัังและโรคร้้ายแรง”
ทางการแพทย์์ในทวีีปเอเซีียโดยใช้้ส่่วนอิินตรอนของยีีนฟอสฟาเจนไคเนสเป็็น งบประมาณ 4,000,000 บาท
เครื่อ� งหมายโมเลกุุล” ผู้้�ช่วยศาสตราจารย์์ ดร.สุมุ าลีี ปานทอง และ คณะฯ
งบประมาณ 893,000 บาท โครงการวิิจััย เรื่�อง “ประสิิทธิิผลของยาธาตุุบรรจบต่่อการบรรเทาอาการ
ผู้้�ช่วยศาสตราจารย์์ ดร.กานต์์ แสงไพโรจน์์ และ คณะฯ ปวดท้้องในผู้้�ป่ว่ ยโรคอาหารเป็็นพิิษ”
โครงการวิิจััย เรื่�อง “กลไกทางพิิษวิิทยาของสารประกอบกลุ่่�มโพลีีไซคลิิก งบประมาณ 510,300 บาท
อะโรมาติกิ ไฮโดรคาร์บ์ อนต่อ่ ความเป็น็ พิษิ และการอักั เสบของเซลล์แ์ อสโทรไซด์”์ ผู้้�ช่วยศาสตราจารย์์ ดร.นายสััตวแพทย์์ปธานิิน จัันทร์์ตรีี และคณะฯ
งบประมาณ 500,000 บาท โครงการวิิจััย เรื่�อง “การศึึกษาฤทธิ์�์ต้้านการอัักเสบของโปรตีีน
ผู้้�ช่วยศาสตราจารย์์ ดร.พรพรรณ สอนเชื้้อ� และ คณะฯ cystatin จากพยาธิิใบไม้้ตัับ Fasciola gigantica ในเซลล์์แมคโครฟาจและ
โครงการวิิจััย เรื่�อง “การตรวจหายีีนก่่อโรคและยีีนที่�่เกี่�ยวข้้องกัับการดื้�อยา หนููเม้้าส์์ที่�่เหนี่่ย� วนำำ�ให้้เกิดิ ลำ�ำ ไส้้อักั เสบ”
ปฏิิชีีวนะในเชื้�อ Bacillus cereus ที่่�แยกได้้จากอาหารด้้วยเทคนิิค Whole งบประมาณ 500,000 บาท
genome sequencing” อาจารย์์ ดร.นาตยา ทองเสภีี และ คณะฯ
งบประมาณ 500,000 บาท โครงการวิิจััย เรื่�อง “ผลของสารสกััดจากใบกระท่่อมต่่อสััญญาณประสาท
ศาสตราจารย์์ ดร.ศิิริกิ ุลุ มะโนจัันทร์์ ซิมิ พาเทติิกที่่ม� าเลี้�ยงไตและการทำ�ำ งานของไตในหนููขาว”
โครงการวิิจััย เรื่�อง “ผลของน้ำำ��ตาลความเข้้มข้้นสููงต่่อความสามารถในการ งบประมาณ 500,000 บาท
อยู่่�รอดและศัักยภาพในการเจริิญพััฒนาเป็็นเซลล์์กระดููกของเซลล์์ต้้นกำำ�เนิิด ผู้้�ช่วยศาสตราจารย์์ ดร.พงศกร มาตย์ว์ ิิเศษ และ คณะฯ
มีเี ซนไคม์์มนุุษย์์” โครงการวิิจััย เรื่�อง “การพััฒนาการตรวจวิินิิจฉััยโรคติิดเชื้�อพยาธิิใบไม้้ตัับ
งบประมาณ 1,275,700 บาท Opisthorchis viverrini ในซีีรััมและปััสสาวะด้้วยโมโนโคลนอลแอนติิบอดีี
รองศาสตราจารย์์ ดร.จารุณุ ีี ควรพิบิ ููลย์์ และ คณะฯ ต่อ่ cysteine proteases”
โครงการวิิจัยั เรื่�อง “การสัังเคราะห์ท์ างชีวี ภาพ ลัักษณะสมบัตั ิทิ างโครงสร้้าง งบประมาณ 500,000 บาท
และคุุณสมบััติิในการเป็็นสารต้้านฟัันผุุและสารพรีีไบโอติิกของผลิิตภััณฑ์์ ศาสตราจารย์์ นายแพทย์อ์ นุชุ า อภิสิ ารธนรัักษ์์ และ คณะฯ
กลููโคซิิลโพลีอี อล” โครงการวิจิ ัยั เรื่อ� ง “การสร้า้ งเครือื ข่า่ ยกระบวนการส่ง่ เสริมิ การใช้ย้ าต้า้ นจุลุ ชีพี
งบประมาณ 500,000 บาท อย่า่ งเหมาะสมเพื่�่อส่ง่ เสริิมความปลอดภััยในการใช้ย้ า”
งบประมาณ 1,185,100 บาท
- 13 -
งานปฐมนิิเทศอาจารย์์และฝึกึ อบรมเชิงิ ปฏิบิ ัตั ิกิ ารความรู้�
ด้า้ นแพทยศาสตรศึกึ ษาขั้�นพื้้�นฐาน ปีกี ารศึึกษา 2565
คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ จััดงานปฐมนิิเทศอาจารย์์และฝึึกอบรมเชิิงปฏิิบััติิการความรู้�้ ด้้านแพทยศาสตร-
ศึึกษาขั้�นพื้้�นฐาน ปีีการศึึกษา 2565 ระหว่่างวัันที่่� 12-16 กัันยายน พ.ศ. 2565 ณ ห้้องประชุุมแพทย์์โดม 3 อาคารคุุณากร
คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ศููนย์ร์ ัังสิิต และ Asita eco Resort จ.สมุทุ รสงคราม
งานเกษีียณอายุุราชการ
วันั ที่่� 23 กันั ยายน พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์์ จัดั งานเกษียี ณอายุรุ าชการเพื่อ�่ เป็น็ การขอบคุณุ และแสดงกตเวทิติ าจิติ ต่อ่ ผู้เ�้ กษียี ณ
อายุรุ าชการที่�่ได้้ปฏิบิ ััติิหน้า้ ที่่จ� นครบวาระเกษียี ณอายุุราชการ โดย รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ดิิลก ภิยิ โยทัยั คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์
มอบของที่ร�่ ะลึึกให้ก้ ับั ผู้ท้� ี่เ�่ กษียี ณอายุรุ าชการ ณ ห้อ้ งสโมสร ชั้น� 4 อาคารคุณุ ากร คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ศููนย์ร์ ังั สิติ
โดยมีรี ายนามดัังนี้�
- รองศาสตราจารย์์ แพทย์ห์ ญิิงวนิดิ า เปาอิินทร์ ์ (ภาควิิชากุมุ ารเวชศาสตร์์)
- รองศาสตราจารย์ช์ ุุมพจต์์ อมาตยกุลุ (สาขาเวชศาสตร์์ชุุมชน)
- รองศาสตราจารย์์ปนัดั ดา โรจน์์พิบิ ููลสถิติ ย์ ์ (สาขาชีีวเคมีี)
- ผู้�้ ช่่วยศาสตราจารย์์ นายแพทย์์วิชิ ััย ลีีละวงค์์เทวััญ (ภาควิชิ าจักั ษุวุ ิทิ ยา)
- ดร.วรพล วิแิ หลม (งานบริกิ ารการศึกึ ษา)
- นางชุุตินิ ัันท์์ กลิ่�นจัันทร์์หอม (งานบริหิ ารทรัพั ยากรมนุษุ ย์)์
- นางสาวบุุญทวีี เพ็็งทิิพย์ ์ (งานบริหิ ารทรัพั ยากรมนุษุ ย์์)
- นางรัชั นีี ศัักดิ์�ปรีีชา (งานกิจิ การนัักศึึกษา)
- นางจงรััก มั่�งนุุกููล (เวชศาสตร์์ชุุมชน) และ
- นายศุภุ กร ชนะศุุภเจริิญ (สถานวิทิ ยาศาสตร์พ์ รีคี ลินิ ิกิ )
- 14 -
การแต่่งตั้�งให้ด้ ำ�ำ รงตำำ�แหน่่งทางวิิชาการ
รองศาสตราจารย์์
12345 6
1. รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์วรนาถ ทััตติิยกุุล ภาควิิชาจัักษุุวิทิ ยา
2. รองศาสตราจารย์์ ดร.ปริิศนา ปิิยะพันั ธุ์์� สาขาสรีีรวิิทยา
3. รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์อ์ ดิินันั ท์์ อภิิวััฒน์์การุุญ ภาควิชิ าออร์์โธปิิดิกิ ส์์
4. รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์ว์ ีรี ะยุุทธ โถวประเสริิฐ ภาควิิชาศัลั ยศาสตร์์
5. รองศาสตราจารย์์ แพทย์ห์ ญิงิ พันั ธุ์�จง หาญวิวิ ัฒั นกุุล ภาควิชิ าอายุุรศาสตร์์
6. รองศาสตราจารย์์ นายแพทย์์อมรพล กันั เลิิศ ภาควิชิ าศัลั ยศาสตร์์
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์
123456
1. ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.แพทย์์แผนไทยประยุุกต์์ภููริิทัตั กนกกังั สดาล สถานการแพทย์์แผนไทยประยุกุ ต์์
2. ผู้�้ ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ นายแพทย์ย์ ศวีี วังั วรวุฒุ ิ ิ ภาควิิชาโสต ศอ นาสิกิ วิิทยา
3. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.เภสััชกรหญิงิ สุธุ ีรี า สังั ข์์ศิริ ิ ิ สาขาเภสัชั วิทิ ยา
4. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์ณ์ ฐินิ ีี พงศ์์ไพฑูรู ย์์สิิน สาขาเวชศาสตร์ช์ ุุมชน
5. ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.ผกากรอง ทองดีียิ่ง� สถานการแพทย์์แผนไทยประยุุกต์์
6. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ นายแพทย์์เกียี รติิชัยั ดาวรัตั นชััย ภาควิิชาเวชศาสตร์ฉ์ ุุกเฉิิน
แนะนำำ�อาจารย์์ใหม่่
อาจารย์ส์ ัังกััดคณะแพทยศาสตร์์
12345
1. อาจารย์์ แพทย์์หญิงิ สุุภาเพ็็ญ เลิิศวุฒุ ิวิ ิิวััฒน์ ์ ภาควิชิ าสููติิศาสตร์์-นรีีเวชวิทิ ยา
2. อาจารย์์ แพทย์ห์ ญิงิ เนรัญั ชลา สุุนทรเกส ภาควิิชาวิสิ ััญญีีวิทิ ยา
3. อาจารย์์ ดร.สิทิ ธิิพล บุุญมั่น� สาขาเวชศาสตร์ช์ ุมุ ชน
4. อาจารย์์ ดร.ชวลิิต เงิินสมบััติิ สาขาชีวี เคมีี
5. อาจารย์์ ดร.บำำ�เพ็็ญภรณ์์ สนั่่น� นาม สาขากายวิิภาคศาสตร์์
- 15 -
แนะนำำ�อาจารย์์ใหม่่
อาจารย์ส์ ังั กััดโรงพยาบาลธรรมศาสตร์์เฉลิมิ พระเกียี รติิ
123 45
6 7 8 9 10
11 12 13 14 15
1. อาจารย์์ นายแพทย์์เอกพจน์์ ลี้�วััฒณากุลุ สาขาศัลั ยกรรม
2. อาจารย์์ แพทย์์หญิิงภาวนา ฌานวังั ศะ สาขาศัลั ยกรรม
3. อาจารย์์ แพทย์ห์ ญิงิ เยาวพา ศิริ ิิปการ สาขาเวชกรรมฉุกุ เฉิิน
4. อาจารย์์ นายแพทย์ฉ์ ััตรชััย ธรรมวงศ์์สกุุล สาขาพยาธิิ
5. อาจารย์์ แพทย์์หญิิงชาริิณีี กัันตะสิริ ิิพิิทัักษ์ ์ สาขาพยาธิิ
6. อาจารย์์ แพทย์์หญิงิ นวลัักษณ์์ อธิโิ รจน์์ สาขาพยาธิิ
7. อาจารย์์ แพทย์์หญิงิ โชติิกา โสภณพงศ์พ์ ิพิ ััฒน์ ์ สาขาวิสิ ัญั ญีี
8. อาจารย์์ แพทย์ห์ ญิงิ พรรณชมภูู ชยาภัมั สาขาวิิสััญญีี
9. อาจารย์์ นายแพทย์์ธีีรธัชั สุุคนพาทิพิ ย์์ สาขาวิสิ ััญญีี
10. อาจารย์์ นายแพทย์พ์ รหมเมศวร์์ บุญุ ทอง สาขารังั สีี
11. อาจารย์์ นายแพทย์ป์ ัณั ณพิิช เก็บ็ -เงินิ สาขารังั สีี
12. อาจารย์์ นายแพทย์ว์ ริิทธิ์์� ธาราทิพิ ย์์มนต์ ์ สาขารัังสีี
13. อาจารย์์ นายแพทย์ก์ ฤษฎา รุ่�งเรืือง สาขาอายุรุ กรรม
14. อาจารย์์ แพทย์์หญิิงปวิิตรา สุุวรรณเลิศิ สาขาสููติิ-นรีเี วชกรรม
15. อาจารย์์ แพทย์์หญิิงนััยรััตน์์ บรรดาศักั ดิ์� สาขาจิิตเวช
- 16 -
อาจารยก์ ลับจากลาศึกษาตอ่ 4
อาจารยส์ ังกดั โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติ
123
56 7
1. อาจารย์ นายแพทยน์ ิรุจิ แสงสมส่วน สาขาวิสญั ญี (คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล)
2. อาจารย์ นายแพทย์ปิยะพงศ์ บญุ ญสถติ สาขาศัลยกรรม (คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล)
3. อาจารย์ แพทยห์ ญิงกนกกาญจน์ ชูพิศาลยโรจน์ สาขาอายรุ กรรม (โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า)
4. อาจารย์ แพทย์หญงิ สวรรยา เบ็ญจหงส์ สาขาสตู -ิ นรเี วชกรรม (คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล)
5. อาจารย์ นายแพทย์พงษ์จรัส หนนุ อนนั ต์ สาขาอายรุ กรรม (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร)์
6. อาจารย์ แพทย์หญิงฤทยั รตั น์ สพุ ฤกษท์ วีชัย สาขาโสต ศอ นาสิก (คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี)
7. อาจารย์ แพทย์หญงิ นวรัตน์ จินตกุล สาขาเวชศาสตร์ฟ้นื ฟู (สถาบนั แพทย์ไทย-จีน)
- 17 -